หลักระบาดวิทยา นายแพทย์ชนินันท์ สนธิไชย ระบาดวิทยา (Epidemiology) ั ท์ภาษากรีก • มาจากรากศพ – epi = “บน” – demos = “ประชากร” ึ ษา” – logos = “การศก ความหมายของระบาดวิทยา Epidemiology is defined as… “the study of the distribution and determinants ึ ษา การศก การกระจาย of health-related states or events สภาวะสุขภาพ in specified populations, ประชากร and the application of this study การนาไปใช ้ to the control of health problems.” ควบคุมปั ญหาด ้านสุขภาพ ปั จจัย ระบาดวิทยา คือ... ึ ษา การศก การเกิดโรค ประชากร ควบคุมโรค ี่ ง) คืออะไร สาเหตุ (หรือปั จจัยเสย การกระจายของโรค: บุคคล เวลา สถานที่ ความเป็ นมาของระบาดวิทยา John Snow 1813 -1858 1854 Broad street cholera outbreak • The 1854 Broad street cholera outbreak was a severe outbreak of cholera that occurred near Broad street in Soho district of London, England in 1854. • On August 31, 1854, after several other outbreaks had already occurred elsewhere in the city, a major outbreak of cholera struck Soho. Dr. John Snow later called it “the most terrible outbreak of cholera which ever occurred in the kingdom” • Over the next three days 127 people on or near Broad Street died. In the next week, three-fourths of the residents had fled the area. By September 10, 500 people had died and the mortality rate was 12.8 percent in some parts of the city. By the end of the outbreak 616 people died. In Snow’s own words • • • • On proceeding to the spot, I found that nearly all the deaths had taken place within a short distance of the [Broad Street] pump. There were only ten deaths in houses situated decidedly nearer to another street-pump. In five of these cases the families of the deceased persons informed me that they always sent to the pump in Broad Street, as they preferred the water to that of the pumps which were nearer. In three other cases, the deceased were children who went to school near the pump in Broad Street... With regard to the deaths occurring in the locality belonging to the pump, there were 61 instances in which I was informed that the deceased persons used to drink the pump water from Broad Street, either constantly or occasionally... The result of the inquiry, then, is, that there has been no particular outbreak or prevalence of cholera in this part of London except among the persons who were in the habit of drinking the water of the above-mentioned pump well. I had an interview with the Board of Guardians of St James's parish, on the evening of the 7th inst [Sept 7], and represented the above circumstances to them. In consequence of what I said, the handle of the pump was removed on the following day. —John Snow, letter to the editor of the Medical Times and Gazette John Snow memorial and pub at Broadwick street