2.Concept of Oral Health Promotion3

Health is a state of complete physical,
mental and social well-being and not
merely the absence of disease or
infirmity
WHO,1946
Spiritual
Mental
Social
Physical
•
•
•
•
•
•
Income and social status
Social support networks
Education and literacy
Employment/working conditions
Social environments
Physical environments
• Personal health practices and coping
skills
• Healthy child development
• Biology and genetics
• Health care services
• Gender
• Culture
Oral health is a state of being free from chronic
mouth and facial pain, oral and throat cancer,
oral sores, birth defects such as cleft lip and
palate, periodontal (gum) disease, tooth decay
and tooth loss, and other diseases and
disorders that affect the oral cavity.
WHO
The process of enabling people to
increase control over their health
and its determinants, and thereby
improve their health
กระบวนการส่ งเสริมให้ ประชาชน เพิม่ สมรรถนะในการควบคุม
และปรับปรุ งสุ ขภาพของตนเอง ในการบรรลุซึ่งสุ ขภาวะอัน
สมบูรณ์ ทั้งทางร่ างกาย จิตใจ และสั งคม
OTTAWA CHART
5 Health Promotion Action Means
•
•
•
•
•
Build Healthy Public Policy
Create Supportive Environments
Strengthen Community Actions
Develop Personal Skills
Reorient Health Services
The basic strategies for health promotion
• Advocate การสร้ างกระแส
• Mediate ไกล่ เกลี่ยประสาน
• Enable เกือ้ กูลให้ เกิด
• partner and build alliances with public, private,
nongovernmental and international organizations and
civil society to create sustainable actions.
• invest in sustainable policies, actions and
infrastructure to address the determinants of health
• regulate and legislate to ensure a high level of
protection from harm and enable equal opportunity
for health and well-being for all people
• advocate for health based on human rights and
solidarity
• build capacity for policy development, leadership,
health promotion practice, knowledge transfer and
research, and health literacy
Empowerment
refers to the process by which people gain
control over the factors and decisions
that shape their lives
กระบวนวิธีที่จะให้กลุ่มเป้ าหมาย สามารถดึงศักยภาพที่มีอยูภ่ ายใน
ตนมาใช้ในการดูแลและสร้างเสริ มสุ ขภาพของตนได้อย่าง
ต่อเนื่องและยัง่ ยืน
Community Empowerment
• refers to the process of enabling
communities to increase control over their
lives
• Community empowerment necessarily
addresses the social, cultural, political and
economic determinants that underpin
health, and seeks to build partnerships with
other sectors in finding solutions.
Participation
• is a process through which all members of a
community or organization are involved in
and have influence on decisions related to
development activities that will affect them.
• กระบวนการให้บุคคลเข้ามามีส่วนเกีย่ วข้ องในการดาเนินงาน
