ME 701 lecture 1

advertisement
บทที่ 1
การประเมินโครงการ
(Project Evaluation)
project evaluation
1
การประเมินผลคืออะไร

เป็ นการวัดหรื อกาหนด
◦ คุณภาพ (Merit or Quality) เช่น การศึกษา
◦ คุณค่า ( Worth or Value) เช่น การสงเคราะห์ผ้ สู งู อายุ
◦ ความสาคัญ (Significance or Importance) เช่นนโยบายแก้ ไข
ความยากจน
การประเมินโครงการเป็ นรูปแบบหนึง่ ของการประเมินผล
 ทังสองรู
้
ปแบบประเมินแตกต่างที่วตั ถุประสงค์การประเมินและการ
นาผลที่ได้ รับจากการประเมินไปใช้

project evaluation
2
ความรู้ทวั่ ไปของการประเมินโครงการ

ความหมายของการประเมินโครงการ
◦ การวัดผล (measurement) ผลการดาเนินโครงการอย่างเป็ นระบบและมี
เป้าหมายการวัดผลที่ชดั เจน
◦ สามารถวัดผลได้ ทงระดั
ั้ บ
 การออกแบบ (design)
 ระหว่างดาเนินโครงการ (implementation)
 ผลที่ได้ รับจากการดาเนินโครงการหรื อหลังโครงการสิ ้นสุด (results)
◦ เกี่ยวข้ องกับการรวบรวมข้ อมูล การวิเคราะห์ การแปลผล และการรายงานผล
◦ ข้ อมูลที่ใช้ ต้องมีความน่าเชื่อถือ
◦ ผลทีไ่ ด้ รับจากการประเมินมุง่ เพื่อนาไปสูก่ ารพัฒนาโครงการให้ มีประสิทธิภาพ
เพิ่มสูงขึ ้น
project evaluation
3
ประเภทของการประเมิน (Evaluation)
Project evaluation
 Product evaluation
 Program evaluation
 Policy evaluation
 Process evaluation
 Performance evaluation

project evaluation
4
บทบาทของการประเมินโครงการ
(Role of Project Evaluation)
มีความสาคัญในการช่วยตัดสินใจโครงการสาธารณะที่มีผลต่อประชาชน
 สามารถใช้ จาแนกผลที่เป็ นระดับโครงการ (project) หรื อระดับแผนงาน (program)
◦ การสร้ างฝายเก็บน ้า ช่วยเก็บกักน ้าให้ ชาวบ้ านในพื ้นที่ แต่อาจไม่สนับสนุนการ
ป้องกันน ้าท่วมพื ้นที่ระดับจังหวัดที่ไม่เห็นความสาคัญของดครงการสร้ างฝาย
◦ ผู้รับผลกระทบจากเขื่อนป้องกันน ้าท่วมอาจเป็ นส่วนน้ อยที่ไม่มีโอกาสสะท้ อน
ปั ญหาของตนเองต่อส่วนร่วม และการตัดสินใจ


ตัวอย่างโครงการมูลค่า 100 ล้ านบาทที่มีผลประโยชน์เกิดขึ ้นทังหมด
้
50 ล้ านบาท โดย
ผู้รับประโยชน์ร่วมรับภาระเพียงร้ อยละ 5 ของต้ นทุนทังหมด
้
แต่สงั คมรวมรับภาระที่
เหลือทังหมด
้
คำถำม โครงการนี ้สมควรดาเนินการหรื อไม่? ผู้รับประโยชน์ควร
ดาเนินการอย่างไร เพื่อให้ เกิดการลงทุนจริง
5
project evaluation
บทบาทของการประเมินโครงการ
(Role of Project Evaluation)

จากตัวอย่าง หากต้ นทุนของผู้รับประโยชน์เพิ่มเป็ นร้ อยละ 25 สังคมรวมรับภาระที่
เหลือทังหมด
้
คำถำม โครงการนี ้ยังสมควรลงทุนดาเนินการหรื อไม่? เพราะเหตุผลใด
project evaluation
6
บทบาทของการประเมินโครงการ
(Role of Project Evaluation)

หากเป็ นโครงการที่กาหนดโดยฝ่ ายการเมือง ที่มกั เห็น
ความสาคัญของโครงการตนเองเป็ นหลัก
◦ One tablet per student
◦ One scholarship per district etc.