ระบาดวิทยากับเวชศาสตร์คลินก ิ ห ัวข้อ ระบาดวิทยา เวชศาสตร์คลินก ิ ประชากร ประชากรทัง้ หมด (ป่ วย/ ไม่ป่วย) ผู ้ป่ วยทีม ่ ารับบริการ ขอบเขตงาน ึ ษาการกระจายโรคใน ศก ชุมชน การหาสาเหตุการ ระบาดของโรค และการ ควบคุมโรค วินจ ิ ฉั ยและรักษาโรค จุดเริม ่ ต ้นของงาน นักระบาดวิทยา ผู ้ป่ วยทีม ่ ารับบริการ ั พันธ์กบ ความสม ั ประชากร หนึง่ ต่อจานวนมาก หนึง่ ต่อหนึง่ เกณฑ์ทใี่ ชวั้ ดความสาเร็จ จานวนประชากรทีไ่ ม่ป่วย จานวนประชากรทีห ่ าย จากโรค ประโยชน์ของระบาดวิทยา • บอกธรรมชาติของการเกิดโรค (National history of disease) • หาสาเหตุของโรค (Causation) • วัดสถานะสุขภาพและการเปลีย ่ นแปลง (Description of health status and changing in time) • ประเมินมาตรการ (Evaluation of health intervention) Epidemiologic triad ต ้นแบบ (Model) ของสาเหตุของการเกิดโรค – An external agent – A susceptible host – An environment Environment Host Agent สงิ่ ทีท ่ าให ้เกิดโรค (Agent factors) • ปั จจัยหรือสาเหตุทท ี่ าให ้เกิดโรค อาจเป็ นสงิ่ มีชวี ต ิ หรือไม่มช ี วี ต ิ ก็ได ้ ถ ้าพบว่ามีมากหรือน ้อยเกินไปจะทาให ้เกิดโรคได ้ • สงิ่ ทีท ่ าให ้เกิดโรคทางชวี ภาพ (Biological agent) • สงิ่ ทีท ่ าให ้เกิดโรคทางเคมี (Chemical agent) • สงิ่ ทีท ่ าให ้เกิดโรคทางกายภาพ (Physical agent) • สงิ่ ทีท ่ าให ้เกิดโรคทางจิตใจ/สงั คม (Psychosocial agent) • สงิ่ ทีท ่ าให ้เกิดโรคเนือ ่ งจากขาดสารนัน ้ (Absence of a factor necessary to health) มนุษย์ (Host factors) • • • • • • • • ปั จจัยภายในของ Host มีผลต่อความไวในการติดโรค อายุและเพศ (Age and sex) ื้ ชาติ (Heredity and race) พันธุกรรมและเชอ ปั จจัยทางสรีรวิทยา (Physiological factors) ปั จจัยด ้านจิตใจ (Psychological factors) ภูมค ิ ุ ้มกัน (Immunological factors) สภาวะสุขภาพ (Medical experience) พฤติกรรมอนามัย (Health behavior) สงิ่ แวดล ้อม (Environment factors) • • • • สงิ่ แวดล ้อมทางกายภาพ (Physical environment) สงิ่ แวดล ้อมทางเคมี (Chemical environment) สงิ่ แวดล ้อมทางชวี ภาพ (Biological environment) สงิ่ แวดล ้อมทางเศรษฐกิจและสงั คม (Socio-economic environment) หลักการป้ องกันและควบคุมโรค • Host – สง่ เสริมสุขภาพ (Health promotion) ่ การฉีดวัคซน ี การให ้ยา – การป้ องกันเฉพาะ (Specific protection) เชน ป้ องกัน • Agent – การวินจ ิ ฉั ยตัง้ แต่แรกเริม ่ และรักษาทันที (Early diagnosis and prompt treatment) – การค ้นหาและรักษาพาหะนาโรค (Detection and treatment of carriers) ื้ (Control potential sources of pathogen) – การควบคุมแหล่งแพร่เชอ • Environment ่ ขยะ น้ าเสย ี สต ั ว์ – การควบคุมสงิ่ แวดล ้อม (Environment control) เชน และแมลงนาโรค ธรรมชาติของการเกิดโรค (Natural history and spectrum of disease) วงจรการเกิดโรคตามธรรมชาติ กรณีทไี่ ม่ได ้รับการ ป้ องกันหรือรักษาโรค เกิดการเปลี่ยนแปลงในร่างกาย (PATHOLOGIC CHANGES) สัมผัสสาเหตุ (EXPOSURE) ระยะมีภูมิไวรับ (STAGE OF SUSCEPTIBILITY) วินิจัยโรคได้โดยการตรวจปกติ (USUAL TIME OF DIAGNOSIS) เริ่มมีอาการ (ONSET OF