การเรี - สำนักบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

advertisement
PROF.DR.ANURAK PANYANUWAT
UNSERV, CHIANG MAI
UNIVERSITY
www.cmu.ac.th
uniserv.ac.th
การเรียนการสอนโดยเน้ น
กระบวนการวิจัยและบูรณาการ
ี งใหม่
มหาวิทยาล ัยเชย
Chiang Mai University
www.cmu.ac.th
1
การเรียนการสอนโดยเน้ นกระบวนการวิจัย
และบูรณาการ
ศาสตราจารย์ ดร.อนุรักษ์ ปัญญานุวฒ
ั น์
ผู้อานวยการ สานักบริการวิชาการ
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
www.uniserv.ac.th
บรรยายพิเศษ โครงการทบทวนวิสัยทัศน์ และยุทธศาสตร์ ประจาปี
งบประมาณ 2554 แนวทางพัฒนาการจัดการเรียนการสอน มหาวิทยาลัย
ศรีนครินทรวิโรฒ 28 เมษายน 2511
Discussion Issues
 การจัดการเรียนการสอนโดยเน้ นกระบวนการวิจัย
 ครบเครื่องการวิจัยเชิงบูรณาการ
 กาหนดกรอบแนวคิดการวิจยั ในการจัดการเรี ยนการสอน
 การจัดการเรียนการสอนโดยเน้ นการบูรณาการ

VCD ผาส้ ม on line, VCD สกว, VCD Royal
Project as the lessons of Integration
and research learning
การจัดการเรียนการสอนโดยเน้ นกระบวนการวิจัย
เป็ นการอานวยความสะดวกให้ ผู้เรียนใช้ กระบวนการวิจัย หรือ
ผลการวิจัยเป็ นกลไกในการเรียนรู้เนือ้ หาสาระต่ างๆ ตามโจทย์ การวิจัย
(Researchable Questions)
 โดยออกแบบการวิจัยให้ เหมาะสมกับบริบท ด้ วยเทคนิควิทยา
 ทาได้ ท้งั ให้ ผ้ ูสอน ออกแบบ และกาหนดประเด็นการศึกษา แล้ว
Facilitate ให้ ผ้เู รียนศึกษาเนือ้ หาสาระ หรือลงมือทาวิจัยโดยตรง
หรือช่ วยฝึ กฝนทักษะการทาวิจัยให้ แก่ผ้เู รียน เพือ่ สั งเคราะห์ ข้อมูลแล้ว
ตอบโจทย์ การวิจัย ตามวัตถุประสงค์ ของการวิจัย

ตัวชี้วดั ของการจัดการเรียนการสอนแบบวิจัย






ใช้หลักการ Learner-centred
ใช้ผลการวิจยั มาประกอบการเรี ยนการสอน ตามเนื้อหาที่วางแผนไว้
ผูเ้ รี ยนสามารถแสดงออกอย่างมัน่ ใจถึงวิธีการวิจยั และเสนอผลการวิจยั ในฐานะ
เป็ นส่ วนหนึ่งของการเรี ยนรู ้
ผูเ้ รี ยนและผูส้ อนมีส่วนร่ วมในการกาหนดเนื้อหาการเรี ยนรู ้ กาหนดแนวทาง
การศึกษาด้วยวิธีวจิ ยั แบบกัลยาณมิตร มากกว่า top-down designed
and instructed learning
ผูเ้ รี ยนมีโอกาสแสดงออกถึงทักษะการวิจยั ที่เกี่ยวข้อง ตามขอบเขตของเนื้อหา และ
เทคนิควิธีอย่างเหมาะสม ภายใต้บริ บทที่กาหนด
มีโอกาสสร้างองค์ความรู ้ใหม่ จากการวิจยั และผูว้ จิ ยั สามารถอธิ บายได้อย่างเข้าใจ
การจัดการเรียนการสอนโดยเน้ นการบูรณาการ:
บูรณาการเนือ้ หาได้ หลายวิธีการ