คำถำม การประเมินผลช่วยการตัดสินใจภายใต้ เงื่อนไขนี ้ได้
อย่างไร
project evaluation
7
ประเภทโครงการสาธารณะ
ประเภทโครงกำร
Private
Public
Private
มีผลตอบแทนการเงิน
(กาไรสูงสุด)
การรับสัมปทาน หรื อ
ร่วมลงทุนเอกชนกับรัฐ
เช่นการทาโครงการ PPP
Public
มีผลตอบแทนการเงิน สินค้ าสาธารณะที่ไม่มี
และสังคม (สามารถหา กาไรและผลตอบแทน
กาไรได้ ) เช่น การขนส่ง
การเงิน
สินค้ า ร้ านค้ าถูกใจ เป็ น
ต้ น project evaluation
8
วัตถุประสงค์การประเมิน
เพื่อเป็ นการเรี ยนรู้ และพัฒนาโครงการ
 สร้ างความรับผิดรับชอบของผู้ดาเนินโครงการ
 เพื่อให้ ได้ รับข้ อมูลตอบกลับจากผู้มีสว่ นได้ เสีย

◦
◦
◦
◦
◦
◦
เจ้ าของโครงการ
ผู้เป็ นเจ้ าของทุน
ผู้รับผลประโยชน์
ผู้รับผลกระทบด้ านลบ
ผู้บริหารโครงการ
ผู้เกี่ยวข้ องอื่นๆ
project evaluation
9
รูปแบบการประเมิ นโครงการ
Objective Based Model มุง่ ให้ ความสนใจเปรี ยบเทียบผลที่ได้ รับกับ
วัตถุประสงค์ นักวิชาการในกลุม่ นี ้ ได้ แก่ Tyler และ Cronbach
Judgmental Evaluation Model มุง่ ให้ ความสนใจกับการตัดสิน
คุณค่าของสิง่ ที่ถกู ประเมิน นักวิชาการในกลุม่ นี ้ ได้ แก่ Stake และ Provus
Decision-oriented Evaluation Model นี ้มุง่ ผลิตข้ อมูลสารสนเทศเพื่อ
การตัดสินใจ นักวิชาการในกลุม่ นี ้ ได้ แก่ Stufflebeam และ Alkin
1. Tyler, Ralph W. Basic Principles of Curriculum and Instruction, The University of Chicago, 1959
2. Stufflebeam, D.L. and others, Educational Evaluation and Decision making, Illinois: F.E. Peacock, Publishers, 1971
3. Worthen, B. and Sanders, J.R. Educational Evaluation: Theory and Practice, Belmont. California: Wadworth Publishing, 1973
project evaluation
10
การประเมินผลรูปแบบ Tyler
เป็ นรูปแบบการประเมินผลที่พฒ
ั นาขึ ้นเพื่อใช้ ในการประเมินผลด้ าน
การศึกษาเป็ นสาคัญ
 มักถูกกล่าวขานว่าเป็ นการประเมินผลตามรู ปแบบของวัตถุประสงค์
(objective model) เนื่องจากมีการกาหนดกรอบวัตถุประสงค์หรื อ
เป้าหมาย (goals) ที่จะทาการประเมินผล ที่อาจไม่ให้ ความสาสาคัญกับ
กระบวนการ (process)
 มีการเน้ นเป้าหมายการประเมินตามวัตถุประสงค์ และผลลัพธ์
(outcomes) ที่ได้ รับจากการดาเนินการกิจกรรม

project evaluation
11
ข้ อจากัดของ Tyler Model
มักมีการตีความหมายของวัตถุประสงค์ที่จากัด โดยอาจยอมรับการ
ตีความที่เป็ นเชิงพรรณนา
 มีข้อจากัดในการทาการประเมินที่มีความยุง่ ยาก และใช้ เวลามากในการ
กาหนดพฤติกรรมการประเมินผล
 ไม่อาจใช้ เป็ นรู ปแบบการประเมินที่สะท้ อนความสามารถระดับบุคคล

project evaluation
12
รูปแบบการประเมินของสตัฟเฟิ ลบีม (Stufflebeam)
สตัฟเฟิ ลบีมได้ พฒ
ั นารูปแบบการประเมินนี ้ขึ ้นในปี ค.ศ. 1971
โดยมีแนวคิดในการสร้ างสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจ แบ่งการ
ประเมินออกเป็ น 4 ประเด็นตามประเภทของการตัดสินใจและการ
นาไปใช้ ประโยชน์ ดังนี ้
การประเมินบริ บทหรื อสภาวะแวดล้ อม(Context Evaluation)
การประเมินปั จจัยเบื ้องต้ น(Input Evaluation)
การประเมินกระบวนการ (Process Evaluation)
การประเมินผลผลิต (Product Evaluation)
project evaluation
13
รูปแบบการประเมินของสตัฟเฟิ ลบีม (Stufflebeam)
การประเมินบริ บทหรื อสภาวะแวดล้ อม (Context Evaluation)
เป็ นการประเมินก่อนที่จะลงมือดาเนินการใน
โครงการใด ๆ เพื่อนาข้ อมูลไปกาหนดหลักการและ
เหตุผล รวมทังพิ
้ จารณาความจาเป็ นที่จะต้ องจัดทา
โครงการดังกล่าว การชี ้ประเด็นปั ญหา ตลอดจน
พิจารณาความเหมาะสมของโครงการ
project evaluation
14
รูปแบบการประเมินของสตัฟเฟิ ลบีม (Stufflebeam)
การประเมินปั จจัยเบื ้องต้ น(Input Evaluation)
เป็ นการพิจารณาความเหมาะสม
ความพอเพียงของทรัพยากรในการดาเนินโครงการ
ตลอดจนเทคโนโลยีและแผนของการดาเนินงาน
project evaluation
15
รูปแบบการประเมินของสตัฟเฟิ ลบีม (Stufflebeam)
การประเมินกระบวนการ (Process Evaluation)
เป็ นการประเมินเพื่อหาข้ อบกพร่องของการ
ดาเนินโครงการ หาข้ อมูลประกอบการตัดสินใจที่จะสัง่
การเพื่อพัฒนางานต่าง ๆ และบันทึกภาวะของ
เหตุการณ์ตา่ ง ๆ รายงานความก้ าวหน้ าของโครงการ
project evaluation
16
รูปแบบการประเมินของสตัฟเฟิ ลบีม (Stufflebeam)
การประเมินผลผลิต (Product Evaluation)
เป็ นการประเมินเพื่อเปรี ยบเทียบผลที่เกิดขึ ้นจากการ
ทาโครงการกับเป้าหมายหรื อวัตถุประสงค์ของโครงการที่
กาหนดไว้ แต่ต้น เพื่อนาข้ อมูลไปใช้ ตดั สินการบรรลุ
ความสาเร็จของโครงการ
project evaluation
17
การประเมิ นรูปแบบซิ ปนัน้ เป็ นการประเมิ นเพือ่ ให้ได้ข้อมูล
ในด้านต่าง ๆ สาหรับประกอบการตัดสิ นใจ คือการประเมิ นด้าน
สภาวะแวดล้อมเพือ่ ให้ได้ข้อมูลประกอบการตัดสิ นใจในการวางแผน
ประเมิ นปั จจัยเบือ้ งต้นเพือ่ ให้ได้ข้อมูลประกอบการตัดสิ นใจในการ
กาหนดโครงสร้างโครงการ ประเมิ นกระบวนการเพือ่ ให้ได้ข้อมูล
ประกอบการตัดสิ นใจในการนาโครงการไปปฏิ บตั ิ และประเมิ น
ผลลัพธ์ เพือ่ ให้ได้ข้อมูลประกอบการตัดสิ นใจว่าควรดาเนิ นการ
โครงการต่อไปหรื อ ล้มเลิ ก ซึ่งความสัมพันธ์ ระหว่างการประเมิ นกับ
การตัดสิ นใจดังกล่าว
project evaluation
18
ภาพที่ 1 แสดงแผนภูมิประเภทการประเมินและการตัดสินใจในแบบจาลองซิป
ประเภทของกำรประเมิน
ประเภทของกำรตัดสินใจ
ประเมินสภำวะแวดล้ อม
เพื่อกำรวำงแผน
ประเมินปั จจัยเบือ้ งต้ น
เพื่อกำหนดโครงสร้ ำง
ประเมินกระบวนกำร
เพื่อนำโครงกำรไปปฏิบัติ
ประเมินผลผลิต
เพื่อทบทวนโครงกำร
project evaluation
19
การวิเคราะห์ระบบ ( System Approach)
แนวคิดการวิเคราะห์ระบบ เป็ นการนาเอา
ระเบียบวิธีการทางวิทยาศาสตร์ เข้ ามาประยุกต์ใช้
โดยทาการประเมินใน 3 ส่วน ได้ แก่ปัจจัยนาเข้ า
กระบวนการและผลผลิต
project evaluation
20
การวิเคราะห์ระบบ ( System Approach)
ปั จจัยนาเข้ า
กระบวนการ
project evaluation
ผลผลิต
21
กำรประเมินผลตำมยุทธศำสตร์
(STRATEGIC EVALUATION)
project evaluation
22
ยุทธศาสตร์
กลยุทธ์
แผนงาน
project
กิจกรรม
กิจกรรม
project
project
กิจกรรม
กิจกรรม
กิจกรรม
กิจกรรม
กิจกรรม
การประเมินไม่ ว่าระดับใด จาเป็ นต้ องเข้ าใจวัตถุประสงค์ หรือเป้าหมาย
ของการประเมินว่ าคืออะไร
23
กิจกรรม
กิจกรรม
ตัวอย่ ำงลำดับชัน้ กำรประเมินโครงกำร
แผนงำนกำรแก้ ไขควำมยำกจน
แจกเบี ้ย
กาหนดเกณฑ์
หาผู้มีสทิ ธิ
พักชาระหนี ้
แจกเงิน
กาหนดเกณฑ์
ตกลงกับ
ธนาคาร
ประกันราคาผลผลิต
ขึ ้นทะเบียน
ขึ ้นทะเบียน
