หลักระบาดวิทยาและการเฝ้ าระวังโรค สาหรับ SRRT นพ.โสภณ เอี่ยมศิริถาวร สานักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข วันที่ 19 ธันวาคม 2554 ระบาดวิทยากับงานสาธารณสุข 1. การเฝ้ าระวังทางระบาดวิทยา 2. การสอบสวนโรค/ภัยสุขภาพ 3. การศึกษาวิจัยทางระบาดวิทยา แผนที่แสดงการตายด้วยอหิวาตกโรค กรุงลอนดอน เดือนสิงหาคม พ.ศ. 2397 (1854) John Snow, M.D. (1813 -1858) ผูป้ ่ วยเสียชีวิต 500 รายในเวลา 10 วัน แต่ภายในเวลา 1 สัปดาห์หลังจากถอนหัวจ่ายน้ า การระบาดลดลง Deaths from Cholera per 10,000 houses by source of water supply, London 1854 Number of Houses Deaths from Cholera Southwark & Vauxhall Company 40,046 1,263 315 Lamberth Company 26,107 98 37 256,423 1,422 59 Water Supply Rest of London Deaths per 10,000 homes การทางานระบาดวิทยาต้องอาศัย 1.Body of Knowledge (รูโ้ รค) • มีองค์ความรูเ้ กีย่ วกับธรรมชาติของการเกิดโรค 2.Methods for studying disease (รูว้ ิธี) • รูแ้ ละเข้าใจวิธีการศึกษา เพือ่ ให้ได้มาซึ่งความรู ้ เกีย่ วกับโรคเพิม่ ขึ้ น การระบาดของ SARS ในโรงแรมแห่งหนึง่ ฮ่องกง 2546 8,422 cases (916 deaths) in 29 countries Source: World Health Organization, 2004 Original Source of SARS Coronavirus: Civet นิยามของระบาดวิทยา (Epidemiology) การศึกษาเกี่ยวกับการเกิดและการกระจายของปั ญหา สุขภาพตลอดจนปั จจัยที่มีอิทธิพลต่ อการเกิดโรคใน ประชากรที่ระบุ เพื่อนาความรู้ ไปใช้ ควบคุมโรค “The study of the occurrence and distribution of health-related states or events in specified populations, including the study of the DETERMINANTS influencing such states, and the application of this knowledge to control the health problems” Source: Dictionary of Epidemiology, 5th Ed. Oxford University Press, New York, 2008 การกระจายของโรค (Distribution) การกระจาย หมายถึง ลักษณะทางระบาดวิทยาของ การเกิดโรค เมือ่ พิจารณาในด้านบุคคล เวลา สถานที่ ไม่ใช่การกระจายของโรคจากคนหนึง่ ไปยังอีกคนหนึง่ ซึ่งมักใช้คาว่า การถ่ายทอดโรค (Transmission) แทน ดังนั้น การกระจาย ใช้กบั ทั้งโรคติดเชื้ อและโรคไร้เชื้ อ ปั จจัยที่มีอิทธิพล (Determinants) ปั จจัยที่มีอิทธิพล หมายถึง สาเหตุหรือปั จจัยที่มีอิทธิพลต่อ การเกิดโรค/ปั ญหาสาธารณสุข ตัวอย่าง ได้แก่ บุคคล เช่น เพศ อายุ ประวัติวคั ซีน พฤติกรรมเสี่ยง สิง่ ก่อโรค เช่น เชื้ อโรค ชนิดอาหารปนเปื้ อนที่กิน สิง่ แวดล้อมทีอ่ านวยต่อการเกิดโรค เช่น ความแออัด ระบาดวิทยา (Epidemiology) ศึกษาอะไร เวลา (Time) การกระจายของโรค ระบาดวิทยา ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อโรค บุคคล (Person) สถานที่ (Place) สาเหตุ (Cause) ปัจจัยเสี่ ยง (Risk factor) คาถามพื้นฐานเมื่อศึกษาโรค/ปัญหาสุ ขภาพ ปัญหาอะไร? (What) โรค ปัญหาเกิดกับผู้ใด? (Who) ปัญหาเกิดขึน้ ที่ไหน? (Where) บุคคล สถานที่ ปัญหาเกิดขึน้ เมื่อใด? (When) เวลา ปัญหาเกิดได้ อย่ างไร? (Why/How) ปัจจัย/สาเหตุ การกระจายของโรค Time (เวลา) Epidemic curve Place (สถานที่) Spot map Person (บุคคล) Table อายุ เพศ ผูป้ ่ วยไข้หวัดนก H5N1 ตามวันเริ่ มป่ วย ประเทศไทย พ.