พัฒนา ร่ วมคิด ตัดสิ นใจ แก้ไขปัญหาด้วยตนเอง
the ladder of citizen participation
Arnstein, Sherry R.,1969
การส่ งเสริมสุ ขภาพแนวใหม่
Old concept
New concept
การส่ งเสริมสุ ขภาพแนวใหม่
Paradigm shift
Old concept
New concept
เครือข่ ายสุ ขภาพระดับอาเภอ
District Health System (DHS)
คือการทางานร่ วมกันของ
รพช. + สสอ. + รพสต. + อปท.+ประชาสั งคม
โดยมีเป้ าหมายเดียวกันคือทาให้ ประชาชนและชุ มชนสามารถพึง่ ตนเองได้ และไม่ ทอดทิง้ กัน
โดยมีเครือข่ ายบริการปฐมภูมทิ มี่ ีคุณภาพ และได้ รับความไว้ วางใจจากประชาชน
*แนวทางการพัฒนา District Health System (DHS)
1.การบริหารจ ัดการ
สุขภาพเป็นเอกภาพ
ระด ับอาเภอ (Unity
District Health
Team)
5. ประชาชนและภาคีม ี
สว่ นร่วมในการจ ัดการ
ปัญหาสุขภาพ
(Partnerships)
DHS
4. การสร้างคุณค่าและ
คุณภาพก ับเครือข่ายบริการ
ปฐมภูม ิ (Appreciation &
Quality)
2. การบริหารทร ัพยากร
ร่วมก ัน (Resouce
Sharing)
3.การบริการปฐมภูมท
ิ ี่
จาเป็น (Essential
Care)
Essential care
1. ผูส้ งู อายุ ผูท้ ี่ต้องพึ่งพา สามารถได้รบั การดูแล ได้ในชุมชน และที่ บ้าน
2. โรคเรือ้ รัง (เบาหวาน ความดันสูง ไขมันในเลือดสูง โรคหัวใจ หืด
ถุงลมปอดโป่ งพอง วัณโรคปอด เอดส์ โรคไต โรคตับ มะเร็ง)
3. มีความเข้มแข็ง ของการควบคุมโรค ในท้องถิ่น เช่น ไข้เลือดออก และโรคไม่
ติดต่อ
4 . งานส่งเสริมสุขภาพ - ป้ องกันโรค - ควบคุมโรค - คัดกรองโรค
อนามัยสิ่งแวดล้อม อนามัยแม่และเด็ก อาชีวอนามัย
5. ระบบการแพทย์ฉุกเฉิน
6. สุขภาพฟัน
7. โรคจิตเวช - สุขภาพจิต
8. ผูพ้ ิ การ
( อัมพาต เบาหวานถูกตัดเท้า แผลเรือ้ รัง)
9. เด็กเล็ก วัยรุ่น วัยทางาน ผูส้ งู อายุ ผูด้ ้อยโอกาส คนยากคนจน
10. ผูป้ ่ วยระยะท้าย
ร่วมกันแลกเปลีย่ น
เรียนรู ้ (CBL)
คุณภาพ
บริการ
ประสำน
สำยสัมพันธ์
นำสูพ่ ฒั นำ
ระบบบริกำร
การบริหารจัดการแบบแนวราบ - ภาคี เครือข่ าย
ให้ เกียรติ เคารพกัน ส่ งเสริมการมีส่วนร่ วม
เครือข่ ายสุขภาพอาเภอ (DHS)
Provincial Hospital รพท. /รพศ.
Specialist แพทย์เฉพำะทำง
เอกภาพ ของภาคีเครื อข่ ายสุขภาพอาเภอ
รพ.ชุมชน - สสอ.-รพ.สต.-อปท.- ชุมชน
Other
Sectors
CBL
Essential
Cares
Common Goal ร่ วมคิด
Common Action ร่ วมทา
Common Learning ร่ วมเรียนรู้
Action Research /
R2R
Clinical Outcomes
• Morbidity
อัตราป่ วย
• Mortality
อัตราตาย
• Quality of Life คุณภาพชีวติ
Self
Care
ภำคส่วน
อืน่ ๆ
SRM
Psychosocial Outcomes
• Value
คุณค่ า
• Satisfaction ความพอใจ
• Happiness ความสุข
•สร้ำงแนวทำง
โรงพยำบำล
มำตรฐำน
HOSPITAL CARE
•ฝึ กอบรม
•นิ เทศงำน ระบบกำรสนับสนุ น
•สนับสนุ น
•ระบบส่งต่อ
หน่ วยบริกำรปฐมภูมิ
•ระบบข้อมูล
PRIMARY CARE
บริกำรเชิงรุก
ควบคุมโรคระบำด
สร้ำงเสริมสุขภำพในชุมชน/
โรงเรียน/สถำนประกอบกำร
อนำมัย สิง่ แวดล้อม
กำรดูแล ผูป้ ่ วย ที่บำ้ น
กำรดูแลสุขภำพตนเอง
รักษำโรคซับซ้อน
บริกำรแบบ
- ใกล้บำ้ นใกล้ใจ
- ต่อเนื่ อง
- ผสมผสำน&องค์รวม
- ประสำนทุกส่วน
- ชุมชนมีสว่ นร่วม
ท้องถิ่น - ชุมชน
อปท.
องค์กรชุมชน
หมอพื้นบ้ำน
วัด โรงเรียน
หน่ วยรำชกำร
ผูน้ ำชุมชน
องค์กรพัฒนำ
อสม.
SELF-CARE
ระบบสุขภำพอำเภอ (DHS)
แบบบูรณาการ
Feedback
ควบคุมกากับ และประเมินผล
ข้ อมูล
ปั ญหา
อปท.