24
หาที่จดั เก็บ
รับจานา
ตัวอย่ ำงลำดับชัน้ กำรประเมินโครงกำร
กำรแก้ ไขควำมยำกจน
ผลลัพธ์
แจกเบี ้ย
พักชาระหนี ้
ประกันราคาผลผลิต
ผลผลิต
กาหนดเกณฑ์
หาผู้มีสิทธิ
แจกเงิน
กาหนดเกณฑ์
ตกลงกับ
ธนาคาร
ขึ ้นทะเบียน
ขึ ้นทะเบียน
หาที่จดั เก็บ
รับจานา
25
รูปแบบการประเมินผลตามประเด็นยุทธศาสตร์
project evaluation
26
Balanced Scorecard (BSC)
Robert S. Kaplan David Norton
เป็ นเครื่ องมือวัดผลที่เชื่อมโยงกับกลยุทธ์องค์กร ประกอบด้ วย
 ด้ านการเงิน(Financial) ผลการดาเนินงานทางการเงินเป็ นอย่างไรใน
สายตาของผู้ถือหุ้น
 ด้ านกระบวนการบริ หารภายใน (Internal Business Process) องค์กร
มีกระบวนการที่เป็ นเลิศอะไรบ้ าง
 ด้ านลูกค้ า (Customer Perspective) ควรตอบสนองลูกค้ าอย่างไร
 ด้ านการเรี ยนรู้ และเติบโต (Learning and Growth)มีความสามารถที่
จะเปลี่ยนและพัฒนาเพื่อความยัง่ ยืน
project evaluation
27
project evaluation
28
ความเชื่อมโยงของการวัดผลการดาเนินงาน
ด้ ำนกำรเงิน
ความสามารถในการทากาไร
ด้ ำนลูกค้ ำ
ความพึงพอใจของผู้บริโภค
ด้ ำนกระบวนกำรบริหำรภำยใน คุณภาพสินค้ าและบริการ
ต้ นทุนการผลิต
ระบบการจัดการ คุณภาพวัตถุดิบ
ประสิทธิภาพการผลิต
ด้ ำนกำรเรี ยนรู้ และเติบโต
การวิจยั และพัฒนา
project evaluation
29
Finance
Obj KPI Target Initiative
Customer
Obj KPI Target Initiative
Business Process
Vision
Strategy
Obj KPI Target Initiative
Innovation
Obj KPI Target Initiative
project evaluation
30
ตัวอย่างการใช้ BSC ในบริ ษทั Pioneer Petroleum ประเทศสหรัฐอเมริ กา
ด้ านการเงิน
คุณภาพในการเพิ่มรายได้
• ผลตอบแทนการลงทุน
• กาไรสุทธิเทียบกับแผน
ด้ านการบริ การลูกค้ า
• สัดส่วนการตลาด
• กาไรของ dealer เพิ่มขึ้น
ด้ านการจัดการ
ความพึงพอใจของลูกค้า
• การให้บริ การ
• ภาพลักษณ์ (Image)
• การเพิ่มการบริ การใหม่
ความพึงพอใจของ dealer
ผูจ้ ดั
จาหน่าย
• กาไรให้ dealer เพิ่มขึ้น
• เพิ่มคุณภาพการทางานขอ dealer
• ขยายสาขาผูจ้ ดั จาหน่าย
พัฒนาผลิตภัณฑ์และการบริการ
• การสร้ างการบริการผลิตภัณฑ์ใหม่ ๆ
• การปรับปรุงคุณภาพน ้ามัน
• การสร้างระบบตรวจสอบคุรภาพน้ ามัน
• การลงทุนในผลิตภัณฑ์ใหม่
• ผลตอบแทนของผลิตภัณฑ์ใหม่
• กาไรต่อผลิตภัณฑ์
• การสร้างดัชนีคุณภาพของ dealer
• การสร้างคุณภาพของการปรับปรุ งผลิตภัณฑ์
พัฒนา dealer
• จัดโปรแกรมการ
พัฒนา dealer ผูจ้ ดั
จาหน่าย ผลิตภัณฑ์
ด้ านการเรี ยนรู้และพัฒนาบุคลากร
• การฝึ กอบรม
• การสร้างสิ่ งแวดล้อมการทางาน
• การลงทุนปรับปรุ งระบบ IT
ดัดแปลงจาก ภัทรพร วรทรัพย์ : กรมบัญชี กลาง
ความสามารถของพนักงาน
project evaluation
การจัดระบบ IT
31
รูปแบบการประเมินโครงการที่กล่าวมาในแต่
ละรูปแบบมีจดุ เด่น จุดด้ อย และประโยชน์แตกต่าง
กันไป ซึง่ ต้ องนามาประยุกต์ใช้ ให้ เหมาะสม เพื่อใช้ ใน
การประเมินให้ ได้ ผลดีที่สดุ
project evaluation
32
สรุปการประเมินผลโครงการ
หมายถึงการรวบรวมข้ อมูลทีเ่ กี่ยวข้ องกับการ
ดาเนินงานของโครงการต่ าง ๆ ทั้งในระหว่ างทีโ่ ครงการ
กาลังดาเนินอยู่หรือเมื่อโครงการได้ ดาเนินการเสร็จสิ้นแล้ ว
โดยอาจมีการนาเอาระเบียบวิธีวจิ ัยทางวิทยาศาสตร์ หรือ
สังคมศาสตร์ มาประยุกต์ ใช้ ประโยชน์ ในการประมาณการ
หรือประเมินค่ าหรือคุณค่ าของโครงการ หรือความเป็ นไปได้
ของโครงการ เพื่อการตัดสินใจอย่ างใดอย่ างหนึ่งทีเ่ กี่ยวข้ อง
กับการดาเนินงานของโครงการ
project evaluation
33
การบริ หารโครงการ (Project Management)
CPM (Critical Path Method) และ PERT (Program
Evaluation Review Technique) เป็ นเทคนิควิธกี ารบริหาร
โครงการทีถ่ ูกสร้างขึน้ เพือ่ ใช้ในการวางแผน กาหนดการ
ทางาน และการกากับดูแลโครงการ
project evaluation
34
CPM/PERT
CPM/PERT สามารถใช้ ตอบโจทย์การบริหารโครงการต่อไปนี ้