ศ.2547-2549 (N=25) จานวน (ราย) 4 3 2 2547 ที่มา: สานักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค 2548 2549 37 30 23 16 9 2 47 40 33 26 19 12 5 50 43 36 29 22 15 8 0 1 1 week ลักษณะผู้ป่วยไข้ หวัดนก H5N1 ในประเทศไทย • ผู้ป่วยเด็ก (10 ราย): ชาย 9 ราย และ หญิง 1 ราย อัตราป่ วยตาย (CFR) 70% • ผู้ป่วยผู้ใหญ่ (15 ราย): ชาย 7 ราย และ หญิง 8 ราย อัตราป่ วยตาย (CFR) 67% ที่มา: สานักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค N=25 ผู้ป่วยยืนยันไข้ หวัดนกในประเทศไทย Province 2548 2549 Nongbuarampou 1 Uthaithani 1 Pichit 1 Karnchanaburi 2547 2548 2549 2547 2 2 Nonthaburi 1 Bangkok 1 Nakornnayok 1 Kamphangphet 2 Nakornratchasima 1 Prachineburi 1 Ayuthaya 1 Phetchabune 1 Lopburi 1 Sukhothai 2 Supanburi 3 Chaiyapoum 1 Khonkaen 1 Uttradit 1 ประวัตสิ ัมผัสแหล่ งโรค - 15 ราย มีไก่ ท่ บี ้ านตายผิดปกติ - 12 ราย จับไก่ ท่ ปี ่ วยหรือตายโดยตรง - 1 ราย นั่งในพืน้ ที่ท่ มี ีไก่ ตาย/ป่ วยเป็ นประจา - 1 ราย ไม่ มีประวัตสิ ัมผัสไก่ เลย (Probable human-to-human transmission) ที่มา: สานักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค การกระจายของโรค Cases 25 1200 1000 Person 800 Place 20 Time 15 600 400 10 200 5 0 0-4 0 '5-14 '15-44 '45-64 '64+ 1 Age Group 2 3 4 5 6 7 8 ประเมินสถานการณ์ จากข้ อมูลระบาดวิทยา Pathogen? Source? Transmission? ตั้งสมมติฐาน: จากข้ อมูลระบาดวิทยาเชิงพรรณนาทีร่ วบรวมได้ 9 10 แนวคิดของการเกิดโรค การเกิด โรคในชุ ม ชนมิ ใ ช่ ก ารสุ่ม ตั ว อย่ า ง แต่ จะเกิดมากหรือน้ อย หรือไม่ เกิดขึ้ นเลย ในคนบางกลุ่ม จึงต้ องใช้ ความรู้ทางระบาด วิทยา เพื่ออธิบายปั จจัยต่ างๆ ที่ทาให้ บาง คนหรือบางกลุ่มมีโอกาสป่ วยมากกว่าปกติ องค์ สามทางระบาดวิทยา (Epidemiologic Triad) Host (คน) • Biological, chemical • Infectivity • Pathogenicity • Virulence • Antigenic stability • Survival Agent (สิ่ งก่ อโรค) • Age • Sex • Genotype • Health status • Behaviour • Nutritional status Environment (สิ่ งแวดล้ อม) • Weather • Housing • Geography • Occupation • Air quality • Food ภาวะสมดุลระหว่างองค์สามทางระบาดวิทยา Host- คน Agent- สิ่ งก่อโรค Environment -สิ่ งแวดล้อม การเสี ยสมดุลก่อให้ เกิดโรค เช่น Agent มากขึ้ น Environment -สิ่ งแวดล้อม การเสี ยสมดุลก่อให้ เกิดโรค เช่น Host อ่อนแอ Environment -สิ่ งแวดล้อม การเสี