เชื่อมโยงการเรียนรู้ ระหว่ างเนือ้ หา ในกระบวนวิชาเดียวกัน หรือในหลาย ๆ
กระบวนวิชาแต่ สังกัดสาขาวิชาเดียวกัน เช่ น มีการเรียกว่ า 3 อย่าง บาท หรือ 4 อย่าง
บาท เป็ นต้ น
เชื่อมโยงการเรียนรู้ ระหว่ างกระบวนวิชา เช่ น
กรณีวชิ าเอก แพะวิทยา Bio-diesel วิทยา และ ขยะวิทยา ของโครงการ Home
School ทีด่ อยผาส้ ม
ทีส่ อดแทรกเนือ้ หาวิชาอืน่ ๆ ในการเรียนการสอน ซึ่งมีท้งั Thai and Computer
Literacy, Fundamental Business administration, Fundamental Marketing,
Rational Thinking and self-reliance เป็ นต้ น
 กรณี โรงเรียนรุ่ งอรุ ณ ทีจ่ ัดการเรียนรู้ แบบบูรณาการขนานกันไปในวิ๔ธรรมชาติ ใช้
ครู เป็ น Team มีแผนการสอนร่ วมกัน ให้ เกิดความคิดรวบยอด เชิงสั งเคราะห์ ให้
เกิดการตกผลึก ตามแนวของ Bloom


Issue-based or Problem-based
learning and teaching approach
การเรียนการสอนแบบวิจัย ที่ assign project ให้ ผู้เรียน
ทางานร่ วมกัน ซึ่งเป็ นการฝึ กการทางานร่ วมกัน ตั้งแต่ คดิ ริเริ่ม วางแผน
ดาเนินการศึกษาค้ นคว้ า ร่ วมกัน และแบ่ งหน้ าทีก่ นั รับผิดชอบ
 Issue-based or Problem-based
learning and teaching approach ที่ให้
โอกาสผู้เรียนขยายผลการเรียนรู้ ไปสู่ ประเด็นอืน่ ๆ ทีส่ ั มพันธ์ กนั เช่ น
กรณี ชาวบ้ าน เชียงใหม่ เรียนรู้การผลิตไข่ มดแดง แล้วแปรรูปเป็ น
อาหารกระป๋ องขาย โดยใช้ ทีมร่ วมวางแผน ปรึกษาร่ วมกันกาหนด
ประเด็น สร้ างความคิดรวบยอด แล้วแบ่ งหน้ าทีก่ นั เรียนรู้ เพือ่ มาร่ วมกัน
แก้ปัญหา สร้ างวิกฤติเป็ นโอกาส

จะเรียนเรื่องการทาวิจัย หรือการเรียนรู้โดยใช้ วธิ ีวจิ ัย
Learning how to conduct a research with
methodology, or
 Learning how to apply research method to
study other matters or issues, or
 Learning both, but with a remedial design
within a new context for new body of
knowledge
 โปรด ดู 3 CASES ต่อไปนี้

Child – Centred and
Content – Centred
Model
ครูสมัยพานักเรียนชั้นประถมไปทุ่งนา
1. ลุงสี จบ ป. 4 แนะนาการเตรียมการทานา
เตรียมดิน แปลงเพาะกล้ า
แช่ เมล็ดพันธุ์ในสารสะเดาค้ างคืน
หว่ าน
ใส่ ปุ๋ยหมัก ปรับปรุ งคุณภาพดิน
คอยเก็บวัชพืชและแมลง
การไถ การทดนา้
การปลูก ดูแล จนเก็บเกีย่ ว
2. ครู สมัยสอนคณิตศาสตร์ ในทุ่งนา
เ ด็กวัดความกว้ าง/ยาวของผืนนา
คานวณขนาดปุ๋ ย
คานวณค่ าใช้ จ่าย ค่ าแรง ค่ าต้ นทุน และ
กาไรหลังการขาย
3. ครูสมศรีสอนวิชาวิทยาศาสตร์ สอนเด็ก
เก็บตัวอย่ างแมลงนา้ และสั ตว์ จาแนกประเภทจากนา
ต้ นไม้ บอกคุณ โทษ และพฤติกรรม
 เก็บตัวอย่ างสิ่ งมีชีวต
ิ ขนาดเล็ก เป็ นตัวบ่ งชี้คุณภาพนา้ และ
โอกาสการแพร่ พนั ธุ์
 บอกพันธุ์ ไม้ พน
ื้ บ้ าน
 การบอกคุณสมบัติของสาร EM และการขอให้
 ลุงสี สอนเรื่ องการทาหัวเชื ้อชี วภาพ

