บทที่ 7 กลยุทธ ์การจัดการ ช่องทางการตลาด (The Strategy in Marketing Channels) 1 กลยุทธ ์การจัดการช่องทาง การตลาด นโยบายการเลือกคนกลาง การจูงใจคนกลาง การประเมินคนกลาง พันธมิตรธุรกิจในชองทาง การตลาด ความขัดแย้งในช่องทาง การตลาด กลยุทธ ์ของช่องทางการตลาด 2 นโยบายการเลือกคนกลาง ้ • กระบวนการเลือกคนกลางแบ่งเป็ น 3 ขันตอน ดูรป ู ที่ 7.1 หน้า 124 ่ นไป 1.หาสมาชิกในช่องทางการตลาดทีเป็ ได้ (Finding Prospective Channel Members) • พนักงานขาย (Field sales organization) • แหล่งการค ้า (Trade sources) • ตลาดผูข ้ ายต่อ (Reseller inquires) 3 • • • • ลูกค ้า (Customers) การโฆษณา (Advertising) การแสดงสินค ้า (Trade shows) ่ (Other sources) แหล่งอืนๆ 4 ่ นไป ่ จารณาคนกลางทีเป็ 2.วางเงือนไขและพิ ได้ (Applying Selection Criteria) ่ หลังจากได ้จานวนคนกลางในระดับทีเหมาะสม ่ แล ้ว ก็จะนามาพิจารณาในประเด็นอืนๆต่ อดังนี ้ ดู ตารางที่ 7.1 หน้า 125 ่ าเป็ นมาใช้ในการ 2.1 พิจารณาเงื่อนไขทีจ คัดเลือก(Generalized Lists of Criteria) ่ พิจารณาเงือนไขที จ่ าเป็ นสาหับการจัดการ ่ ่ น ช่องทางการตลาดว่าควรจะมีเงือนไขอะไรที เป็ ่ เงือนไขหลั กในการพิจารณา เช่น ความน่ าเชือ่ ่ ทางการเงิน เป็ นเงือนไขหลั กในการพิจารณา 5 ่ ่ งไว้ ้ แล้วมาพิจารณา 2.1 นาเงือนไขที ตั (Using lists of selection criteria) ่ • นาเอาเงือนไขเหล่ านั้นมาพิจารณา ประกอบการคัดเลือกคนกลาง ่ ้ได ้คนกลางทีมี ่ ประสิทธิภาพ • เพือให ่ • สามารถทีจะกระจายสิ นค ้าและบริการได ้อย่าง ่ ง ทัวถึ 6 3. ดาเนิ นกิจกรรมทางการตลาดร่วมกับคน กลาง (Securing the Channel Members) 3.1 สร ้างกิจกรรมทางการตลาดร่วมกับ คนกลาง(Specific Inducements for Securing Channel Members) - สายผลิตภัณฑ ์ (Product line) * พิจารณาจากสินค ้าสายผลิตภัณฑ ์นั้น ควรมี การทากิจกรรมในรูปแบบใดจึงจะเหมาะสม ้ * สามารถทาร่วมกันได ้ทังสายผลิ ตภัณฑ ์ หรือไม่ เช่น การส่งเสริมการขาย การแจกของ แถม * หรืออาจจะเลือกผลิตภัณฑ ์บางตัวเท่านั้นใน 7 - การโฆษณาและส่งเสริมการตลาด (Advertising and promotion) * มีความร่วมมือกันในการทาการโฆษณา สาหร ับสมาชิกในช่องทางการตลาดรายใหญ่ๆ * การส่งเสริมการตลาดร่วมกันระหว่าง เจ ้าของสินค ้ากับคนกลางต่างๆ เช่น อาจจะ ร่วมมือกันในการ กิจกรรมพิเศษขึน้ (Event Marketing) - การให้ความช่วยเหลือด้านการจัดการ (Management Assistance) * ผูผ ้ ลิตอาจจะให ้ความช่วยเหลือด ้านการ ่ จัดการกับคนกลาง ในเรืองของการบริ หาร 8 ่ ก ับคนกลาง (Fair - มีความสัมพันธ ์ทีดี dealing and friendly relationship) ่ กบั คนกลางก็มส * ความสัมพันธ ์ทีดี ี ว่ น ่ จะท ่ าให ้การทากิจกรรม สาคัญเป็ นอย่างยิงที ทางการตลาดได ้ผลดีในช่องทากงการตลาด - ความยืดหยุ่นในการทาธุรกิจ (Flexibility) ้ อนยาวกับคนกลาง และ * หรือการผ่อนสันผ่ ่ ยุ่ ่งยากหรือเมือคน ่ ให ้ความช่วยเหลือในเรืองที กลางมีปัญหาเกิดขึน้ 9 การจูงใจคนกลาง (Motivational Management to Marketing Channel Members) ประเภทของการจูงใจ ่ นตัวเงิน (Financial Incentives) 1. การจูงใจทีเป็ ่ ใช่ตวั เงิน (Non-Financial 2. การจูงใจทีไม่ Incentives) วิธก ี ารจูงใจคนกลาง 1. การจูงใจเชิงบวก (Positive Motivation) 2. การจูงใจเชิงลบ (Negative Motivation) 10 การจูงใจคนกลาง (Motivational Management to Marketing Channel Members) กระบวนการการจูงใจคนกลาง ่ จริงและ 1 . การค้นหาความต้องการทีแท้ ้ ่ ดขึนของคนกลางในระดับต่ ปั ญหาทีเกิ าง ๆ ในช่องการตลาด (Finding out the needs and problems of channel members) ่ ้จริงของ * การทาวิจยั ถึงความต ้องการทีแท สมาชิกในช่องทางการตลาด ่ ดขึนในขณะด ้ * มีปัญหาทีเกิ าเนิ นงานในการ 11 กระจายสินค ้าหรือไม่ ้ การตรวจสอบนันอาจจะดูได้ จาก • ยอดขาย ่ ่ • การร ับรู ้ของคนกลางในเรืองของแผนการตลาดที ่ เกียวข ้อง ้ • การตังราคา ณ จุดขาย • การให ้กาไรส่วนต่าง (Margin) ่ • การส่งเสริมการขายอืนๆ ้ การตรวจสอบจุดอ่อนจุดแข็งทีเกิดขึน ในขณะดาเนิ นงานด้านการตลาด 12 2. การสนับสนุ นคนกลางในช่องทาง การตลาด (Offering support to channel members) - ้ การสร ้างความร่วมมือให้เกิดขึน (Cooperative Arrangements) การสร ้าง ่ งใจต่างๆเพือให ่ ้เกิดความร่วมมือกันในการ สิงจู ดาเนิ นกรรมในช่องทางการตลาด เช่น * * การโฆษณาร่วมกัน การส่งเสริมการตลาดร่วมกัน 13 - การสร ้างหุน ้ ส่วนหรือพันธมิตรทางธุรกิจ (Partnership and Strategic Alliance) * สร ้างพันธมิตรร่วมกันทากิจกรรมทางการ ่ ตลาดมากกว่าทีจะเป็ นคูแ่ ข่งหรือคูค ่ ้า ่ ผลประโยชน์ * การร่วมมือกันภายใต ้ข ้อตกลงทีมี ร่วมกัน และช่วยกันมากกว่า โดยเฉพาะใน ช่องทางการตลาด - โปรแกรมการกระจายสินค้า (Distribution Programming) * การสนับสนุ นในช่องทางการตลาดนั้นยังจะต ้องมี ่ ัดเจนเกียวกั ่ นโยบายทีช บ 14 * นโยบายราคาในช่องทางการตลาด (Price Concession) * การให ้ความช่วยเหลือทางการเงิน (Financial Assistance) * การป้ องการรุกจากคูแ่ ข่ง (Protective Provisions) 3. การสร ้างความเป็ นผู น ้ าในช่องทาง การตลาด (Providing Leadership to Motivate Channel members) ผูผ ้ ลิตหรือเจ ้าของสินค ้าจึงต ้องสร ้างความเป็ น ่ ้กิจกรรม ผูน้ าในช่องทางการตลาดเพือให ทางการตลาดมีความกระตือรือล ้นและ 15 การประเมินคนกลาง (Appraising the Marketing Channel) ่ ามาพิจารณาก่อนการประเมิน 