ระยะเวลาที่ใช้ ในการดาเนินโครงการ ความเสี่ยงต่างๆ ที่เกี่ยวข้ องกับการดาเนิน
โครงการ

การวิเคราะห์วา่ อะไรคือกิจกรรมที่อาจส่งผลต่อการดาเนินการโครงการทีอ่ าจส่งผลให้
เกิดความล่าช้ าโครงการ

การวิเคราะห์ความสามารถในการส่งผลงานให้ ทนั กาหนดเวลา

การควบคุมการนาส่งผลงานตามเป้าหมายจะดาเนินการได้ อย่างไร ด้ วยต้ นทุนที่ต่า
ที่สดุ
project evaluation
35
PERT
CPM

The origin is military

The origin is industrial

It is an event oriented approach.

It is an activity-oriented system

There is allowance for uncertainly

No such allowances.

It has three time estimates

There is only one single estimate
of time and the emphasis is on
cost.

It is probabilistic model with
uncertainty in activity duration

It is a deterministic model with
well-known activity time based upon
past experience

It does not demarcate between
critical and non-critical activities.

It marks critical activities.
ควำมแตกต่ ำงระหว่ ำง PERT และ CPM
project evaluation
36
PERT


It is especially suitable when high
precision is required in time
estimates
CPM

It is suitable when reasonable
precision is required.

No averaging of time is
required

The concept of crashing is
applied

It lays emphasis on the greatest
reduction in the completion
time with the least increase in
project cost. It is cost-based.
Time is averaged

The concept of crashing is not
applied

It lays emphasis on reduction of
the execution time of the project
without too much cost implications
.It is time based.
project evaluation
37
รูปแบบการประเมินผล Types of Evaluation