4. แม่ บ้านสุ นันท์ สอนวิชา คหกรรมพืน้ ฐาน
การทาพืชท้ องถิ่นประกอบอาหาร
การเลีย้ งปลาในนาข้ าว
5. ครู สอนภาษาไทย ให้ เด็กฝึ กเรียงความจดบันทึกอย่ างเป็ นระบบ
6. ครู สุพนั ธ์ สอนวาดรู ป ปลูกถ่ ายความสุ นทรียะให้ แก่เด็กจาก
ทุ่งนา และวิถชี ีวติ
7. ครู พลศึกษา พาเดินทางไกล ในการสารวจ พร้ อมกิจกรรมแบบ
Walk Rally ทีส่ นุกสนาน
สั งเคราะห์ : Integration of Contents, teaching
team, Research oriented teaching method
ครูสมัย เป็ น Organizer
ครู 6 ท่ านเป็ น ผู้สอนต่ างความรู้ ทักษะสอน
ต่ างสาขาวิชา
วิชาทั้งหมด เป็ นภูมิปัญญาเก่า / ใหม่ และบูรณาการ หรืออาจ
เป็ นการบูรณภาพวิชาสิ่ งแวดล้อมกับพฤติกรรมมนุษย์
Learner-centred Approach
A Participatory Integrated Learning and
Teaching Approach
SUPERVISION จาเป็ นสาหรับการเรียนการสอน
แบบวิจัย





Depending on Specific FIELDS
ISSUES
PROBLEMS
BARRIERS,
but still WITHIN the EDUCATIONAL WORLD OF
– FORMAL EDUCATION OR SCHOOLING
– NONFORMAL EDUCATION
– INFORMAL EDUCATION
CONTEXT
& GIVEN
CONTEXT
TEACHING
KM
INTERNAL
OUTPUTS
&
EXTERNAL
SCHOOLING
STUDENTS
INPUTS
ISSUES
ADMINSTRATION PROCESS
EFFECTS &
IMPACTS
2. Sustainable Development
in Highland Areas
DELIVERY
PRODUCTION
TARGET GROUPS
RECEIVING
& SERVICE
BODY OF
KNOWLEDGE
SUPPORTING, MONITORING
& EVALUATION
Core Concept
มช. สป. ศธ., โครงการหลวง
สวพส. (องค์การมหาชน) กศน. ชุมชน
องค์ ความรู้ จากแหล่ งต่ าง ๆ
ภูมิปัญญา
พัฒนาเป็ นสื่ อที่เหมาะสม
กับบริบท
Occupational & Functional
Literacy
And Life Quality
ครูอาสาสมัคร ศศช.
และ ผู้เรียนผู้ใหญ่
Management
-Self Help
Capital Marketing
- Self Sufficiency
-Sustainability
Knowledge
Learning
-Strengthening
CONTECTUAL CONTENTS:
ENVIRONMENT, LIFE QUALITY,
OCCUPATIONS OF HILL TRIBES
PRODUCTION
OF MEDIA
- Printing Materials,
- Audio Visual Aids with
Tapes and VCD
-Trained Volunteer Teachers
KNOWLEDGE AND
UNDERSTANDING
ACQUIRE
CLASSIFY
UTILIZE
Time, Target Group,
Quality, Quantity, Place
LEARNING CONTENTS
ABSTRACT
EXCHANGE
& APPLY
GOAL SETTING
PRACTICABLE
ACCESSIBILITY PHYSICALLY/ CONCEPTUALLY AND
CULTURALLY
ACQUISITION
แนวการประยุกต์
NEEDS ASSESSMENT
concepts in
CONTENT DETERMINATION conducting a
research
POTENTIAL LEARNERS
PARTNERSHIP AGENCIES
ANDRAGOGY (FACILITATING ADULTS TO LEARN)
APPROACH TO COMMUNITY DEVELOPMENT with
SELF-DIRECTED LEARNING
3. การศึกษาและพัฒนาชุมชนทีส่ ะเมิง :
แนวคิดการดาเนินงานในระยะต่ อไป
โดย ศ.ดร.อนุรักษ์ ปัญญานุวฒ
ั น์
เสนอ
มูลนิธิโตโยต้ า ประเทศไทย
คณะทางานสานักบริการวิชาการ
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
และวัด กับชุ มชน
การศึกษาทางเลือกและพัฒนาชุมชนทีส่ ะเมิง
สิ่ งแวดล้อม อาชีพบนทุนท้ องถิ่น
เทคนิคการจัดการ
ความรู้ การเรียนรู้
การพัฒนายัง่ ยืน
กิจกรรม
ต่ อเนื่อง
พัฒนาชุมชน
วัฒนธรรม
อย่างพอเพียง
IMPACTS
มิตกิ ารประสานงานพัฒนาชุมชน
2.ระบบผลิต 3.ระบบจัดการชุ มชน
5.การจัดการความรู้
1. ระบบ
สนับสนุน
4.ระบบติดตาม ประเมินผล
การผลิต เช่ นเทคนิคปลูกดอกทานตะวัน
แผนธุรกิจชุ มชน
แผนการจัดการเรียนรู้
การพัฒนาแผนและโครงการ
บูรณาการ แนวคิด ในการวิจัยภาคสนาม: กรณีตัวอย่ าง
ทาสทีป่ ล่ อยไม่ ไป ทีเ่ ขื่อน ป่ าสั กชลสิ ทธิ์ ลพบุรี
 Kina Kotabalu, North Borneo and Nong
Kunsong, Trad: A participatory change
from killing zone to eco-tourism
development
 ยุง กิน คน ทีแ่ หลมตะลุมพุก กับ คอนโดมิเนียม นกนางแอ่ น: Conflicts
between Business and Humanistic Life
Quality
 A Participatory Approach to Land
Development: PAR on Ramzar in Phuket (พรุ
เจ๊ ะสั น พรุ แดง กับการเรียนรู้ เพือ่ การปรับตัวขององค์ กรชุ มชน)