1. ปั จจัยทีน • ระดับของการควบคุม (Degree of Control) • ความสาคัญของสมาชิกในช่องทางการตลาด (Importance of Channel Members) • ลักษณะของผลิตภัณฑ ์ (Nature of Product) • จานวนของสมาชิกในช่องทางการตลาด (Number of Channel Members) 16 ้ 2. ขันตอนในการประเมิ นคนกลาง 2.1 สร ้างเงื่อนไขในการประเมิน (Developing Criteria) ่ ่ งนี ้ หลายๆเงือนไขดั การสร ้างเงือนไขอาจมี ยอดขาย (Sales Performance) การร ักษาระดับสินค ้าคงคลัง (Inventory Maintenance) ความสามารถในการขาย (Selling Capabilities) ทัศนคติของสมาชิกในช่องทางการตลาด 17 * สภาพการแข่งขัน (Competition) * อัตราการเจริญเติบโต (General Prospects) ่ ่ (Other Criteria) * เงือนไขอื นๆ Growth 18 ่ 2. 2 นาเงือนไขมาพิ จารณาในการประเมิน (Applying Performance Criteria) แบ่งได ้ 3 วิธ ี วิธแ ี ยกประเมินผลงาน (Separate Performance Evaluations) เป็ นวิธท ี แยก ี่ ่ ามาเป็ นเงือนไขใน ่ พิจารณาในแต่ละประเด็นทีน ่ ดว่า การพิจารณา โดยพิจารณาจากประเด็นทีคิ ่ ด และแยกเป็ นประเด็น ดูตารางที่ 7.2 สาคัญทีสุ หน้า 132 วิธป ี ระเมินผลงานคนกลางโดยใช้หลายๆ เงื่อนไขเชิงคุณภาพประกอบการพิจารณา (Multiple Criteria Combined 19 ่ ่ เป็ นวิธท ี จะต ี่ ้องนาเงือนไขหลายๆอย่ าง ประกอบการพิจารณา โดยเปรียบเทียบกับผลงาน โดยรวม และพิจารณาในเชิงคุณภาพเป็ นหลัก วิธป ี ระเมินคนกลางโดยใช้หลายๆเงื่อนไข เชิงปริมาณ (Multiple Criteria ้ นการประเมิน Combined Formally) วิธน ี ี เป็ ่ คนกลางโดยมีหลายๆเงือนไขประกอบการ พิจารณา ดูตารางที่ 7.3/ 7.4 หน้า 134-135 20 3. นาผลการประเมินมาใช้ให้ถูกต้อง (Recommending Corrective Actions) ่ กต ้องนาไปแบ่งกลุม นาผลการประเมินทีถู ่ และ ระดับความสาคัญของสมาชิกในช่องทาง การตลาด และจะเป็ นการสร ้างความแข็งแกร่งให ้ ้ เกิดขึนในช่ องทาการตลาดต่อไป ดูตารางที่ 7.5/ 7.6 หน้า 136-137 21 พันธมิตรทางธุรกิจในช่องทางการตลาด (Strategic Alliance in Marketing Channel) พันธมิตรทางธุรกิจ หมายถึงการทีธุ่ รกิจใน ้ สองธุรกิจรวมตัวกัน ช่องทางการตลาดตังแต่ ่ ้ (อาจจะในระดับเดียวกัน หรือต่างระดับกัน) เพือให เกิดการร่วมมือกันโดยมีประสานผลประโยชน์ ่ อว่าเป็ นการ ต่างๆร่วมกัน (Mutual Goal) ซึงถื สร ้างความแข็งแกร่งในช่องทางการตลาดให ้มาก ขึน้ 22 ทาไมจึงต้องหาพันธมิตรทางธุรกิจในช่องทาง การตลาด ่ เพือหาทางเข ้าสูต ่ ลาด (Market Entry) ซึง่ ้ อาจจะเป็ นไปได ้ทังตลาดเก่ าหรือตลาดใหม่ ่ ้เกิดการประหยัด (Economy) เช่นต ้นทุน เพือให ในการส่งเสริมการตลาด ต ้นทุนในการจัด จาหน่ าย หรือแม้แต่ต ้นทุนในการลิต ฯลฯ เป็ นต ้น ่ ่ เพือลดความเสี ยงในการท