แผน
พัฒนาศักยภาพ
สร้ างกระแส
แกนนาสุขภาพ
ตาบล
ฟั นดี
เกณฑ์ ตาบลฟันดี สุ ขภาพดี ชีวมี ีสุข
1
มีการเริ่มต้ นดาเนินการโดย
คะแนนการประเมิน < 28
คะนน
ระดับการพัฒนา
2
มีความก้ าวหน้ าของการ
ดาเนินงาน โดยคะแนนการ
ประเมิน 28 – 31คะแนน
3
มีการดาเนินงานจนเป็ นต้ นแบบโดย
คะแนนการประเมิน > 32 คะแนน
และแสดงให้ ให้ เห็นผลลัพธ์ การ
ดาเนินงานทีด่ ขี นึ้
(พิจารณาข้ อมูลย้ อนหลังอย่ างน้ อย
2 ปี ในกรณีพจิ ารณาแนวโน้ ม)
ตัวชี้วดั มี 10 ตัวชี้วดั คะแนนรวม 40 คะแนน
ไม่ มี
0 คะแนน
เริ่ม
ดาเนินการ
ดาเนินการ
เป็ น
รูปธรรม
1 คะแนน 2 คะแนน
แสดง
เชื่อมโยงกับ
ผลผลิต/ กระบวนการ
หลักฐาน
ทั้งระบบ
3 คะแนน 4 คะแนน
1
มีข้อมูลทันตสุ ขภาพของตาบลทีส่ อดคล้ องกับปัญหาพืน้ ที่ ถูกต้ อง และเชื่อถือได้
2
การกาหนดประเด็นปัญหาทันตสุ ขภาพทีส่ อดคล้ องกับปัญหาพืน้ ทีโ่ ดยการมีส่วนร่ วม
ของชุ มชน
มีแผนการแก้ ไขปัญหาทันตสุ ขภาพเป็ นรู ปธรรมโดยการมีส่วนร่ วมของชุ มชน
3
4
5
อปท.มีกระบวนการสนับสนุนหรือแก้ ไขปัญหาทันตสุ ขภาพในชุ มชนร่ วมกับหน่ วยงาน
ด้ านสาธารณสุ ข*
อปท.มีกระบวนการสนับสนุนการจัดบริการส่ งเสริมสุ ขภาพ และป้ องกันโรคในช่ องปาก
ใน รพ. /ศสม./ รพ.สต. /หน่ วยบริการสาธารณสุ ขของท้ องถิ่น (งบประมาณ วัสดุ
ครุภัณฑ์ หรือกาลังคน)**
6
มีกระบวนการพัฒนาทักษะ ชุ มชนให้ ร้ ู เท่ าทันปัจจัยเสี่ ยงต่ อทันตสุ ขภาพ
7
มีกระบวนการสร้ างกระแส/รณรงค์ ให้ ชุมชนเห็นความสาคัญต่ อทันต
สุ ขภาพ
มีแกนนาทันตสุ ขภาพภาคประชาชนในชุ มชน
8
9
10
มีระบบ/กลไกการติดตามกากับการดาเนินงาน โดยการมีส่วนร่ วมของ
ชุ มชน
มีการประเมินผลการดาเนินงานโดยการมีส่วนร่ วมของชุ มชน
เครื่องมือกระเพือ่ มสั งคม
Health Communication
ผ้ ูส่งสาร
สาร
ช่ องทาง
ผ้ ูรับสาร
ผลกระทบทีต่ ามมา (impacts) ของการสื่ อสาร
เกิดขึน้ ได้ จาก 4 ลักษณะ คือ
1. แรงเสริ ม (reinforce) หมายถึง การสื่ อสารสังคมที่ช่วยตอกย้าพฤติกรรม
หรื อนิสยั ของผูร้ ับสารให้มนั่ คงขึ้นกว่าเก่า
2. แรงกระตุน้ (activate) หมายถึง การสื่ อสารสังคมช่วยทาให้ผรู ้ ับสารเกิด
มานะ ที่จะทาสิ่ งใดสิ่ งหนึ่ง หรื อมีพฤติกรรมตามความคาดหวัง หรื อ
ความจาเป็ นของตนหรื อของสังคม
3. แรงสร้างสรรค์ (create) เป็ นการสร้างพฤติกรรมต่อผูร้ ับสารในแนวทาง
ใหม่ โดยไม่สนใจกับเงื่อนไขของสังคมและวัฒนธรรมเดิม
