การดูแลผู้ป่วยที่ได้ รับบาดเจ็บเบือ้ งต้ นตาม ATLS - Preparation pre hospital and hospital care -Triage -Primary surgery -Resuscitation -Secondary surgery การให้ ยาระงับความร้ ู สกึ ในผ้ ูป่วย อุบัตเิ หตุ ส่ วนใหญ่ มักมีการบาดเจ็บหลาย อวัยวะร่ วมกัน การดมยาสลบ monitor และ resuscitate อาจต้ องทาไปเกือบ พร้ อมๆกัน จึงควรมีความพร้ อมของห้ อง ผ่ าตัด อุปกรณ์ การดมยาสลบพร้ อมใช้ Pre- operative evaluation • Overview A. Perform visual scan of patient for obvious injuries B. Obtain history from pre hospital personel and patient ( if able ) •Primary surgery ascertain “ ABCDEs “ A. Airway maintenance (with cervical spine control) 1.Look for chest wall movements ,retraction, and nasal flaring 2.Listening for breath sounds,stridor,and obstructed ventilation 3.Feel for air movement B. Breathing (give supplemental oxygen) 1.Determine whether ventilation is adequate 2.Inspec chest to exclude open pneumothorax ,sucking chest wound, or fail segment 3.Auscultate for bilateral breath sounds 4.Provide assisted ventilation for ventilatory failure C.Circulation (establish venous access) 1.Check peripheral pulses,capillary refill,and blood pressure 2.Obtain electrocardiogram 3.grade shock according to vital signs 4.Correct hypovolumia and hypovolumia and obtain blood samples D.Disability 1.Evaluate central function A: Alert v: responds to vocal stimulus P:responds to painful stimulus U:Unresponsive 2.Evaluate pupil response to light E . Expose patient for complete examination •Resuscitation phase •Secondary survey •Definitive care phase Premedication -สอบถามว่าได้ ยาอะไรมาบ้ าง -อาจให้ 0.3 Molar sodium citrate 30 ml ก่อนระงับความรู้สกึ เพื่อลดกรดใน กระเพาะ -Wormer blanket ,สารน ้า ,เลือด อุปกรณ์ช่วยชีวิตอื่นๆ -รถยาฉุกเฉิน Airway management Indication for Endotracheal intubation -Head injury with Glasgow coma score <9 -Airway obstruction -Combative requiring sedation -General anesthesia -Chest trauma with hypoventilation -Post resuscitation hypoxia -Cardiac arrest เทคนิคการใส่ ท่อช่ วยหายใจ 1.Rapid sequence induction with cricoid pressure 2.Awake intubation Monitoring -standard monitoring -Invasive monitoring อื่นๆ Cutdown, CVP,IBP เช่ น Intra – operative 1. ช่ วงนาสลบ ( induction ) • ประเมินภาวะพร่องน ้า/เลือด เพื่อใช้ ยาอย่าง เหมาะสม 2.