องค์ประกอบทางพฤติกรรมหรือแบบแผนการดำเนินชีวิต (life style)

advertisement
PUBH_410
Public Health Administration
&
Strategic Management
ปั จจัยที่มีผลกระทบต่อภาวะสุขภาพ
Benjawan Nunthachai
• http://www.hiso.or.th/hiso/brochure/b16_2.p
hp?color=4&network=&lesson=16
1
องค์ ประกอบทางกาย
2
องค์ ประกอบทางจิต
ปั จจัยที่มีผลกระทบต่ อภาวะสุขภาพ
ปั จจัยภายใน: 3 องค์ ประกอบ
3
องค์ ประกอบทาง
พฤติกรรม หรือแบบ
แผนการดาเนินชีวิต
(life style)
1
องค์ ประกอบ
ทางสังคม
และวัฒนธรรม
2.
องค์ ประกอบ
ทางสิ่งแวดล้ อม
ปั จจัยที่มีผลกระทบต่ อภาวะสุขภาพ
ปั จจัยภายนอก : 3 องค์ ประกอบ
3
องค์ ประกอบ
ทางเศรษฐกิจ
ปั จจัยที่มีผลกระทบต่ อภาวะสุขภาพ
ปั จจัยภายใน: 3 องค์ ประกอบ
องค์ประกอบที่ 1** องค์ประกอบทางกาย **
แนวคิด : เป็ นองค์ประกอบที่เป็ นมาตังแต่
้ เกิดและจะเป็ นอยูเ่ ช่นนี ้ตลอดไป
โดยไม่อาจเปลี่ยนแปลงได้
 พันธุกรรมมีผลต่อสุขภาพของวัยผู้ใหญ่และวัยสูงอายุทงในทางบวก
ั้
และทางลบ เช่น การมีอายุยืน โรคที่ถ่ายทอดมาทางยีนส์
เพศ โรคบางโรคพบบ่อยในเพศใดเพศหนึง่ เช่น โรคที่พบบ่อยในเพศ
หญิง เช่น นิ่วในถุงน ้าดี โรคของต่อมไทรอยด์ โรคกระดูกพรุน โรคข้ อ
อักเสบ รูมาตอยด์ โรคที่พบบ่อยในชาย เช่น โรคกระเพาะอาหาร ไส้
เลื่อน โรคทางเดินหายใจ โรคริดสีดวงทวาร
** องค์ประกอบทางกาย **
อายุและพัฒนาการของแต่ละวัยจะมีผลกระทบต่อสุขภาพทังสุ
้ ขภาพ
กายและสุขภาพจิตของผู้ใหญ่ผ้ สู งู อายุและวัยรุ่น เช่น
-วัยกลางคนเป็ นโรคหลอดเลือดเลี ้ยงหัวใจตีบ ความเครี ยด ความ
วิตกกังวล และอาจได้ รับอันตรายจากการประกอบอาชีพมากกว่าวัยหนุม่
สาว
-วัยรุ่น/วัยหนุ่มสาวมีความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ทาให้ ตดั สินใจปฏิบตั ิ
สิ่งต่างๆ ผิดพลาดไปโดยไม่ทนั ยังคิ
้ ด ทาให้ มีผลเสียต่อสุขภาพได้ เช่น การ
วิวาท ยกพวกตีกนั การติดยาเสพติด การติดเชื ้อจากการร่วมเพศ
องค์ประกอบที่ 2** องค์ประกอบทางจิต **
แนวคิด : ร่างกายและจิตใจมีความสัมพันธ์กนั สภาพอะไรก็ตามที่
กระทบกระเทือนทางด้ านร่างกายก็จะกระทบกระเทือนต่อจิตใจด้ วย และ
สภาพอะไรก็ตามที่กระทบ กระเทือนต่อจิตใจก็จะมีผลให้ ร่างกายเจ็บป่ วย
ได้ นอกจากนี ้องค์ประกอบทางจิตยังเป็ นตัวกาหนดพฤติกรรมต่างๆ
อัตมโนทัศน์ (self concept) เป็ นผลรวมของความรู้สกึ นึกคิดและ
การรับรู้ที่ลกึ ซึ ้งและซับซ้ อนที่บคุ คลมีตอ่ ตนเอง และมีอิทธิพลอย่างมาก
ในการกาหนดพฤติกรรม คือการที่บคุ คลจะแสดงพฤติกรรมอย่างไรนัน้
ขึ ้นอยูก่ บั ว่าบุคคลนันรั
้ บรู้เกี่ยวกับตนเองอย่างไร
**องค์ประกอบทางจิต **
 การรับรู้ (perception) การรับรู้เกี่ยวกับสุขภาพที่จะมีผลดีตอ่ สุขภาพ คือ การ
รับรู้วา่ บางคนอาจป่ วยเป็ นโรคได้ ทงที
ั ้ ่ไม่มีอาการผิดปกติใดๆ การรับรู้วา่ การดูแล
สุขภาพให้ แข็งแรงและการป้องกันโรคเป็ นสิง่ ที่สาคัญกว่าการรักษาเมือ่ เจ็บป่ วย และ
รับรู้วา่ สุขภาพเป็ นสิง่ มีคา่ เหนือสิง่ อื่นใด
 ความเชื่อด้ านสุขภาพ (health belief) ความเชื่อที่พบได้ ทวั่ ๆ ไปเกี่ยวกับ