าธุรกิจ (Risk Reduction) ่ ้ส่วนถือครองทางการตลาดเพิมขึ ่ น้ (Gain เพือได Market Share) ่ นการขยายกิจการ (Expansion) โดยการ23 เพือเป็ ลักษณะของพันธมิตรทางธุรกิจ (The Characteristics of Strategic Alliance) ่ * Coaligment เป็ นการสร ้างจุดเชือมโยงระหว่ าง ่ ้ ธุรกิจต่างของสมาชิกในช่องทางการตลาดเพือให ่ บรรลุวต ั ถุประสงค ์ทัวไปในการกระจายสิ นค ้าและ บริการ เช่น การมีตลาดกลาง การสร ้าง website ร่วมกัน * Exchanging, Technologies, Product ่ Skill, and Knowledge เป็ นการแลกเปลียนใน ่ เรืองของความก ้าวหน้าทางเทคโนโลยี การผลิต สินค ้า และความรู ้ต่างๆ 24 * Competitive Edge เป็ นการร่วมมือกันเพือ่ ประเภทของพันธมิตรทางธุรกิจ (Types of Strategic Alliance) ่ ทธิ 1.การเป็ นพันธมิตรในเรืองของสิ ทางการผลิตสินค้า (Licensing Arrangement) * ข้อตกลงการผลิต (Manufacturing Agreements) เช่นมีการผลิตร่วมกัน หรือ ่ ้เกิดการประหยัด ให ้เป็ นผู ้ผลิตสินค ้าให ้เพือให ในต ้นทุนการผลิต เป็ นต ้น * ข้อตกลงการบริการ (Service Agreements) เป็ นการสร ้างพันธมิตรโดยมี ่ ข ้อตกลงในเรืองของการให ้บริการร่วมกัน 25 2. การเป็ นพันธมิตรในการร่วมลงทุน (Joint Venture) ้ เป็ นการร่วมลงทุนกันระหว่างสองกิจการขึนไป ่ าให ้เกิดโอกาสในด ้านต่างๆ เพือท การร่วมมือประสานงานกัน (Greater ่ Collaboration)ในเรืองของเทคโนโลยี การ ่ ประสานกันในเรืองของการใช ้ทร ัพยากร ทางการบริหารร่วมกัน (Pooled Resources) เกิดการประหยัด (Economy of Scale) การพัฒนาตลาดใหม่ๆ (Market Development) 26 3. Consortia or Consortuim ่ ดจากการทีคนกลางใน ่ เป็ นพันธมิตรทางธุรกิจทีเกิ ่ ลก ่ ้ายคลึง ช่องทางการตลาดทีมี ั ษณะธุรกิจทีคล กันโดยมีข ้อตกลงร่วมกันในการทากิจกรรม ้ั ทางการตลาด ในบางครงอาจจะมี การร่วมกันใน ่ ่ ความสัมพันธ ์กัน เรืองของการมี คณะผูบ้ ริหารทีมี อย่างใกล ้ชิดร่วมกัน 27 Consortia/ Consortuim Each participant retains its separate legal status and the consortium's control over each participant is generally limited to activities involving the joint endeavor, particularly the division of profits. A consortium is formed by contract, which delineates the rights and obligations of each member. Consortia are more common in the nonprofit sector. A more permanent joint activity is usually called an institute. These consortia have pooled the 28 resources of their member colleges and An example of a for-profit consortium was Airbus Industrie ("Airbus"). Formed in 1970, Airbus is one of the world's premier manufacturers