SYMPTOMS) ระยะเกิดโรคแต่ไม่มีอาการ ระยะป่วยมีอาการ ระยะหายจากโรค พิการ หรือตาย (STAGE OF (STAGE OF (STAGE OF RECOVERY, SUBCLINICAL DISEASE) CLINICAL DISEASE) DISABILITY AND DEATH) ธรรมชาติของการเกิดโรค สุขภาพดี (Healthy) ระยะมีความไวต่อการเกิดโรค (Stage of susceptibility) ระยะก่อนมีอาการของโรค (Stage of preclinical disease) การสง่ เสริมสุขภาพ (Health promotion) การป้ องกันเฉพาะโรค (Specific protection) วินจ ิ ฉั ยแต่แรกและรักษาทันที (Early diagnosis/prompt treatment) ระยะมีอาการของโรค (Stage of clinical disease) ระยะมีความพิการ (Stage of disability) หายหรือตาย (Recovery or death) การจากัดความพิการ (Disability limitation) การฟื้ นฟูสภาพ (Rehabilitation) การป้ องกันขัน ้ 1 (1o prevention) การป้ องกันขัน ้ 2 (2o prevention) การป้ องกันขัน ้ 3 (3o prevention) ื้ ระยะทีส ่ าคัญเกีย ่ วกับการติดเชอ Incubation period ระยะฟั กตัวของโรค Period of communicability ระยะติดต่อของโรค Latent period Patent period ื้ ระยะเชอ ไม่ปรากฏ ื้ ปรากฏ ระยะเชอ ื้ ได ้รับเชอ โรคปรากฏ ื้ ปรากฏ การติดเชอ ื้ ยุต ิ การติดเชอ ื้ โรคหยุดออกจากร่างกาย เชอ ระยะฟั กตัว (Incubation period) เกิดการเปลี่ยนแปลงในร่างกาย (PATHOLOGIC CHANGES) สัมผัสสาเหตุ (EXPOSURE) ระยะมีภูมิไวรับ (STAGE OF SUSCEPTIBILITY) วินิจัยโรคได้โดยการตรวจปกติ (USUAL TIME OF DIAGNOSIS) เริ่มมีอาการ (ONSET OF SYMPTOMS) ระยะเกิดโรคแต่ไม่มีอาการ ระยะป่วยมีอาการ ระยะหายจากโรค พิการ หรือตาย (STAGE OF (STAGE OF (STAGE OF RECOVERY, SUBCLINICAL DISEASE) CLINICAL DISEASE) DISABILITY AND DEATH) ื้ เข ้าสูร่ า่ งกายจนกระทัง่ ถึงวันเริม ระยะเวลานับจากเชอ ่ ป่ วย ระยะฟั กตัว (Incubation period) ไข ้หวัดใหญ่มรี ะยะฟั กตัว 1-3 วัน หมายความว่า ถ ้า ื้ ไข ้หวัดใหญ่ (ในปริมาณทีเ่ พียงพอ) จะเริม ได ้รับเชอ ่ มี อาการป่ วยภายในอีก 1-3 วันหลังจากนัน ้ ื้ ไข ้หวัดใหญ่ รับเชอ 1-3 วัน เริม ่ มีอาการป่ วย ระยะติดต่อของโรค (Period of communicability) ื้ คุณสมบัตข ิ องโรคติดเชอ ื้ (Infectivity) • ความสามารถในการติดเชอ • ความสามารถในการก่อพยาธิสภาพ (Pathogenicity) • ความรุนแรงของโรค (Virulence) • ความสามารถในการทาให ้เกิดภูมต ิ ้านทานโรค (Immunogenicity) ื้ วงจรการติดเชอ วิธก ี ารถ่ายทอดโรค • Direct – Direct contact – Droplet spread • Indirect – Airborne – Vehicle borne – Vector borne • Mechanical • Biologic ระดับของการระบาดของโรค • Endemic: a low to moderate persistent disease level • Sporadic: irregular occurrence with occasional cases • Epidemic: outbreak • Pandemic: epidemic that spreads over many countries รูปแบบการระบาด (Epidemic patterns) • แหล่งโรคร่วม (Common source outbreak) • แหล่งโรคแพร่กระจาย (Propagated source outbreak) แหล่งโรคร่วม (Common source outbreak) 20 จานวนผูป ้ ่ วย 18 16 14 12 10 8 6 4 2 ว ันเริม ่ ป่วย 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 แหล่งโรคแพร่กระจาย (Propagated source outbreak) 16 Num ber of cases 14 12 10 8 6 4 2 0 21 28 