เรื ออวนรุน
คุนหมิง
ลาเซียว
จิงหง
มัณฑะเลย์
เชียงตุง
ฮานอย
ฮา
นอย
ไฮฟอง
ไฮ
ฟอง
เชี ยงใหม่
วินห์
ทะเลจีนใต้
ย่างกุง้
ดานันัง
ดา
เมาะละแหม่ง
กรุงเทพฯ
พนมเปญ
พนม
เปญ
ทะเลอันดามัน
สีหนุ วิวิลล์
อ่าวไทย
ภูเก็ต
สงขลา
ครบเครื่องการวิจัยเชิงบูรณาการ
ประเภทการวิจัยที่หลากหลาย
เทคนิค แนวคิด องค์ ความร้ ู
ผลและผลกระทบ
วิจัยมีหลากหลายประเภท
ตามเป้าหมายที่กาหนด
แต่ ละประเภท ก็มีหลักการ
ต่ างกันและ เหมือนกัน
จาแนกตามประโยชน์ของการวิจ ัย
้ ฐานหรือการวิจ ัยบริสท
วิจ ัยพืน
ุ ธิ์ มุง่ แสวงหา
ความรู ้หรือความจริงทีเ่ ป็ นกฎ สูตร ทฤษฎี เพือ
่ จะ
ขยายพืน
้ ฐานความรู ้ทางวิชาการ
้
 วิจ ัยประยุกต์ มุง
่ เอาผลการวิจัยไปใชประโยชน์
โดยตรง เพือ
่ แก ้ปั ญหาหรือเพือ
่ ปรับปรุงระบบงาน
ิ ปฏิบ ัติ มุง่ แก ้ปั ญหาเฉพาะหน ้าเป็ นเรือ
 วิจ ัยเชง
่ งๆ
ไป แต่ไม่สามารถนาผลของการวิจัยไปอ ้างอิงกับ
กลุม
่ อืน
่ หรือเรือ
่ งอืน
่ ทีต
่ า่ งบริบท

จาแนกตามประโยชน์
วิจ ัยและพ ัฒนา มุง่ นาเอาความรู ้จากการวิจัยบริสท
ุ ธิ์
ไปวิจัยต่อ
ั้ ยน มุง่ นาผลการวิจัยมาใชในการ
้
 วิจ ัยในชนเรี
พัฒนาการเรียนการสอนของครู
ิ นโยบาย นาผลไปใชประโยชน์
้
 วิจ ัยเชง
ตอ
่ การวาง
นโยบาย การนานโยบายไปปฏิบต
ั ิ และการประเมินผล
้
 วิจ ัยสถาบ ัน นาผลไปประยุกต์ใชในการวางแผน
ิ ใจ หรือแก ้ปั ญหาทีม
กาหนดนโยบาย ตัดสน
่ ใี นแต่ละ
สถาบันโดยเฉพาะ