ช่ วงคงการสลบ ( maintenance ) • ระมัดระวังการใช้ Nitrous oxide • ให้ สารน ้าอย่างเพียงพอ ( Fluid therapy) 3.ช่ วงการฟื ้ นจากการสลบ ( emergence ) Intra- operative complication 1. 2. 3. 4. Persistent Hypotension Hypothermia Coagulopathy Metabolic acidosis จบการรายงานข่าววันนี ้ พบ กันใหม่ กับการรายงานเรื่ อง ต่อไป สวัสดีคะ่ จัดทาโดย คุณสุภาวดีแก้ วขา คุณจารุพรรณ พูลเพิ่ม ปัญหาการวิจัย สมมติฐานการวิจัย ตัวแปร/ประเด็นการวิจัย Week 6 : ระเบียบวิธีการวิจยั และการพัฒนาทางการท่องเที่ยว ปัญหาการวิจัย (Research Question) ปัญหาการวิจัยคืออะไร ปั ญหาการวิจยั ปั ญหานาการวิจยั คาถามการวิจยั คาถามนาการวิจยั • หมายถึง ประเด็นคาถามหลักที่มีการระบุอย่างเป็ นทางการ และใช้ เป็ น แนวทางหลักในการชี ้นาทิศทางและแนวทางในการดาเนินการวิจยั • a clear unambiguous question able to be answered through your research project (Albert et al, 2003) การสร้ างปัญหาการวิจัยที่ดตี ้ องคานึงถึงอะไรบ้ าง FINER criteria for a good question: Feasible: Adequate numbers of subject Adequate technical support Affordable in time and money Manageable in scope Interesting – to the investigator Novel: Confirms or refutes previous findings Extends previous findings Provides new findings Ethical Relevant: To a field of tourism study องค์ ประกอบทีส่ าคัญของคาถามการวิจัย คาถามการวิจยั มักประกอบไปด้ วยองค์ประกอบสาคัญ 3 ประการ 1. ประเด็นในการวิจย ั หรื อตัวแปร 2. กลุม ่ บุคคุลเป้าหมายในการวิจยั 3. บริ บทการวิจย ั องค์ประกอบทังสามนี ้ ้ สามารถสังเกตเห็นได้ จาก ข้ อความซึง่ นักวิจยั ได้ เรี ยบเรี ยงออกมาในรูปของประโยคเชิงคาถาม โดยประโยคเชิงคาถามดังกล่าว จะระบุให้ เห็นถึงประเด็นที่นกั วิจยั สนใจ ต้ องการศึกษา และสะท้ อนให้ เห็นแนวทางในการทาวิจยั องค์ ประกอบทีส่ าคัญของปัญหาการวิจัย (ตัวอย่ าง) แนวทางในการส่ งเสริมและพัฒนาการท่ องเที่ยวทางธรรมชาติบนเกาะช้ าง ให้ ตรงตามความต้ องการของนักท่ องเที่ยวชาวไทยและชาวต่ างชาติเป็ น อย่ างไร 1. 2. 3. 4. ประเด็นในการวิจยั หรื อตัวแปร คือแนวทางในการส่งเสริมและพัฒนาการ ท่องเที่ยวทางธรรมชาติบนเกาะช้ าง กลุม่ บุคคลเป้าหมายในการวิจยั คือนักท่องเที่ยวชาวไทยและชาวต่างชาติ บริบทการวิจยั คือ เฉพาะเรื่ องแนวทางในการส่งเสริมและพัฒนาการ ท่องเที่ยวทางธรรมชาติบนเกาะช้ างเท่านัน้ แนวทางในการทาวิจยั คือ การวิจยั เชิงคุณภาพ เพราะนักวิจยั มีโอกาส สัมผัสกับกลุม่ เป้าหมายโดยตรง และพูดคุยกันในรายละเอียดต่าง ๆ อย่าง เจาะลึก องค์ ประกอบทีส่ าคัญของปัญหาการวิจัย (ตัวอย่ าง) โปรแกรมท่องเที่ยวสาเร็จรูปใน 15 จังหวัดภาคเหนือ ที่สอดคล้ องกับความ ต้ องการของนักท่องเที่ยวชาวไทย จาแนกตามลักษณะของนักท่องเที่ยว แบบเดินทางด้ วยตัวเองและแบบกลุม่ โดยแบ่งย่อยตามรูปแบบการ ท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติ เชิงวัฒนธรรม และเชิงผสม มีอะไรบ้ าง 1. 