มีหลายรูปแบบขึ ้นกับการนาไปใช้ การจาแนกรูปแบการประเมินผล:
◦
◦
◦
◦
◦

วัตถุประสงค์การประเมินผล
วิธีการประเมินผล (methodology)
ระยะเวลาที่ใช้ ในการประเมินผล
ผู้เกี่ยวข้ องกับการประเมินผล
ฐานะของผู้ทาหน้ าที่ประเมินผล
การประเมินตามวัตถุประสงค์ แยกออกได้ เป็ น
◦ ประเมินผลระหว่างดาเนินการ (formative evaluation)
◦ ประเมินผลรวมสรุป (summative evaluation)
◦ ประเมินผลกระทบจากโครงการ (impact evaluation)
project evaluation
38
รูปแบบการประเมินผล Types of Evaluation

ตามระยะเวลาการประเมินผล
◦ Ex-ante evaluation
◦ Ex-Post evaluation

ตามฐานะของผู้ทาหน้ าที่ประเมินผล
◦ External evaluation
◦ Internal evaluation or self-assessment
project evaluation
39
รูปแบบการประเมินผล Types of Evaluation

Ex–ante evaluation

Ex-post evaluation
◦ ดาเนินการก่อนการเริ่มต้ นโครงการ ซึง่ ยังคิดเป็ นส่วนหนึง่ ของการวางแผน
โครงการ
◦ นับเป็ นการประเมินผลหรื อการพิจารณาคุณภาพของการเริ่มต้ นโครงการ
◦ ดาเนินการหลังเสร็จสิ ้นโครงการ
◦ สามารถใช้ ประเมินความยัง่ ยืนโครงการ ผลผลิต ผลลัพธ์ และผลกระทบจาก
โครงการ
◦ สามารถระบุปัจจัยความสาเร็จ (factors of success) ที่นาไปใช้ อ้างอิง
กับโครงการอื่นๆ ได้
project evaluation
40
รูปแบบการประเมินผล Types of Evaluation

การประเมินผลจากภายนอก External evaluation
◦ ดาเนินการโดยบุคคลภายนอกที่กาหนดตามกฎหมายหรื อสัญญา ซึง่ ไม่ใช่การ
ตรวจสอบเพื่อจับผิด แต่มงุ่ เพื่อการปรับปรุงเพิ่มคุณภาพการดาเนินโครงการ
◦ ผู้ทาหน้ าที่ประเมินต้ องไม่มีสว่ นเกี่ยวข้ องกับการดาเนินโครงการ
◦ อาจต้ องได้ รับความร่วมมือจากเจ้ าหน้ าที่ของโครงการ
project evaluation
41
รูปแบบการประเมินผล Types of Evaluation

การประเมินด้ วยตนเองหรื อจากภายในInternal or self
assessment
◦ สะท้ อนการตรวจสอบกระบวนการดาเนินโครงการ
◦ มุง่ เพื่อเรี ยนรู้และปรับปรุงกระบวนการดาเนินโครงการ
◦ อาจจาเป็ นต้ องจาแนกหน้ าที่และการได้ มาของข้ อมูลก่อนการประเมิน เพื่อไม่ให้
เกิดความขัดแย้ ง
project evaluation
42
รูปแบบการประเมินผล Types of Evaluation

ตามเทคนิคที่ใช้ ในการประเมิน
◦ Quantitative
◦ Qualitative
project evaluation
43
การประเมินโครงการของครบวงจร
(Integrated Analysis)
เป้าหมายเพื่อป้องกันการนาโครงการ “ไม่ด”ี ไปปฎิบตั ิ หรื อไม่ให้
เกิดการปฎิบตั ิของโครงการ “ที่ดี”
 ความหมายของโครงการ (project)

◦ เป็ นโครงการลงทุน ทังที
้ ่เป็ นการ capital investment หรื อ
social investment
◦ ต้ องมีเป้าหมายหรื อวัตถุประสงค์ของการลงทุนที่ชดั เจน
project evaluation
44
ลักษณะโครงการที่ต้องศึกษาการลงทุน
Demand Module การศึกษากลุม่ ผู้มีความต้ องการ
ประโยชน์จากโครงการ
 Technical Module ความเป็ นไปได้ ทางเทคนิคของ
โครงการ แผนลงทุน การบริหารจัดการ ขนาด ที่ตงโครงการ
ั้
ต้ อง
มีข้อมูลแยกระหว่างทางเทคนิคการลงทุน ต้ นทุนการเงิน
ระยะเวลาที่ใช้ ในการก่อสร้ าง
 Project Financing การวิเคราะห์การเงินของโครงการ
ที่มาของเงิน ขนาดของทุนที่ใช้ ฯลฯ

project evaluation
45
แนวทางการพิจารณาประเมินโครงการ

การพิจารณากิจกรรมต่อยอด (Incremental Activity)
◦ Net receipts, net cash flows, and net
economic benefits with the project
◦ With/without project
◦ การประเมินกรณี without???