จาแนกตามล ักษณะของข้อมูล


ึ ษาข ้อเท็จจริง เพือ
วิจัยเชงิ ปริมาณ มุง่ ศก
่ หาข ้อสรุปในเชงิ
ปริมาณหรือตัวเลข แล ้วใชข้ ้อมูลจากกลุม
่ ตัวอย่างอ ้างอิงไปใช ้
ั เทคนิคทางสถิต ิ และรวบรวมข ้อมูลโดย
กับประชากรโดยอาศย
้
ั ภาษณ์ สงั เกต ทดลอง หรือ
ใชแบบสอบถาม
แบบทดสอบ สม
แจงนับ
วิจัยเชงิ คุณภาพ หรือเชงิ คุณลักษณะ รวบรวมข ้อมูล
ั การสงั เกตทัง้ แบบมีและไม่มส
โดยอาศย
ี ว่ นร่วมตาม
ั ภาษณ์เชงิ ลึก อภิปรายกลุม
กรณี สม
่ ย่อย และ PRA
เป็ นต ้น สว่ นวิเคราะห์ข ้อมูล ใชวิ้ ธก
ี ารจัดกลุม
่ สรุป
้ ติ
บรรยายเชงิ พรรณนา ข ้อความทีอ
่ าจไม่ต ้องใชสถิ
จาแนกตามวิธก
ี ารรวบรวมข้อมูล
วิจ ัยเอกสาร
ิ สารวจ ศก
ึ ษาสภาพทีเ่ ป็ นจริงของ
 วิจ ัยเชง
ปรากฏการณ์ เพือ
่ ใชข้ ้อมูลในการวางแผน และ
ปรับปรุงให ้ดีขน
ึ้
ั
่ ศก
ึ ษาพฤติกรรม หรือ
 วิจ ัยจากการสงเกต
เชน
เฉพาะกรณี


วิจ ัยแบบสามะโน (Census Research) เก็บ
รวบรวมข ้อมูลจากทุกสว่ นของประชากร
จาแนกตามวิธก
ี ารรวบรวมข้อมูล



วิจ ัยเชงิ ทดลอง (Experimental Research) ค ้นคว ้าหาความ
จริงโดยนาเอาวิธก
ี ารทางวิทยาศาสตร์มาชว่ ยในการทดลอง
ภายใต ้การควบคุมความแปรปรวนทีเ่ กีย
่ วข ้องหรือไม่เกีย
่ วข ้อง
อย่างมีระเบียบแบบแผน
วิจ ัยเชงิ ประว ัติศาสตร์ เน ้นหาความรู ้ความจริงจากอดีตจาก
ิ าจารึก ปั๊ บสา
เอกสาร ภูมป
ิ ั ญญา คาบอกเล่า หรือศล
ค ้นหาความรู ้ ความจริง ในสภาพ
่ การสารวจทัศนคติ ความสนใจ
ปั จจุบน
ั เชน
ความพึงพอใจ ความคิดเห็น หรือทา Poll
การเมือง
วิจ ัยเชงิ บรรยาย
จาแนกตามประเภท องค์ความรู ้
ั
วิจ ัยทางสงคมศาสตร์
ค ้นคว ้าหาความรู ้ด ้านสงั คม
วัฒนธรรม และพฤติกรรมของมนุษย์ ใช ้ แบบทดสอบ
แบบสอบถาม แบบวัดทัศนคติ แบบสงั เกต และแบบ
ั ภาษณ์
สม
ึ ษาปรากฏการณ์ธรรมชาติ
 วิจ ัยทางวิทยาศาสตร์ ศก
ของสงิ่ มีชวี ต
ิ และไม่มช
ี วี ต
ิ ทัง้ ทีจ
่ ับต ้อง มองเห็นและ
้ อ
ไม่เห็น ใชเครื
่ งมือวัดทีแ
่ ม่น ถือว่าทุกอย่างมีเหตุกอ
่ น
แล ้วจะมีผลตามมา สามารถทดสอบหรือพิสจ
ู น์ได ้ โดย
สอดคล ้องกับเงือ
่ นไขทีก
่ าหนดขึน
้

SIMPLE WAYS TO START YOUR
RESEARCH PROPOSAL
What is (are) your interest (s)?
 What is your topic?
 What are your researchable questions?
 Have you studies enough to answer your
researchable questions and how to
synthesize them ? (Related Literature
Review)
 What is your conceptual framework?

วิธีคิดในการมองงานวิจัย
แผนภูมิ กระบวนการวิจยั
แนวคิด/วิจัย
กรอบแนวคิด
เวที
รายงาน
เครื่องมือวิจัยทางสั งคมศาสตร์ / มนุษย์ ศาสตร์
ประเด็นคาถาม
ประเด็นวิเคราะห์
ประเด็นสั มภาษณ์
แบบสอบถาม
ประเด็นการอภิปราย
ประเด็นการอภิปราย
กลุ่มย่ อยเจาะลึก
(Focus Group
Discussion)
แบบสั มภาษณ์ อย่าง
ไม่ มโี ครงสร้ าง
แบบสั งเกตการณ์
เครื่องมือวิจัย
ทางวิทยาศาสตร์ /
สุ ขภาพ
 เครื่ องมือวิจัยทาง
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี

อืน่ ๆ
แบบสั มภาษณ์ อย่าง
มีโครงสร้ าง
การผสมผสานทีเ่ หมาะสม
ประเด็นคาถามสาหรับ
การประเมินชุ มชนอย่ างมี
ส่ วนร่ วม (Participatory
Appraisal -PRA) และ
Rapid Rural Appraisal RRA
PRA
Focus
Group
Discussion
ประเด็นวิเคราะห์
เนือ้ หา เอกสาร
ประเด็นวิเคราะห์
ทางวิทยาศาสตร์
1. วัตถุประสงค์ หลักการวิจัย
1.1 วัตถุประสงค์ ย่อย
1.1.1 ประเด็นคาถาม
1.1.2 ประเด็นคาถาม
ประเด็นการ
สั มภาษณ์
แบบสั มภาษณ์
แบบสอบถาม
เช่ น คนอีสานเอาขีเ้ ถ้ าต้ นเซือก (เผาแล้วจะมีสีขาวนวล) มาผสมกับมะขามเปรี้ยว
กลายเป็ นมะขามหวานไปได้ เพราะฉะนั้น ทาไมและมี
คุณสมบัติ / เงือ่ นไข
พรรณนา
วิเคราะห์ ข้อมูล
เชิงสถิติวเิ คราะห์
เชิงวิทยาศาสตร์ (ตามเหมาะสม)
วิธีอนื่ ๆ
การจัดเก็บข้อมูล
แผนภูมิ กระบวนการเก็บข้ อมูล
วัตถุประสงค์
แตกประเด็น
แหล่ งข้ อมูล
เก็บ/วิเคราะห์
แปลผล
Integrated Concepts and Theories
Depending on Field or Interdisciplinary Fields of
Study:
 Eco-tourism (Carrying Capacity, Environmental
Sustainability, Man and Environment
Management, Service Industry, Self-reliance,
 Business Administration, Marketing,
Communication and Publication, SME, Small is
Beautiful, Participatory Approach to Rural
Development, GMS, Occupational Adjustment
through Learning and Knowledge Management,
etc.)

Concepts
Food Safety Policy Evaluation Project
(Evaluation, Public health, Health science,
Laws, Social Sciences and Humanities,
Participation, Administration etc.)
 Relating to Researchable Questions
 Directly Relating to Research Objectives
 Within the Scope of the Research/Study

OH! A LOT
Respectful walk
ความเชื่อ ทีน่ ักวิจัยไม่ ควรลบหลู่
ทหารกล้ าแห่ งยองข่ า พม่ า
แนวคิด ทฤษฎี ทั้งลูกโดด และลูกผสม
แนวคิด/ทฤษฎีหลัก หรือ แนวคิดร่ มใหญ่
แนวคิด/ทฤษฎีรอง หรือ แนวคิดซี่ร่ม แต่ ไม่ แยกส่ วน หรือ ตัดแปะ
 การเชื่ อมโยงแนวคิด ทฤษฎี เข้ าด้ วยกัน ภายใต้ ประเด็นทีก่ าหนด
 การตีความจากวัตถุประสงค์ ปัญหาการวิจัย ขอบเขตการวิจัย และนิยาม
ศัพท์ เพือ่ สร้ างเป็ นกรอบแนวคิด
 จากกรอบแนวคิด ภายใต้ บริบททีก่ าหนด พัฒนากลายเป็ น การออกแบบ
Methodology สมบูรณ์ แบบ

ปัจจัยภายใน
• ความรู้ ความเข้ าใจ
ตัวอย่างกรอบแนวคิดการสร้างความเข้มแข็งภายในชุมชน
• ความสามัคคี
ความเข้มแข็งขององค์กร
• ความซื่อสั ตย์
• การมีส่วนร่ วม
• วิธีการจัดการ
• การตัดสิ นใจได้
• กระบวนการกลุ่ม
• การจัดการได้ และสร้ าง
ผลผลิตได้
• ปัญหาด้ านเศรษฐกิจ
สั งคม และสิ่ งแวดล้ อม
• ลักษณะชุ มชน
ปัจจัยภายนอก
• ความรู้และความเข้ าใจ
ของคนนอกองค์ กร
• นโยบาย
• การตลาด
• การส่ งเสริม
กระบวนการ
เรียนรู้ และ
ถ่ ายทอด
ตัวชี้วดั
• การช่ วยตนเอง
• การพึง่ พาตนเอง
• ศักยภาพกลุ่มเป้ าหมาย
ทางคุณภาพ ปริมาณ เวลา
และสถานที่
ACCESSIBILITY PHYSICALLY, CONCEPTUALLY AND
CULTURALLY OR TRADITIONALLY
ACCOMMODATION
LONG STAY
HOME STAY
PRODUCT
BED AND BREAKFAST
PRICE
GUEST HOUSE/YOUTH HOSTEL PLACE
PROMOTION
AMENITY
ACTIVITY
ATTRACTION
โจทย์ : การพัฒนาทีย่ งั่ ยืน หรือทางเลือกการพัฒนา
จะใช้ แนวคิด
หลัก และ
แนวคิดย่อย
อะไร และ
อย่างไรบ้ าง
สั งคมแห่ งการเรียนรู้
ภูมปิ ัญญาดั้งเดิม
บูรณาการ
ภูมปิ ัญญาใหม่
CORE CONCEPTS
INDIGENOUS KNOWLEDGE
 HOLISTIC VIEW