2. 3. 4. ประเด็นในการวิจยั หรื อตัวแปร คือ.......... กลุม่ บุคคลเป้าหมายในการวิจยั คือ.......... บริบทการวิจยั คือ.......... แนวทางในการทาวิจยั คือ.......... ประเภทของปัญหาการวิจัย 1. 2. 3. การจัดประเภทปั ญหาการวิจยั ตามลักษณะข้ อมูลที่คาดหวัง การจัดประเภทปั ญหาการวิจยั ตามแนวทางในการนาเสนอข้ อมูล การจัดประเภทปั ญหาการวิจยั ตามแนวทางในการตัง้ คาถาม ประเภทของปัญหาการวิจัย 1. การจัดประเภทปั ญหาการวิจยั ตามลักษณะข้ อมูลที่คาดหวัง 1.1 โจทย์เกี่ยวกับความจริ ง (Questions of Fact) เป็ นโจทย์ที่มงุ่ เน้ นการบรรยายสรรพสิง่ ต่าง ๆ ตามสภาพความเป็ น จริงที่สามารถสังเกตได้ สะท้ อนปรัชญาความเชื่อที่วา่ สรรพสิง่ ต่าง ๆ มีความสัมพันธ์กนั ในเชิงเหตุ-ผล การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ ้นกับสิ่งหนึง่ จะนาไปสูก่ าร เปลี่ยนแปลงของสิง่ อื่น ๆ ตัวอย่ างของปัญหาการวิจัย เกีย่ วกับความจริง รูปแบบ เนื ้อหา และทิศทางของการทาการตลาดทางการท่องเที่ยวด้ วย เครื อข่ายสังคมออนไลน์ ควรเป็ นอย่างไร แผนการสื่อสารด้ านการประชาสัมพันธ์ในภาวะวิกฤตของ องค์กรจะแตกต่างกันตามประสบการณ์ด้านการเกิด วิกฤตการณ์หรื อไม่ อย่างไร ประเภทของคาถามการวิจัย 1. การจัดประเภทโจทย์การวิจยั ตามลักษณะข้ อมูลที่คาดหวัง 1.2 โจทย์เกี่ยวกับคุณค่ า (Questions of Values) มุง่ เน้ นการค้ นหาคาตอบผ่านทางอัตวิสยั (Subjective) ของ บุคคล โดยให้ บคุ คลนาเสนอมุมมองของตน หรื อประเมิน หรื อตัดสิน เกี่ยวกับความถูกต้ อง ความเหมาะสม ของปรากฏการณ์หนึง่ ๆ ตย : มัคคุเทศก์ไทยมีความคิดเห็นอย่างไรต่อศักยภาพของนักท่องเที่ยว ชาวอิหร่านอย่างไร ประเภทของปัญหาการวิจัย 2. การจัดประเภทโจทย์การวิจยั ตามแนวทางในการนาเสนอข้ อมูล 2.1 โจทย์ในเชิงบรรยาย มุ่งเน้ นการค้ นหาคาตอบ เพื่อบอกเล่า หรื อพรรณนาเกี่ยวกับตัวแปร ด้ านท่องเที่ยว เพื่อทาความเข้ าใจเกี่ยวกับตัวแปรดังกล่าวอย่างลึกซึ ้ง ตย: ปั ญหาและความต้ องการของนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติภายหลังเหตุการณ์ การจราจรทางการเมืองเป็ นอย่างไร ประเภทของปัญหาการวิจัย การจัดประเภทโจทย์การวิจยั ตามแนวทางในการนาเสนอข้ อมูล 2.2 โจทย์ในเชิงการทานาย มุง่ เน้ นการค้ นหาคาตอบ เพื่ออธิบายองค์ประกอบแวดล้ อมต่าง ๆ ที่มีอิทธิพลต่อตัวแปร ตลอดจนการค้ นหาความสัมพันธ์ระหว่างตัว แปร และองค์ประกอบอื่น ๆ ตย : สถานภาพทางเศรษฐกิจและสังคมที่แตกต่างกัน มีผลต่อพฤติกรรม การซื ้อสินค้ าและบริการทางการท่องเที่ยวหรื อไม่ 2. ประเภทของปัญหาการวิจัย 3. การจัดประเภทโจทย์การวิจยั ตามแนวทางในการตังค ้ าถาม 3.1 โจทย์การวิจย ั ในรูปของคาถามปลายเปิ ด (open-end question) เป็ นโจทย์ที่ผ้ วู ิจยั ตังขึ ้ ้นโดยไม่คาดเดาทิศทางของคาตอบไว้ ล่วงหน้ า โดยคาถามที่นิยมตังอาจปรากฏอยู ้ ใ่ นรูปของคาถาม 5 Ws + 1H และไม่มีการระบุคาตอบให้ เลือก แต่เปิ ดกว้ างสาหรับผู้ให้ ข้อมูลใน การตอบคาถาม ตัวอย่ างของปัญหาการวิจัย ในรู ปของคาถามปลายเปิ ด การประยุกต์ใช้ หลักคาสอน ของพระพุทธเจ้ าส่งผลอย่างไร ต่อการปฏิบตั ิหน้ าที่ของ มัคคุเทศก์ กระบวนการรับรู้คณ ุ ค่าของ แบรนด์เมืองในฐานะแหล่ง ท่องเที่ยว ส่งผลอย่างไรต่อ ภาพลักษณ์ของกรุงเทพ ประเภทของปัญหาการวิจัย การจัดประเภทโจทย์การวิจยั ตามแนวทางในการตังค ้ าถาม 3.2 โจทย์การวิจย ั ในรูปของคาถามปลายปิ ด (closed -end question) เป็ นโจทย์ที่ผ้ วู ิจยั ตังขึ ้ ้นโดยคาดเดาคาตอบไว้ ลว่ งหน้ า มักเป็ นคาตอบ ที่ต้องการเพียงแค่การยืนยันว่า “ใช่หรื อไม่” (yes-no) เป็ นประการสาคัญ ทังนี ้ ้ผู้วิจยั กล้ าคาดเดาคาตอบเพราะ ผู้วิจยั ได้ ดาเนินการศึกษาค้ นคว้ า อย่างละเอียด จนกล้ าทานายทิศทางของคาตอบ ตย : การมีสว่ นร่วมของคนในชุมชนมีผลต่อการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวหรื อไม่ 3. “Well-crafted questions guide the systematic planning of research. Formulating your questions precisely enables you to design a study with a good chance of answering them” (Light, Singer, & Willertt, 1990, p. 13) สมมติฐานการวิจัย Research Hypothesis • การตัง้ สมมติฐานการวิจัย เป็ น การค้ นคว้ าเอกสารต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้ อง เพื่อกาหนดเป็ นคาตอบที่คาดหวังของปั ญหาการวิจยั • สมมติฐานการวิจัย คือ ข้ อสันนิษฐานของผู้วิจยั เกี่ยวกับคาตอบ ที่จะ ได้ รับจากการดาเนินการวิจยั (คาตอบสาหรับคาถามการวิจยั ) องค์ ประกอบของสมมติฐานการวิจัย สมมติฐานการวิจยั มักประกอบไปด้ วยองค์ประกอบสาคัญ 3 ประการ 1. ตัวแปร 2. กลุม ่ บุคคุลเป้าหมายในการวิจยั 3. บริ บทการวิจย ั องค์ประกอบทังสามนี ้ ้ สามารถสังเกตเห็นได้ จาก ข้ อความซึง่ นักวิจยั ได้ เรี ยบเรี ยงออกมาในรูปของประโยคเชิงบอกเล่ า ที่สะท้ อนความสัมพันธ์ ของตัวแปรในเชิงเหตุและผล หรื อในเชิงความสัมพันธ์ซงึ่ กันและกัน องค์ ประกอบที่สาคัญของสมมติฐานการวิจัย (ตัวอย่ าง) การส่งเสริมการตลาดทางด้ านราคา มีความสัมพันธ์กบั การตัดสินใจใน การเลือกที่พกั ของนักท่องเที่ยว 1. 