of civilian airliners. Airbus is now owned by EADS. EADS itself is a merger of Aérospatiale-Matra of France, Daimler-Chrysler Aerospace of Germany, and Construcciones Aeronáuticas of Spain, which were originally separate partners in the consortium, owning 37.9%, 37.9%, and 4.2%, respectively. BAE Systems owned the remaining 20% but sold this in 2006. Airbus' status as a consortium means that profits accrue to the partner companies representative to their interests. Work is allocated on the same basis as profits. Another example of a for-profit consortium 29 is when a group of banks collaborate to การจัดทาข ้อตกลงระหว่างพันธมิตร 1. ระดับความร่วมมือ ่ั 2. วัตถุประสงค ์ของกลุม ่ พันธมิตร ชวคราว หรือ ระยะยาว ่ ามาสร ้างความ 3. การ Share ทร ัพยากรทีจะน ร่วมมือ และผลประโยชน์ทได ี่ ้ร ับ 4. การตรวจสอบ วัดผล รายงาน และข ้อแก ้ไขถ ้า มีปัญหาเกิดขึน้ 30 ความขัดแย้งในช่องทางการตลาด (Conflict in the Marketing Channel) ความไม่เข ้าใจในแผนการตลาด ่ ่ ดพลาดทาให ้เกิดความเข ้าใจผิดใน การสือสารที ผิ ่ การทาตามแผนการตลาดทีวางเอาไว ้ ่ มีคแู่ ข่งเข ้ามาในจานวนทีมากขึ น้ ผูจ้ ด ั การช่องทางการตลาดจึงจะต ้องมีการเรียนรู ้ ว่าทาไมจึงเกิดความขัดแย ้ง 31 ลักษณะของความขัดแย้ง Horizontal Conflict Intertype Conflict Vertical Conflict 32 สาเหตุของความขัดแย้งในช่องทางการตลาด ่ ความแตกต่างในบทบาทและหน้าทีของสมาชิ กใน ช่องทางการตลาด ่ อยูอ การขาดแคลนทร ัพยากรซึงมี ่ ย่างจากัด ่ างกันเนื่องจากอยูใ่ นสถานะภาพที่ การร ับรู ้ทีต่ แตกต่างกัน ่ างกัน ความคาดหวังทีต่ 33 ่ างกัน การตัดสินใจทีต่ ความสามารถในการทาให ้ถึงเป้ าหมาย ่ ่ การติดต่อสือสารที บกพร่ อง ่ หรือไม่ดรี ะหว่างสมาชิกใน ความสัมพันธ ์ทีดี ช่องทางการตลาด 34 ่ ดขึน้ ประเภทของความขัดแย้งทีเกิ ่ 1.ความขัดแย้งในเรืองของประสิ ทธิภาพของ ช่องทางการตลาด (Channel Efficiency) *Negative Effect-Reduced Efficiency ความ ่ ดขึนในทางลบยิ ้ ่ ความขัดแย ้งมาก ขัดแย ้งทีเกิ งมี เท่าใด ทาให ้ประสิทธิภาพในช่องทางการตลาดลด น้อยลดลงไป รูปที่ 7.3 หน้า 144 *No-Effect- Efficiency Remains Constant ่ ดขึนไม่ ้ มผ ความขัดแย ้งทีเกิ ี ลต่อประสิทธิภาพของ ช่องทางการตลาด รูปที่ 7.4 หน้า 144 *Positive Effect- Efficiency Increased ความ 35 ่ มากเท่าใด ทาให ้ ขัดแย ้งในทางบวกยิงมี 2. ความขัดแย้งในภาพรวม (Conflict and Channel EfficiencyGeneral Curve) ในช่องทางการตลาดอาจจะเกิดความขัดแย ้งขึน้ ได ้ในหลายรูปแบบผูจั้ ดการช่องทางการตลาด ่ ต ้องเรียนรู ้และสามารถทีจะแก ้ไขปัญหาความ ่ ดขึนให ้ ้ได ้ ขัดแย ้งทีเกิ รูปที่ 7.4 หน้า 145 36 การจัดการความขัดแย้ง (Managing Channel Conflict) สมมุตฐ ิ าน ่ ้ ้ 1.