– ELEMENTS: PERSON, MEDIA, CONTENTS, GOALS,
ATMOSPHERE, FACTORS
– CONFIGURATION: PROCESS OF TEACHING AND
LEARNING, MEDIA DEVELOPMENT, TEACHER
DEVELOPMENT, COMMUNITY RELATIONSHIP
DEVELOPMENT
– FUNCTIONS: PUSH/PULL/INTERVENTION FACTORS,
INTERNAL AND EXTERNAL FACTORS; CONTEXT,
INPUT, PROCESS, PRODUCT (STUFFLEBEAM) or
Stufflebeam plus Stake for evaluation with criteria
องค์ ความร้ ู และองค์ รวม
สังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์
 วิทยาศาสตร์ สุขภาพ
 วิทยาศาสตร์ และการพัฒนาเทคโนโลยี

Health Sc
INTEGRATION
Soc Hum
องค์ รวม จะช่ วยจาแนก และเชื่อมโยงตัวแปร องค์ ประกอบ
ตาม Function and Characteristics
Sc &
Technology
องค์ ความรู้ และองค์ รวม
แผนภูมิ กระบวนการเชื่อมโยงองค์
ความรู้
สั งคมศาสตร์
มนุษยศาสตร์
วิทยาศาสตร์
สุ ขภาพ
วิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี
Research
Design
SIMPLE JOBS FOR RESEARCHERS
OF A RESEARCH TOPIC