การพิจารณาต่อยอด (Incremental)
◦ กระแสเงินสดรับจากโครงการ = ผลประโยชน์สทุ ธิ – ต้ นทุนโครงการ
ประโยชน์ที่เกิดขึ ้นหากไม่มีโครงการ
project evaluation
46
แนวทางการประเมินแบบครบวงจร (Integrated Approach)
เป็ นการพิจารณาผลประโยชน์และต้ นทุน ทังที
้ ่เป็ น
 ด้ านการเงิน (financial Appraisal)
 ด้ านเศรษฐศาสตร์ (Economic Appraisal)
 ความเสี่ยงของโครงการ (Risk Appraisal)
 ผู้เกี่ยวข้ องกับโครงการ (Stakeholder Analysis)

project evaluation
47
การประเมินทางการเงิน

ข้ อมูลที่ต้องการ
◦ กระแสมูลค่าผลประโยชน์ Benefits
◦ กระแสมูลค่าต้ นทุน Costs

การกาหนด financial cash flow statement
◦ ระยะเวลาที่ได้ รับผลประโยชน์ ต้ นทุน
 ผลต่อสภาพคล่อง Illiquidity
 บัญชีรับ/จ่าย ล่วงหน้ า Account receivable/payable
◦ เกณฑ์การประเมินตัดสินใจโครงการจะขึ ้นกับผู้ทาหน้ าที่ประเมิน
 เจ้ าของเงินกู้
 รัฐบาล
 เจ้ าของโครงการ

เกณฑ์การตัดสินใจ ทัว่ ไปใช้
◦ NPV
◦ IRR
project evaluation
48
การประเมินความเสี่ยงและการจัดการ

มีปัจจัยเกี่ยวข้ องกับความสาเร็จโครงการหลายปั จจัย
◦ อัตราเงินเฟ้อ
◦ อัตราแลกเปลี่ยน
◦ ราคาและปริมาณของ inputs/outputs

การพิจารณาความเสี่ยง
◦ เริ่มต้ นจากการหาปั จจัยเสี่ยงที่อาจเกิดขึ ้น
◦ หาโอกาสความน่าจะเป็ นที่อาจเกิดความเสี่ยง
◦ ประเมินระดับของผลที่เกิดจากความเสี่ยง
project evaluation
49
การประเมินทางเศรษฐศาสตร์

มุง่ ความสนใจที่สวัสดิการเศรษฐศาสตร์ มากกว่าผลตอบแทนทางการเงิน
◦ การก่อสร้ างโครงสร้ างพื ้นฐานต่างๆ
◦ การแจกเบี ้ยผู้สงู อายุ ฯลฯ

สิง่ ที่ต้องดาเนินการ
◦ เหตุผลและกาหนดข้ อสมมุติฐานต่างๆ ของโครงการ
◦ ปั ญหาการประเมินโครงการลักษณะนี ้มักประสบปั ญหาการบิดเบือนของตลาดเช่น
การเก็บภาษีของรัฐบาล การอุดหนุนของรัฐ
การพัฒนาหา Economic Resource Statement เหมือนการ
หา cash flow statement คือการหากระแสผลประโยชน์และต้ นทุน
ที่ได้ รับ ในอนาคต
 เกณฑ์การประเมินผล

◦ การเลือกใช้ discount rate
project evaluation
50
การประเมินผู้เกี่ยวข้ อง
เป็ นการระบุผ้ มู ีสว่ นได้ เสียจากการดาเนินโครงการ
 การวิเคราะห์หาขนาด ผลประโญชน์ ต้ นทุน ที่มีผลต่อผู้มีสว่ นได้
เสีย