4. แรงเปลี่ยน (convert) เป็ นการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผูร้ ับสาร
แบบเดิมไปสู่รูปแบบใหม่
การรณรงค์ (Campaign)
• การจัดกิจกรรมเพือ่ เผยแพร่ แนวคิดทีผ่ ้รู ณรงค์ต้องการ ไปสู่เป้าหมาย
ของการรับรู้ หรือปรับเปลีย่ นพฤติกรรมของกลุ่มเป้าหมาย
• ต้ องกาหนดเป้าหมาย วัตถุประสงค์ แผนงาน ระยะเวลาดาเนินการ
งบประมาณ ไว้ อย่ างชัดเจน และควรรวมถึงการประเมินผลการรณรงค์
ด้ วยว่ าบรรลุตามเป้าหมายทีต่ ้งั ไว้ หรือไม่
องค์ ประกอบในการรณรงค์
• เป้าหมาย หมายถึง สภาพที่นกั รณรงค์อยากให้เกิดขึ้น
หลังจากดาเนินโครงการรณรงค์ หรื อหลังจากโครงการ
รณรงค์สิ้นสุ ด
• กลุ่มเป้าหมาย
–กลุ่มเป้ าหมายที่นกั รณรงค์ตอ้ งการให้เกิดการเปลี่ยนปปลง
–กลุ่มเป้ าหมายที่นกั รณรงค์ตอ้ งการให้ไปสร้างการ
เปลี่ยนปปลง
• ข้ อมูล/ประเด็นในการรณรงค์ ถือเป็ นองค์ประกอบสาคัญในการ
รณรงค์
ก.ข้ อมูลระดับพืน้ ฐาน เช่น สถิติหรื อตัวเลขต่างๆ ที่สะท้อน
สถานการณ์ปวดล้อมที่เกี่ยวข้องกับประเด็นที่รณรงค์ท้ งั ในปละ
ต่างประเทศ บัญชีรายชื่อผูท้ ี่ให้ขอ้ มูลเพิ่มเติมได้ เป็ นต้น
ข.ข้ อมูลเชิงแนวปฏิบัตติ นของกลุ่มเป้าหมาย ลักษณะของ
พฤติกรรมที่พึงประสงค์ ทักษะชีวติ ที่บุคคลกลุ่มเสี่ ยงควรรู้ปละ
ควรปฏิบตั ิ เป็ นต้น
ค.ข้ อมูลเชิงลึก เช่น รายงานผลการวิจยั เกี่ยวกับผลกระทบ
ของพฤติกรรมเสี่ ยงต่างๆ การไม่ปฏิบตั ิตามคาปนะนาด้าน
สุ ขภาพ เป็ นต้น
• ช่ องทางการสื่ อสาร เพื่อเข้าถึงกลุ่มเป้ าหมายให้ได้อย่างปท้จริ ง
• กลยุทธ์ การสื่ อสาร
- แนวทางเชิงลบ การใช้ความน่ากลัว /การใช้บุคคลทาหน้าที่
ตักเตือนกลุ่มเป้ าหมาย/การนาเสนอข้อเท็จจริ ง/นาเสนอประสบการณ์
ตรงในการเผชิญปัญหา/ การสร้างปรงกดดันผ่านกลุ่มปนวร่ วม
- แนวทางเชิงบวก การให้กาลังใจ/ การเน้นความทันสมัย/ การเน้น
ความสะดุดหู สะดุดตา/ เชื้อเชิญให้ทาพฤติกรรมที่พึงประสงค์/ การ
นาเสนอภาพพฤติกรรมที่พึงประสงค์โดยคนมีชื่อเสี ยง/ การสร้าง
สัญลักษณ์ร่วม/ การตอกย้าความสาคัญของ “ชุมชนเข้มปข็ง” /การให้
ข้อมูล 2 ด้าน
• การวิจัย ข้ อมูลทีใ่ ช้ รณรงค์ และผลการรณรงค์
Conclusion
Community based
-Ottawa charter
Hospital based
- Bangkok charter
- Risk assessment
- Surveillance
- Appropriate CPG
- Focus on individual - M&E
- Continuous care
- Provider support
- Skill of provider
Thank you