1. RESEARCHABLE QUESTIONS
2. RESEARCHABLE OBJECTIVES
3. QUESTIONABLE ISSUSES RELATING TO
DEFINITION OF TERMS (Meaning, Elements and
measurable units of Analysis)
4. CONCEPTUAL FRAMEWORK
5. ITEMS (Relating to Questions of Instruments)
6. DESIGNING DATA COLLECTION
INSTRUMENTS and TESTING
7. HOW TO COLLECT DATA and
INTERPRETATIONS RELATING TO 1, 2,3 AND 4
ความรู้ ความเข้ าใจ
การได้ มา
ใช้ ประโยชน์
ปฏิบัต/
ิ เผยแพร่
เนื้อหา สื บทอด
ประเภท
ผูใ้ ห้-ผูร้ ับ
นามธรรม
รับรู้
เป้ าหมาย
เรียนรู้
Time Target Group
Quality Quantity Place
Commit
ยอมรับ
ลอง
ตัดสิ นใจ
ปฏิบัติได้
ความรู้ ความเข้ าใจ
การได้ มา
ใช้ ประโยชน์
ปฏิบัต/
ิ เผยแพร่
เนื้อหา สื บทอด
ประเภท
ผูใ้ ห้-ผูร้ ับ
นามธรรม
รับรู้
เป้ าหมาย
เรียนรู้
Time Target Group
Quality Quantity Place
Commit
ยอมรับ
ลอง
ตัดสิ นใจ
ปฏิบัติได้
ACCESSIBILITY PHYSICALLY AND CULTURALLY
ACCOMMODATION
LONG STAY
HOME STAY
BED AND BREAKFAST
PRODUCT
GUEST HOUSE/YOUTH HOSTEL PRICE
PLACE
AMENITY
PROMOTION
ACTIVITY
ATTRACTION
การจัดเก็บข้อมูล
แผนภูมิ กระบวนการเก็บข้ อมูล
วัตถุประสงค์
ประเด็น
แหล่ งข้ อมูล
เก็บ/วิคราะห์
การพัฒนาทีย่ งั่ ยืน หรือทางเลือกการพัฒนา
สั งคมแห่ งการเรียนรู้
ภูมปิ ัญญาดั้งเดิม
บูรณาการ
ภูมปิ ัญญาใหม่
กาหนดกรอบแนวคิดการวิจัย ในการจัดการเรียนการ
สอน
 เป็ นการแสดงความคิดรวบยอดของการวิจยั ทีแ่ สดง
ความสั มพันธ์ ระหว่ างตัวแปรทีเ่ กีย่ วข้ อง โดยมีฐานมาจาก
แนวคิด ทฤษฎี ทีผ่ ้ ูวจิ ยั ได้ เลือกสรรมาแล้ ว
 ควรสั มพันธ์ โดยตรงกับ วัตถุประสงค์ ของการวิจยั สะท้อน
แนวทางทีจ่ ะตอบคาถามการวิจยั และอาจอธิบายส่ วนทีเ่ หลือขอ
งองค์ ประกอบของตัวแปรทีส่ าคัญได้ ด้วย คานิยามศัพท์ ของ
คาหลักทีป่ รากฏอยู่ในวัตถุประสงค์ ของการวิจยั
กรอบแนวคิดการวิจัย
เป็ นการกาหนดขอบเขตการวิจัย ที่อาจนาผลการค้ นพบของแต่ ละ
วัตถุประสงค์ ของการวิจัย มาอธิบายอย่ างเชื่อมโยงเชิงทฤษฎี
 อธิบายด้ วยภาพเชื่ อมโยงระหว่ างทฤษฎี แนวคิด กับปรากฏการณ์เชิ ง
ประจักษ์
 เลือก แนวคิด ทฤษฎีหลัก เสมือนร่ มทีค
่ รอบคลุมการอธิบาย ด้วยบริบท
รวมของการวิจัย (Collective Context of the
Research) แล้วมีแนวคิด ทฤษฎีรอง เสมือน ซี่ร่ม มาช่ วยหนุน
ยัน ให้ เกิดความกระจ่ าง ในประเด็นย่ อย แต่ เป็ นองค์ ประกอบสาคัญของ
ช่ วยอธิบายปรากฏการณ์ ทเี่ กีย่ วข้ องกับการวิจัยนีอ้ ยู่

การเขียนกรอบแนวคิดการวิจัย
แบบแผนภูมิ ที่แสดงการเชื่อมโยงระหว่างตัวแปรที่สัมพันธ์กนั และอาจแสดง
ลาดับของการเกิดความสัมพันธ์ก่อน หรื อหลังของตัวแปร/กลุ่มตัวแปร อย่างเป็ น
เหตุเป็ นผล ที่อาจอธิ บายได้ดว้ ยเทคนิคทางสถิติ หรื อ การพรรณนาอย่างเป็ นเหตุ
เป็ นผล
 แบบบรรยาย ด้วยคาพูดเชิงพรรณนา แสดงลาดับของความสัมพันธ์ก่อน หรื อหลัง
ของตัวแปร/กลุ่มตัวแปร อย่างเป็ นเหตุเป็ นผล วิธีน้ ี ผูบ้ รรยายแนะนาให้ใช้แผนภูมิ
ประกอบการบรรยายด้วยจะดีกว่า
 แบบ Function ทางคณิ ตศาสตร์ นิ ยมใช้ในการวิจยั ทางเศรษฐศาสตร์ ที่อาศัย
ตัวแทนด้วยอักษรภาษา เช่น X = f(A, B, C, D) ดยแทนความหมาย ด้วย
X = Social Conflicts, A = Legal Actions, B =
Local Resistance, C = Benefits, D = Frequency
of Influence Performances เป็ นต้น

ข้ อควรระวังในการเขียนกรอบแนวคิดการวิจัย

นักวิจยั มัก เข้าใจขั้นตอนการวิจยั ว่าเป็ นกรอบแนวคิด แต่บางขณะ ก็มคี นเรี ยก
Flow Chart แบบนี้ เป็ น กรอบแนวคิด
พัฒนารูปแบบ
ข้ อมูลจาก
บุคคล
ทดสอบ
สั งเคราะห์
ข้ อมูลจาก
เอกสาร
แนวคิด
แนวคิดหลัก
พัฒนารูปแบบ
กรอบแนวคิดการวิจัย
• By
Researchable
Question
• By
Objective
• Definition
of Terms
Variables
Variables
Context
Methodology
• Core
Concept and
Related
Concepts
ขอบคุณครับ ทีใ่ ห้ ความสนใจ
www.uniserv.cmu.ac.th
Download