ยสมดุลก่ อให้ เกิดโรค เช่น สิ่ งแวดล้ อมเปลีย่ น Host- คน Agent- สิ่ งก่อโรค Environment -สิ่ งแวดล้อม ผูป้ ่ วยโรคคางทูมกระจายตามห้องเรียนและวันเริม่ ป่ วย โรงเรียนอนุบาลแห่งหนึง่ พฤษภาคม-กันยายน 2542 (N = 38) NS 1 NS 2 1/1 1/2 3/2 10 3/1 2/1 8 6 4 2/2 2 18 - 24 May 25 - 31 May 1 - 7 Jun 8 - 14 Jun 15 - 21 Jun 22 - 28 Jun 29 Jun - 5 Jul 6 - 12 Jul 13 - 19 Jul 20 - 26 Jul 27 Jul - 2 Aug 3 - 9 Aug 10 - 16 Aug 17 - 23 Aug 24 - 30 Aug 31 Aug - 6 Sep 7 - 13 Sep 14 - 20 Sep 21 - 27 Sep 28 Sep - 4 Oct 5 - 11 Oct 0 ผู้ป่วยเด็ก 1 ราย Weekly interval ผู้ป่วยผู้ใหญ่ 1 ราย ที่มา: นพ.ยงเจือ เหล่าศิริถาวร สานักระบาดวิทยา Kit. หากคนๆหนึ่งได้ รับเชื้อโรค No infection Death Clinical Carrier Asymptomatic Immunity ผลลัพธ์ ทเี่ ป็ นไปได้ Carrier No immunity ทาไมจึงเกิดการระบาดของโรคคางทูมในโรงเรียน การมี Agent เข้าไปในพื้นที่ที่ไม่เคยมีมาก่อน Agent เพิม่ จานวน หรื อ ความรุ นแรงมากขึ้น มีการถ่ายทอดโรค (Transmission) เพิ่มมากขึ้น มีความไวรับต่อการเกิดโรคมากขึ้น (susceptibility) สิ่งแวดล้ อม เช่น อุณหภูมิเหมาะสม ปัจจัยอื่นๆ เช่น ความครอบคลุมวัคซีนต่า การคิดแบบระบาดวิทยา 1. การคิดอย่างมีเหตุผล อธิบายได้ พิสจู นไได้ 2. การคิดอย่างเป็ นระบบ เป็ นขั้นตอน 3. การคิดอย่างต่อเนื่องเชื่อมโยง การประยุกต์ ระบาดวิทยาเพือ่ แก้ปัญหาสาธารณสุ ข ความสาค ัญของปัญหา (ขนาดปัญหา ความรุนแรง) ติดตามประเมินผล การกระจาย (บุคคล เวลา สถานที)่ (การดาเนินงาน ผลกระทบ) บริหารจ ัดการ Resource & Participation • coverage • compliance • timeliness สาเหตุและปัจจ ัย ั (ระด ับบุคคล ระด ับสงคม) เลือกมาตรการแก้ปญ ั หา (Promotion, Prevention, Control, Treatment, Rehabilitation) ต้องทราบ Efficacy การเฝ้ าระวังทางระบาดวิทยา การเฝ้ าระวังในชีวติ ประจาวัน การเฝ้ าระวังในชีวติ ประจาวัน Weight (Kg) 100 80 60 40 20 7 ee k 6 w ee k 5 w ee k 4 w w ee k 3 ee k 2 w ee k w w ee k 1 0 ใช้ ประโยชน์ ข้อมูลเพือ่ การแก้ ปัญหา Weight (Kg) 100 80 60 40 20 8 ee k 7 w ee k 6 w ee k 5 w ee k 4 w w ee k 3 ee k 2 w ee k w w ee k 1 0 นิยามของการเฝ้ าระวัง กระบวนการจัดเก็บ วิเคราะห์ และแปลผล ข้อมูล ทางสาธารณสุขที่เป็ นไปอย่างต่อเนื่ อง และมีระบบ รวมถึงการ นาข้อมูลที่วิเคราะห์ ได้ไปเผยแพร่และใช้ให้เกิดประโยชน์ ในด้าน การวางแผน การจัดทามาตรการป้ องกันและ ควบคุมปัญหาสาธารณสุข รวมถึงการ ประเมินผลมาตรการอย่างทันท่วงที ตัวอย่ างระบบเฝ้ าระวัง ระบบเฝ้ าระวังโดยการรายงานผูป้ ่ วย (รง.506) ระบบเฝ้ าระวังการติดเชื้อเอชไอวี (HIV serosurveillance) ระบบเฝ้ าระวังพฤติกรรมเสี่ยงต่อการติดเชื้อเอชไอวี ระบบเฝ้ าระวังอาการคล้ ายไข้ หวัดใหญ่ (ILI) ระบบเฝ้ าระวังการบาดเจ็บ (Injury surveillance) การเฝ้ าระวังเหตุการณไ (Event-based surveillance) ระบบเฝ้ าระวังพิเศษ ในภาวะอุทกภัย ธรรมชาติของการรายงานโรค ผู้ป่วยส่วนน้ อยที่มารักษาที่ สถานีอนามัยหรื อโรงพยาบาล ผู้ป่วยจานวนมากที่อยูใ่ นชุมชน ไม่ได้ มารักษาที่โรงพยาบาล หรื อ ผู้เป็ นผู้ติดเชื ้อ ประเภทของการเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา การเฝ้ าระวังเชิ งรั บ (Passive surveillance): การรายงาน เป็ นปกติประจา ตามระยะเวลาที่กาหนด เช่น ระบบเฝ้ า ระวัง 506 การเฝ้ าระวังเชิ งรุ ก (Active surveillance): เป็ นการค้นหา เชิ งรุ ก เพื่อเพิ่มโอกาสในการรับข้อมูลการเกิดโรคมากขึ้น เช่น รายงานผูป้ ่ วยพบเชื้อ Vibrio cholerae ในระยะที่มีการ ระบาดของอหิ วาตกโรค ประเภทของการเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา การเฝ้ าระวังเฉพาะกลุ่มเฉพาะพืน้ ที่ (Sentinel Surveillance): การเฝ้ าระวังกลุ่มตัวอย่างที่เป็ นตัวแทนของ กลุ่มประชากรที่ได้รับผลกระทบจากปัญหาที่สนใจ เช่น HIV serosurveillance การเฝ้ าระวังพิเศษอื่นๆ (Special Surveillance): ดาเนินการ เฝ้ าระวังภาวะหรื อสถานการณ์พิเศษ เช่น การเฝ้า ระวังสาเหตุการตายในวิกฤติอุทกภัย ปี พ.ศ.2554 การเฝ้ าระวังผู้เสี ยชีวติ ในมหาอุทกภัย พ.ศ. 2554 (ข้ อมูลถึงวันที่ 11 ธค. 2554) จานวนผู้เสียชีวติ ทัง้ หมด 728 ราย • จากการจมนา้ 592 ราย (81.3%) • จากไฟฟ้าช็อต 102 ราย (14.0%) • ดินถล่ มทับ 21 (2.9%) เปรียบเทียบสาเหตุการเสี ยชีวติ ระหว่ างกทม.และ ปริมณฑล กับพืน้ ที่จังหวัดอืน่ ๆ จมนา้ ไฟฟ้าช๊ อต จมนา้ ไฟฟ้าช๊ อต ดินทับ 3, (1%) ต้ นไม้ ทบั 10, (2%) 21, (4%) 35, (6%) 68, (39%) 108, (61%) กทมและปริมณฑล ที่มา: สานักระบาดวิทยา 484, (87%) จังหวัดอื่นๆ ไม่ ทราบ สั ดส่ วนการเสี ยชีวติ จากไฟฟ้ าช็อต แยกรายเดือน ประเทศไทย พ.ศ.2554 ที่มา: สานักระบาดวิทยา อายุและเพศของผู้เสี ยชีวติ จากไฟฟ้ าช็อต ประเทศไทย พ.ศ.2554 จานวน(คน) ที่มา: สานักระบาดวิทยา กลุม่ อายุ(ปี ) สถานที่ขณะที่เกิดไฟฟ้ าช็อต สถานที่และกิจกรรม ในบ้ านหรื อบริเวณบ้ าน ขณะอยู่บนถนนที่มีนา้ ท่ วม อยู่บนเรื อพาย สถานที่อ่ ืนๆ ที่มา: สานักระบาดวิทยา ร้ อยละ 72.7 15.9 4.5 6.8 เหตุการณ์ 5 ลาดับแรกที่เป็ นสาเหตุของไฟฟ้ าช็อต (1) เหตุการณ์ ขณะโดนไฟฟ้าช็อต สัมผัสอุปกรณ์ไฟฟ้าโดยที่ร่างกายเปี ยกน ้า การเดินเข้ าไปขยับหรื อเสียบปลัก๊ เครื่ องปั๊ มน ้า(12) เสียบปลัก๊ ช๊ าตแบตเตอรี่ โทรศัพท์มือถือโดยเท้ าแช่น ้า(2) เข้ าใกล้ รัศมีอปุ กรณ์ไฟฟ้าโดยที่ร่างกายเปี ยกน ้า (ในระยะ 1.5 เมตร) การเดินเข้ าใกล้ รัศมีเสาไฟฟ้าบนถนนที่มีไฟฟ้ารั่ว(6) การเดินเข้ าใกล้ รัศมีของเครื่ องปั๊ มน ้าที่มีไฟฟ้ารั่ว(4) อุบตั ิเหตุสมั ผัสอุปกรณ์ไฟฟ้าโดยที่ร่างกายเปี ยกน ้า เดินลุยน ้าท่วมจับรถเข็นขายก๋วยเตี๋ยวที่พาดสายไฟฟ้า (2) ขณะเดินลุยน ้าในบ้ านปลัก๊ ไฟฟ้าสามตาบังเอิญตกลงในน ้า(2) ขณะทาสวนตัดต้ นกล้ วยที่มีสายไฟฟ้าพาด สายไฟขาดตกลงน ้า(1) ร้ อยละ 27.7 16.0 8.4 เหตุการณ์ 5 ลาดับแรกที่เป็ นสาเหตุของไฟฟ้ าช็อต (2) เหตุการณ์ ขณะโดนไฟฟ้าช็อต สัมผัสสื่อนาไฟฟ้าโดยที่ร่างกายเปี ยกน ้า เกิดจากจับสิง่ ที่เป็ นเหล็ก เช่น ประตูเหล็ก ราวตากผ้ า หรื อ รัว้ บ้ านที่สมั ผัสสายไฟ (4) การนัง่ บนเรื อที่ทาจากเหล็กพายหรื อไม้ พายไปโดน สายไฟฟ้าที่รั่ว (2) ย้ ายปลัก๊ ไฟหรื ออุปกรณ์ไฟฟ้าให้ พ้นน ้า พยายามย้ ายปลัก๊ ไฟให้ พ้นน ้าขณะร่างกายเปี ยกน ้า(3) พยายามย้ ายตู้เย็นขึ ้นที่สงู หนีน ้าโดยไม่ถอดปลัก๊ (1) ร้ อยละ 8.4 5.9 การไหลเวียนของข้ อมูลเฝ้ าระวังโรคจากพืน้ ทีส่ ู่ สากล Ministry of Public Health Department of Disease Control Regional Disease Control Center World Health Organization Bureau of Epidemiology*** Provincial Epidemiological Unit District Surveillance information center Private hospitals and clinics Hospitals and clinics under universal coverage schemes Case Report Information HIV/AIDS Surveillance at Different Time Points HIV PREVALENCE SURVEILLANCE BEHAVIOR HIV INCIDENCE SURVEILLANCE SURVEILLANCE “WINDOW” PERIOD ASYMPTOMATIC PERIOD INFECTION VIRAL LOAD HIV ANTIBODIES AIDS AIDS CASE SURVEILLANCE DEATHS HIV ILLNESS & AIDS DEATH ตรวจจับการระบาด Rate per 100,000 Pop. 25 Reported Cases of Leptospirosis per 100,000 Population, Thailand,1995-2004 20 15 10 5 0 1995 1996 1997 1998 1999 2000 2001 2002 Source: Bureau of Epidemiology, Ministry of Public Health, Thailand 2003 2004 จานวนผู้ป่วยโรคอุจจาระร่ วง จังหวัด ก เดือน มกราคม – สิ งหาคม 2553 เปรียบเทียบกับค่ ามัธยฐาน 5 ปี Number of cases 900 800 First Cholera Case 2010 5-year median 700 600 500 400 300 200 100 0 Week 1 3 5 7 9 11 13 15 17 19 21 23 25 27 29 31 33 35 37 39 41 43 45 47 49 51 Source: Bureau of Epidemiology, Ministry of Public Health, Thailand ใช้ติดตามแนวโน้มสถานการณ์โรค Fig 3 Reported Cases of S.T.I.,total (37-41, 79-81) per 100,000 Population, by Age-group, Thailand, 2004 - 2008 70 Rate per 100,000 Pop. 60 50 40 30 20 10 0 2004 2005 0-4 5-9 2006 10-14 2007 15-24 25-34 Source: Bureau of Epidemiology, Ministry of Public Health, Thailand 2008 35+ พยากรณ์การเกิดโรค 350 Reported Cases of Mushroom Poisoning by Month, Thailand, 2000-2004 Number of Cases 300 250 200 150 100 50 0 Jan Feb Mar 2000 Apr May 2001 Jun Jul 2002 Aug Sep 2003 Source: Bureau of Epidemiology, Ministry of Public Health, Thailand Oct Nov Dec 2004 อัตราอุบัตกิ ารณ์ ไข้ เลือดออกในประเทศไทย พ.