ความขัดแย ้งเป็ นสิงธรรมชาติ ทเกิ ี่ ดขึนได ตลอดเวลา 2.สาเหตุของความขัดแย ้งมีหลายสาเหตุซงเป็ ึ่ น พฤติกรรมปกติในช่องทางการตลาด 3.ความขัดแย ้งมีผลกระทบต่อประสิทธิภาพใน ช่องทางการตลาด ้ 4.ความขัดแย ้งในระดับต่างๆอาจมีผลกระทบทังใน ทางบวกและลบ หรือไม่มเี ลย ในช่องทาง 37 การตลาด ้ ขันตอนการจั ดการความ ขัดแย้ง 1. หาสาเหตุความขัดแย ้ง (Detecting Channel Conflict) ่ ดจากความขัดแย ้ง 2. การประเมินผลกระทบทีเกิ 3. แก ้ปัญหา (Resolve Conflict) โดย ้ นกรรมการจากตัวแทนของคนกลางทีเป็ ่ น - ตังเป็ สมาชิกในช่องทางการตลาด (A Channel Wide Committee) ้ าหมายร่วมกัน (Joint Goal Setting) - การตังเป้ ่ ้างความ ระหว่างสมาชิกในช่องทางการตลาด เพือสร เห็นชอบร่วมกัน 38 กลยุทธ ์ของช่องทางการตลาด (Strategy in Marketing Channels) กลยุทธ ์ช่องทางการตลาดหมายถึง หลักการที่ ธุรกิจคาดหวังว่าจะประสบความสาเร็จในการ กระจายสินค ้าไปยังกลุม ่ เป้ าหมายทางการตลาด The broad principles by which the firm expects to achieve its distribution objectives for its target markets: Bert Rosenbloom, 1999, p.164 39 คาถาม 5 ประการ ่ การดาเนิ นการ ก่อนทีจะมี ่ ในเรืองของกลยุ ทธ ์ ดังนี ้ 40 คาถาม 5 ประการ 1. บทบาทของการกระจายสินค ้ามี ความสาคัญอย่างไรในวัตถุประสงค ์และกล ยุทธ ์ของธุรกิจ 2. บทบาทของการกระจายสินค ้าในส่วน ประสมทางการตลาดเป็ นอย่างไร 3. ช่องทางการตลาดควรมีการออกแบบ อย่างไรให ้บรรลุเป้ าหมายในการกระจาย สินค ้า 41 คาถาม 5 ประการ 4. ควรจะจัดการกับสถาบันคนกลางทาง ่ ้การออกแบบ การตลาดอย่าไร เพือให ่ ด ช่องทางการตลาดมีประสิทธิภาพมากทีสุ 5. ควรมีการประเมินสมาชิกในช่องทาง การตลาดอย่างไร 42 กลยุทธ ์ช่องทางการตลาดและส่วนประสมทาง การตลาด Ts = f (P1, P2, P3, P4) Ts = Degree of Target Market Satisfaction P1 = Product Strategy P2 = Price Strategy P3 = Place Strategy P4 = Promotion Strategy 43 ประสมประสานระหว่าง 4P’s ให ้เหมาะสมเพือ่ ้ ่ ด หน้าทีของการ ่ สร ้าง Ts ให ้เกิดขึนมากที สุ กระจายสินค ้าจึงต ้องพิจารณาร่วมกับ 3P’s ที่ ่ เหลือโดยทาให ้มีกลยุทธ ์ทีสอดคล ้องกัน การทีธุ่ รกิจมีสมาชิกในช่องทางการตลาดเป็ น ของตนเอง จะสามารถทาให ้เกิดการได ้เปรียบใน การแข่งได ้ดียงขึ ิ่ น้ สร ้างโอกาสในการให ้บริการลูกค ้า เนื่ องจาก สมาชิกในช่องทางการตลาดมีความสามารถใน การอานวยความสะดวกให ้กับลูกค ้าได ้ดีกว่า ผูผ ้ ลิต การรวมกาลังของสมาชิกในช่องทางการตลาด 44