4 11 18 25 1 8 15 22 29 6 13 20 Date of onset 27 3 10 17 24 1 8 15 22 29 วันเริม ่ ป่ วยมีความสาคัญต่อการสร ้าง Epidemic curve… จานวนผูป ้ ่ วย 20 18 16 14 12 10 8 6 4 2 วนเร ั มป ิ่ ่ วย 0 1 20 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 จานวนผู ้ป่ วย 18 16 14 12 10 8 6 4 2 ว ันเร ม ิ่ ป่ วย 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 การวัดทางระบาดวิทยา • Ratio : ตัวตัง้ ไม่จาเป็ นต ้องเป็ นสว่ นหนึง่ ของตัวหาร • Proportion : เปรียบเทียบจานวนย่อยกับจานวนรวมทัง้ หมด • Rate : มีเวลาเกีย ่ วข ้อง ดัชนีอนามัยเกีย ่ วกับการป่ วย • อุบต ั ก ิ ารณ์ (Incidence) : จานวนผู ้ป่ วยใหม่ทเี่ กิดขึน ้ ในระยะเวลาทีก ่ าหนด • ความชุก (Prevalence) : จานวนผู ้ป่ วยทัง้ หมดทีม ่ อ ี ยู่ (เก่าและใหม่) ในระยะเวลาทีก ่ าหนด ั สว่ นของประชากรทีม • อัตราป่ วย (Attack rate) : สด ่ ภ ี ม ู ิ ไวรับทีป ่ ่ วยเป็ นโรค อุบต ั ก ิ ารณ์ (Incidence) • จานวนผู ้ป่ วยทัง้ หมดทีม ่ อ ี ยูใ่ นระยะเวลาทีก ่ าหนด จานวนผู ้ป่ วยทัง้ หมด จานวนประชากรทัง้ หมด จานวนประชากร 1000 คน 2552 2553 8 ความชุก = x 1000 = 8 ต่อประชากรพันคน 1000 ความชุก (Prevalence) • จานวนผู ้ป่ วยใหม่ทเี่ กิดขึน ้ ในระยะเวลาทีก ่ าหนด จานวนผู ้ป่ วยใหม่ทเี่ กิดขึน ้ ี่ งต่อการเกิดโรค จานวนประชากรทีเ่ สย จานวนประชากร 1000 คน 2552 5 อุบต ั ก ิ ารณ์ = 1000 2553 x 1000 = 5 ต่อประชากรพันคน อัตราป่ วย (Attack rate) ั สว่ นของประชากรทีม • สด ่ ภ ี ม ู ไิ วรับทีป ่ ่ วยเป็ นโรค 3 อัตราป่ วย = = 30% 10 อัตราป่ วย (Attack rate) อัตราป่ วยระลอกแรก (Primary attack rate) = 3/10 = 30% อัตราป่ วยระลอกสอง (Secondary attack rate) = (1+1+2)/(3+2+3) = 4/8 = 50% ผู ้ป่ วยรายแรก (Index case) • ผู ้ป่ วยรายแรกของการระบาด (ตามกลุม ่ ทีก ่ าหนด) ี้ งึ แหล่งโรคหรือทีม • อาจบ่งชถ ่ าของการระบาด • “Patient zero” Index case กรณีสอบสวนโรคไข ้เลือดออก ผู ้ป่ วยรายแรก ขอบเขตชุมชน Index case กรณีสอบสวนโรคไข ้เลือดออก ขอบเขตชุมชน ผู ้ป่ วยรายแรก Index case กรณีสอบสวนโรคไข ้เลือดออก • กาหนดขอบเขตของชุมชนใหม่ • นับผู ้ป่ วยรายแรกเพียงรายเดียวหากเป็ นการระบาดครัง้ เดียวกัน การแยกผู ้ป่ วย (Isolation) ื้ แล ้วออกจากกลุม เป็ นการแยกผู ้ทีต ่ ด ิ เชอ ่ ประชากรปกติ ี่ งต่อการติดเชอ ื้ เพือ ทีเ่ สย ่ จากัดการระบาดและป้ องกัน การแพร่กระจายของโรค การกักกัน (Quarantine) ั ผัสโรคหรือสงสย ั ว่าติดเชอ ื้ เป็ นการแยกผู ้ทีม ่ ป ี ระวัตส ิ ม แต่ยังไม่แสดงอาการออกจากประชากรปกติจนพ ้นระยะ ฟั กตัวของโรค Herd immunity ั สว่ นของประชากรทีม – สด ่ ภ ี ม ู ค ิ ุ ้มกันต่อโรค – ป้ องกันการแพร่ระบาดของโรคได ้ ึ ษาทางระบาดวิทยา รูปแบบการศก (Study design) Study design Observational Descriptive Experimental Analytic Case and serial case Case-control Cross-sectional Cohort Ecological Cross-sectional Ecological Quasi-experimental Experimental สรุป • ระบาดวิทยาชว่ ยในการหาคาตอบเกีย ่ วกับประชากร อย่างเป็ นระบบ ได ้แก่ What, Who, Where, When, Why/How Thank you for your attention