ศ.2501 - 2553 350 Rate per 100,000 pop 1987 Big outbreak (325/100,000) 300 250 200 150 100 1958 1st Outbreak 1978 Every district 50 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37 38 39 40 41 42 43 44 45 46 47 48 49 50 51 52 53 ปี พ.ศ. 25.... Source: Bureau of Epidemiology, Ministry of Public Health, Thailand Seasonal Pattern of Dengue Fig. 4 Reported Cases of D.H.F,Total(26,27,66) by Month, Thailand, 2003 - 2007 Number of C as es 14000 12000 10000 8000 6000 4000 2000 0 Jan Feb Mar 2003 Apr May 2004 Jun Jul 2005 Aug Sep 2006 Source: Bureau of Epidemiology, Ministry of Public Health, Thailand Oct Nov 2007 Dec Difference in Geographical Distribution of Dengue Reported Cases of D.H.F,Total(26,27,66) per 100,000 Population, by Region, Thailand, 2005 - 2010 (Oct) Rate per 100,000 Pop. 350.00 300.00 250.00 200.00 150.00 100.00 50.00 0.00 2005 2006 Central 2007 North 2008 North-East 2009 South Source: Bureau of Epidemiology, Ministry of Public Health, Thailand 2010 Demographic Distribution of Dengue Fig 5 Reported Cases of D.H.F,Total(26,27,66) per 100,000 Population , by Agegroup, Thailand, 2005 - 2009 Rate per 100,000 Pop. 500 400 300 200 100 0 2005 2006 0-4 5-9 2007 10-14 2008 15-24 25-34 Source: Bureau of Epidemiology, Ministry of Public Health, Thailand 2009 35+ บอกปั ญหาของโรคตามพื้ นที่ Rae per 100,000 Pop. 500 Reported Cases of Food Poisoning per 100,000 Population, by Region, Thailand, 2000-2004 400 300 200 100 0 2000 2001 Central 2002 North 2003 North-East Source: Bureau of Epidemiology, Ministry of Public Health, Thailand 2004 South ใช้ติดตามแนวโน้มสถานการณ์โรค Rate per 100,000 Pop. . Reported Cases of Malaria per 100,000 Population, by Year, Thailand, 2000-2004 160 140 120 100 80 60 40 20 0 1995 1996 1997 1998 1999 2000 2001 2002 Source: Bureau of Epidemiology, Ministry of Public Health, Thailand 2003 2004 ประโยชน์ ของระบบเฝ้ าระวัง ตรวจจับการระบาดของโรค ติดตามสถานการณไโรค พยากรณไการเกิดโรค อธิบายธรรมชาติและการกระจายของโรค ประเมินผลมาตรการควบคุมป้ องกันโรค Surveillance is Information for Action How can we control Core groups of HIV transmission HIV/AIDS epidemic? Surveillance data are necessary but not sufficient for controlling the disease Surveillance system AIDS control programs การสอบสวนทางระบาดวิทยา การระบาด (Outbreak/Epidemic) การระบาด คือ การมีผู้ป่วยจานวน มากกว่ า จานวนปกติทคี่ าดหมาย ณ สถานที่ หรือในประชากร ทีช่ ่วงเวลาหนึง่ •การทีม่ ีผู้ป่วยเกิดขึ้ นในจานวนมากกว่ าปกติ เมื่อ เปรียบเทียบกับจานวนผู้ป่วยในช่ วงเวลาเดียวกันในอดีต เช่ น มากกว่ า ค่ ามัธยฐาน 5 ปี (median) •โรคที่เกิดขึน้ กับคนตั้งแต่ 2 คนขึน้ ไปในระยะเวลาอันสั้ น หลังจากเข้ าร่ วมกิจกรรมเดียวกัน •ผูป้ ่ วยโรคอุบตั ิใหม่ 1 ราย No. of Cases of a Disease Endemic Vs. Epidemic Endemic Time Epidemic 8 7 0 Onset 14-Jan 16-Jan 18-Jan 20-Jan 22-Jan 24-Jan 26-Jan 28-Jan 30-Jan 1-Feb 3-Feb 5-Feb 7-Feb 9-Feb 11-Feb 13-Feb 15-Feb 17-Feb 19-Feb 21-Feb 23-Feb 25-Feb 27-Feb 1-Mar 3-Mar 5-Mar 7-Mar 9-Mar 11-Mar 13-Mar 15-Mar 17-Mar 19-Mar 21-Mar 23-Mar 25-Mar 27-Mar 29-Mar 31-Mar จานวนผู้ป่วยโรคหัดตามวันเริ่มป่ วย ในเรือนจาแห่ งหนึ่ง 14 มกราคม – 31 มีนาคม 2554(N=44) No. cases Suspected cases MMR 1st campaign ที่มา: นพ.เอกชัย ยอดขาว สานักระบาดวิทยา Confirmed cases 9 Local SRRT MMR 2nd campaign 6 5 4 3 2 1 การศึกษาวิจัยทางระบาดวิทยา Measles Cases by Ward Distribution in a Prison, 14 Jan – 4 Mar 2011 (N=36) Male 1 Index cases Confirmed cases Suspected cases Male 3 Entry Male rehabilitation Source: Eakachai Yodkalw, MD Male 2 Age Specific Attack Rate of Measles Cases among Prisoners in a Prison, 14 Jan – 4 Mar 2011 (N=36) AR/1,000 Pop 30 25 22.5 20 15 10 5.3 5 3.2 0 18-25 Source: Eakachai Yodkalw, MD 26-30 >30 Age group Protective immunity ΔOD > 0.2 Non protective immunity ΔOD < 0.1 Equivocal 0.1 < ΔOD < 0.2 Immunological study 30 healthy prisoners Before Vaccination 22 (73%) Immune 3 (10%) equivocal Mean ΔOD=0.654 Mean ΔOD=0.128 5 (17%) Non-immune Mean ΔOD=0.067 3 weeks after vaccination 22 immune 2 immune Mean ΔOD=0.627 Mean ΔOD=0.555 1 equivocal ΔOD 0.1060.118 4 immune 1 equivocal Mean ΔOD=0.717 ΔOD 0.0880.169 Mass vaccination for measles outbreak control Coverage of MMR vaccination 95.9%(3,148/3,280) of target population (age < 25 years) Source: Eakachai Yodkalw, MD 8 7 0 14-Jan 16-Jan 18-Jan 20-Jan 22-Jan 24-Jan 26-Jan 28-Jan 30-Jan 1-Feb 3-Feb 5-Feb 7-Feb 9-Feb 11-Feb 13-Feb 15-Feb 17-Feb 19-Feb 21-Feb 23-Feb 25-Feb 27-Feb 1-Mar 3-Mar 5-Mar 7-Mar 9-Mar 11-Mar 13-Mar 15-Mar 17-Mar 19-Mar 21-Mar 23-Mar 25-Mar 27-Mar 29-Mar 31-Mar Measles Cases by Date of Onset, Prison S, Samut Prakan Province, 14 Jan – 31 Mar 2011 (N=44) No. cases Suspected cases MMR 1st campaign Confirmed cases 9 Local SRRT MMR 2nd campaign 6 5 4 3 2 1 Onset Basic Reproductive Number (R0) and Herd Immunity Example: R0 = 2+3+4 = 1.5 1+2+3 • R0 of measles = 12 - 18 • Herd immunity = 1 – (1 / R0 ) = 1 – (1/12) = 0.917 = 91.7% แนะนาหนังสือสาหรับนักระบาดวิทยาภาคสนาม The art of epidemiological reasoning is to draw conclusions from imperfect data George W. Comstock, M.D. ขอขอบคุณ