2. 3. ตัวแปร คือการส่งเสริมการตลาดทางด้ านราคา และการตัดสินใจในการ เลือกที่พกั กลุม่ บุคคุลเป้าหมายในการวิจยั คือนักท่องเที่ยว บริบทการวิจยั คือ ศึกษาเฉพาะความสัมพันธ์ระหว่าง การส่งเสริ ม การตลาดทางด้ านราคา และการตัดสินใจในการเลือกที่พกั เท่านัน้ องค์ ประกอบที่สาคัญของสมมติฐานการวิจัย (ตัวอย่ าง) ความพึงพอใจของนักท่องเที่ยว มีความสัมพันธ์กบั การเดินทาง กลับมาท่องเที่ยวภูกระดึงอีกครัง้ 1. 2. 3. ตัวแปร คือ ………………….. กลุม่ บุคคุลเป้าหมายในการวิจยั คือ …………… บริบทการวิจยั คือ ……………….. แหล่ งที่มาของสมมติฐานการวิจัย 1. 2. 3. ทฤษฎี หรื อแนวคิดที่ได้ รับการยอมรับอย่างกว้ างขวาง ข้ อสรุป หรื อ คาตอบ หรื อผลงานวิจยั ประสบการณ์ตา่ ง ๆ ของผู้วิจยั หรื อ ข้ อสังเกตของผู้วิจยั หลักการในการเขียนสมมติฐาน 1. มักพบในรายงานการวิจย ั ใน 2 ลักษณะ 1.1 อยูใ่ นบทที่ 1: ผู้วิจย ั ต้ องการให้ ผ้ อู า่ นทราบถึงทิศทางที่ต้องการ พิสจู น์ด้วยข้ อมูลเชิงประจักษ์ 1.2 อยูใ่ นบทที่ 2 :ผู้วิจย ั ต้ องการแสดงให้ เห็นถึงผลการค้ นคว้ าเอกสาร จนเป็ นที่มาของการคาดคะเนคาตอบของการวิจยั 2. สมมติฐานการวิจย ั ต้ องสอดคล้ องกับวัตถุประสงค์ ของการวิจยั 3. เขียนในลักษณะประโยคบอกเล่า ประเภทและลักษณะของสมมติฐานทางสถิติ 1. 2. 1. สมมติฐานศูนย์ (Null Hypothesis) สมมติฐานสารอง (Alternative Hypothesis) สมมติฐานศูนย์ (Null Hypothesis : Ho) เป็ นข้ อความหรื อสมการที่ รูปแบบความเป็ นกลาง หรื อด้ วยข้ อความที่อยูใ่ นรูปแบบปฏิเสธ มักใช้ คาว่า “ไม่ แตกต่ างกัน” “เท่ ากัน” หรื อ “เท่ ากับ 0” Ho: 1 = 2 or 1 2 = 0 ค่าเฉลี่ยของประชากร 2 กลุม่ เท่ากัน ประเภทและลักษณะของสมมติฐานทางสถิติ 1. สมมติฐานสารอง (Alternative Hypothesis : H1) เป็ นข้ อความหรื อ สมการเชิงยอมรับที่ระบุวา่ “แตกต่ างกัน” “ไม่ เท่ ากัน” หรื อ “ไม่ เท่ ากับ 0” เป็ นทางเลือกของโอกาสที่เกิดขึ ้น หากปฏิเสธสมมติฐานศูนย์ ก็จะ ยอมรับ สมมติฐานเลือก สมมติฐานเลือก มีวิธีการตัง้ 2 แบบคือ 2.1 แบบไม่มีทิศทาง H1: 1 ≠ 2 or 1 2 ≠ 0 2.2 แบบมีทิศทาง H1: 2 > 1 or 1 2 ≠ 0 or 1 2 > 0 ประเภทและลักษณะของสมมติฐานทางการวิจัย 1. สมมติฐานเชิงเปรี ยบเทียบ (comparative hypothesis) มุง่ เปรียบเทียบความแตกต่ างในด้ านต่าง ๆ ของกลุม่ คน ตังแต่ ้ 2 คนขึ ้นไป หรื อแนวคิดตังแต่ ้ 2 แนวคิดขึ ้นไป “พฤติกรรมการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ ของวัยรุ่ นชายมี ความแตกต่างจากวัยรุ่ นหญิง” ประเภทและลักษณะของสมมติฐานทางการวิจัย 2. สมมติฐานเชิงความสัมพันธ์ (relational hypothesis) มุง่ เน้ นการศึกษาสภาพความสัมพันธ์ ของตัวแปร ตังแต่ ้ 2 ตัวแปร ขึ ้นไป “การส่งเสริมการตลาดทางด้ านราคา มีความสัมพันธ์กบั การตัดสินใจในการเลือกที่พกั ของนักท่องเที่ยว” ข้ อแตกต่ างระหว่ าง สมมติฐานการวิจัย และ สมมติฐานทางสถิติ สมมติฐานทางสถิตเิ ขียนขึน้ ภายใต้ หลักการที่ตรงกันข้ ามว่ า “ตัวแปรต่ าง ๆ มีไม่ ความสัมพันธ์ กัน สมมติฐานการวิจัยเขียนขึน้ ภายใต้ หลักการที่ว่า “ตัวแปรต่ าง ๆ มีความสัมพันธ์ กัน Things to remember while working on research hypothesis As you gather more information and make more progress on your project, the research hypothesis will become more detailed and refined. This means that your original research hypothesis might change while you are designing your project, but that’s ok. Things to remember while working on research hypothesis However, once you begin your project, it is not ethical to change the hypothesis. ตัวแปร ตัวแปร (Variable) มาจากคาว่ า vary = ผันแปร เปลี่ยนแปลง able = สามารถ Variable = สิ่งที่สามารถแปรค่ าได้ ตัวแปร คือ คุณลักษณะหรือสภาวะการณ์ ต่างๆ ซึ่งแบ่ งออกเป็ น พวกหรือเป็ นระดับหรือมีค่าได้ หลายค่ า ตัวแปร คือ สิ่งที่โดยสภาพทั่วไปแล้ วสามารถแปรค่ าได้ ค่ าที่ แปรออกมาของตัวแปรย่ อมมีคุณสมบัตแิ ตกต่ างกันออกไป ตัวแปร คือ สิ่งที่ผ้ ูวิจัยสนใจที่จะวัดเพื่อให้ ได้ ข้อมูลออกมาใน รูปใดรูปหนึ่ง ตัวแปร โดยสรุ ปแล้ ว ตัวแปร หมายถึง คุณลักษณะของสิ่งต่ างๆ ที่สามารถ แปรเปลี่ยนค่ าได้ เช่ น เพศ แปรค่ าได้ เป็ น เพศชายและเพศหญิง ระดับการศึกษา อาจแบ่ งเป็ นระดับต่ากว่ าปริญญาตรี และ ระดับปริญญา ตรีขนึ ้ ไป เป็ นต้ น การจาแนกประเภทตัวแปร ตัวแปรต้ น (ตัวแปรอิสระ) เป็ นตัวแปรเหตุที่ทาให้ เกิดผลต่างๆ หรื อ ตัว แปรที่เราต้ องการศึกษา หรื อ ทดลองดูวา่ เป็ นสาเหตุที่ทาให้ เกิดผลตามที่เรา สังเกตหรื อไม่ ตัวแปรตาม เป็ นตัวแปรที่เกิดมาจากตัวแปรต้ น เมื่อตัวแปรต้ น เปลี่ยนแปลง ตัวแปรตามก็จะเปลี่ยนแปลงตามไปด้ วย ตัวแปรอื่นที่มิได้ มงุ่ ศึกษาโดยตรง แต่เป็ นตัวแปรที่อาจมีผลกระทบต่อตัวแปรตาม ตัวแปรควบคุม เป็ นตัวแปรที่นอกเหนือจากตัวแปรอิสระ และเป็ นตัวแปร ภายนอกที่เราสนใจนามาศึกษา แต่เราได้ จดั การควบคุมมิให้ มีผลต่อตัวแปรตาม ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระ ตัวแปรตาม และตัวแปรควบคุม ตัวแปรอิสระ ตัวแปรตาม ตัวแปรควบคุม ปั จจัยที่สง่ ผลต่อผลการเรี ยนของนิสติ ม.นเรศวร ศุนยฯกทม. ตัวแปรอิสระ •เพศ •อายุ •การเข้ าห้ องเรี ยน ตัวแปรตาม ผลการเรี ยน GPA ตัวแปรควบคุม •สภาพร่างกาย •การรวมกลุม่ ติวกับเพื่อน The end