project evaluation
51
การประเมิน cost effectiveness

บางโครงการที่ต้องดาเนินการลงทุน และอาจไม่สามารถหา
ผลประโยชน์ที่เป็ นเชิงปริมาณหรื อตัวเงินที่ชดั เจนได้ ตัวอย่างเช่น
การศึกษา การสาธารณสุข การให้ บริการประปา ฯลฯ ทาให้ การ
วิเคราะห์เปรี ยบเทียบ ผลประโยชน์ ต้ นทุน ไม่อาจทาได้ ทางออก
คือการวิเคราะห์การดาเนินโครงการที่ให้ ผลตามเป้าหมายที่มี
ต้ นทุนเหมาะสมที่สดุ (cost effectiveness) โดยอาจเป็ น
การเปรี ยบเทียบต้ นทุนที่ต่าสุดในการดาเนินการ ตามข้ อกาหนด
ขนาดของผลประโยชน์
project evaluation
52
กำรประเมินต้ นทุน ผลประโยชน์
(COST BENEFIT ANALYSIS)
project evaluation
53
Cost-Benefit Analysis (CBA)
หมำยถึงกำรประเมินเพื่อหำคุณค่ ำ (ผลตอบแทน) จำกกำร
ลงทุน สำหรับกรณีโครงกำรด้ ำนสังคมหรือของรัฐบำลจะ
เป็ นกำรประเมินเพื่อหำผลตอบแทนแท้ จริงในกำรกรณีท่ ี
ไม่ มีควำมล้ มเหลวของตลำด
CBA
CBA ควรใช้ เพื่อกำรตัดสินใจเชิงนโยบำยและโครงกำรที่มีผลเกิดขึน้ ข้ ำม
ช่ วงเวลำ โดยกำรคำนวณหำ Net Present Value (NPV),
หรื อ a Benefit-Cost Ratio (BCR).
4 ข้ อมูลที่ต้องกำร:
1. time horizon
2. benefit schedule
3. cost schedule
4. discount rate
Present Value Concept
Discounting: = process to obtain the present value of future
Euro amounts:
 1
PV  FV * 
 1  r t


 where


PV = present value, FV = future value, r = discount rate, and t
is the number of periods into the future.
0
present
value
t
time
Euro
idea of
discounting
future
value
Present Value Concept
Nominal versus Real: = nominal refers to the Euro
value in current terms (not discounted), whereas
real refers to the dollar value discounted to some
base Euro value (discounted values).
Discount Rate: indicates how you value present
consumption (utility) versus future consumption
(utility)
- the higher the discount rate the more you value
present consumption relative to future
consumption
- the lower the discount rate the more you value
future consumption relative to present
consumption.
Cost-Benefit Analysis (CBA)
In any CBA, several stages must be conducted (Hanley and
Spash, 1993):
1) Definition of the Project
2) Identification of the Project Impacts
3) Which Impacts are Economically Relevant?
4) Physical Quantification of Relevant Impacts
5) Monetary Valuation of Relevant Effects
6) Discounting of Cost and Benefit Flows
7) Applying the Net Present Value Test
8) Sensitivity Analysis
Cost-Benefit Analysis (CBA)
กำรประเมินของเอกชน
T
NRt
1) The net present value test
NPV  
t
0 1  r 
2) The internal rate of return test
T
NRt
กำรประเมินของสังคม
0
t
1

x
0


1) Utility based appraisal
ปั ญหำ
: - ไม่ สมกำรสวัสดิกำรสังคมที่เป็ นที่ยอมรั บทั่วไป
- กำรเปรี ยบเทียบประโยชน์ ข้ำมกลุ่มคนเป็ นที่ยอมรั บได้
- ไม่ อำจหำควำมพอใจของบุคคลได้
2) Consumption based appraisal
T
NPV  
0
NBt
1  r 
t
NPV>0
IRR=
0
Cost-Benefit Analysis (CBA)
NPV test is a potential compensation test => is
concerned with allocative efficiency (select projects
that move the economy toward an efficient
allocation of its resources).
 The proper time horizon for the appraisal of a
project is the date at which its impacts cease, not
the date at which it ceases to serve the purpose for
which it was intended.
e.g., for a nuclear fission plant the time horizon is
not the 40 years to the time when it ceases to
generate electricity but the time over which it is
necessary to devote resources to storing the plant's
waste products - 100s of years.

การเลือก discount rate
ระยะเวลำ
discount rate
25
50
100
200
2
60.95
37.15
13.80
1.91
4
37.51
14.07
1.98
0.04
6
23.30
5.43
0.29
0.0009
8
14.60
2.13
0.05
0.00002
=> ต้ องกำรกำรตัดสินใจ
แต่ ท่ ยี อมรับทั่วไปคือกำรใช้ real rates ไม่ ใช่ nominal rates ในกำรคำนวณ CBA
ทางเลือกวิธีการประเมินอื่นๆ นอกจากCBA
Cost Effectiveness Analysis
- กำรวัดผลที่เกิดที่มีต้นทุนต่ำที่สุด
- นิยมใช้ กรณีท่ ีเป็ นสิ่งที่จับต้ องไม่ ได้ เพรำะหำกจับต้ องได้ ใช้ CBA.
Impact Analysis
- อำจใช้ แทนหรื อควบคู่กับ CBA เพรำะ
* อำจมีผลกระทบที่ไม่ อำจจับต้ องได้ จำนวนมำก ที่ต้องกำรประเมินผล
Multi Criteria Analysis
Download