สุขภาพได้ แก่ เชื่อว่าถ้ ารับประทานไข่ขณะที่เป็ นแผล จะทาให้ แผลนันเป็
้ นแผลเป็ นที่
น่าเกลียดเมื่อหาย ถ้ ารับประทานข้ าวเหนียวจะทาให้ แผลกลายเป็ นแผลเปี อย หญิง
ตังครรภ์
้
ถ้ ารับประทานเนื ้อสัตว์ชนิดใด จะทาให้ ลกู มีพฤติกรรมเหมือนสัตว์ชนิดนัน้
เชื่อว่าการดื่มเบียร์ วนั ละ 12 แก้ วจะช่วยป้องกันการติดเชื ้อของลาไส้ เชื่อว่าถ้ าดื่มน ้า
มะพร้ าวขณะมีประจาเดือน จะทาให้ เลือดประจาเดือนหยุดไหลเป็ นต้ น ความเชื่อ
เหล่านี ้บางอย่างมีผลกระทบต่อสุขภาพมาก แต่บางอย่างไม่มีผลเสียหายต่อสุขภาพ
** องค์ประกอบทางจิต **
เจตคติมีผลกระทบต่อสุขภาพ เนื่องจากเป็ นสิง่ ที่อยูเ่ บื ้องหลังการ
ประพฤติปฏิบตั ติ า่ งๆ เช่น ถ้ าประชาชนมีเจตคติที่ไม่ดีตอ่ สถานบริการ
สาธารณสุข ก็อาจจะไม่ไปใช้ บริการจากสถานที่นนั ้ หรื อเจตคติตอ่ การ
รักษาแผนปั จจุบนั ไม่ดีก็จะไม่ยอมรับการรักษาเมื่อป่ วย
 ค่านิยม คือการให้ คณ
ุ ค่าต่อสิ่งใดสิ่งหนึง่ ค่านิยมของบุคคลได้ รับ
อิทธิพลมาจากสังคมใดสังคมหนึง่ ค่านิยมที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ เช่น
ค่านิยมของการดื่มสุรา / สูบบุหรี่ ซึง่ แสดงถึงความมีฐานะทางสังคมสูง
หรื อ ค่านิยมที่ช่วยส่งเสริมสุขภาพ คือ ค่านิยมของความมีสขุ ภาพดี
**องค์ประกอบทางจิต **
ความเครี ยดมีผลกระทบต่อสุขภาพทางด้ านบวก ในทานองเดียวกัน
ความเครี ยดก็ก่อให้ เกิดผลทางด้ านลบต่อสุขภาพได้ ด้วยเช่นกัน ถ้ า
ความเครี ยดนันมี
้ มากเกินความสามารถของบุคคลจะเผชิญได้ หรือ
ความสามารถในการเผชิญความเครี ยดของบุคคลไม่เหมาะสม
องค์ ประกอบที่ 3. **องค์ ประกอบทางพฤติกรรมหรือแบบ
แผนการดาเนินชีวติ (life style)**
แนวคิด:พฤติกรรมหรื อ แบบแผนการดาเนินชีวิตประจาวันนันเป็
้ นองค์ประกอบ
ที่มีอิทธิพลต่อสุขภาพมากที่สดุ เพราะเป็ นองค์ประกอบที่สามารถเปลี่ยนแปลง
ได้ ซึง่ พบว่าประมาณร้ อยละ 50 ของประชาชนที่เสียชีวิตในอเมริ กามีสาเหตุมา
จากการมีแบบแผนการดาเนินชีวิตที่ไม่ถกู ต้ อง
 พฤติกรรมเกี่ยวกับอนามัยส่วนบุคคล เป็ นพฤติกรรมที่ปฏิบตั เิ พื่อการมี
อนามัยที่ดี
 พฤติกรรมการรับประทานอาหาร นิสยั การรับประทานอาหารเป็ นการ
ถ่ายทอดทางวัฒนธรรม ซึง่ แตกต่างกันไปตามลักษณะท้ องถิ่น และ
ความชอบของแต่ละคน พฤติกรรมการรับประทานมีผลกระทบต่อสุขภาพ
มาก
**องค์ ประกอบทางพฤติกรรมหรื อแบบแผนการดาเนิน
ชีวิต (life style)**
พฤติกรรมการขับถ่ายอุจจาระและปั สสาวะ เป็ นเวลา / ไม่เป็ นเวลา/ไม่
ปกติ
การพักผ่อนและการนอนหลับ ผู้ที่ได้ รับการพักผ่อนไม่เพียงพอหรื อนอน
หลับไม่ เพียงพอไม่สามารถควบคุมตนเองให้ ทางานอย่างมี
ประสิทธิภาพได้ ถ้ าต้ องทางานที่ต้องระมัดระวังอันตราย เช่น งานใน
โรงงานอุตสาหกรรม จะมีผลให้ ร่างกายได้ รับอุบตั เิ หตุ เช่น เครื่ องจักร
ตัดนิ ้วมือ หรื ออุบตั ิเหตุอื่นๆ ได้
**องค์ ประกอบทางพฤติกรรมหรื อแบบแผนการดาเนิน
ชีวิต (life style)**
พฤติกรรมทางเพศ การตอบสนองความต้ องการทางเพศเป็ นความ
ต้ องการพื ้นฐานของมนุษย์ที่มีผลกระทบต่อสุขภาพได้ ถ้าบุคคลนันมี
้
พฤติกรรมทางเพศที่ไม่ถกู ต้ อง
พฤติกรรมส่วนบุคคลที่มีความสัมพันธ์กบั ระบบชุมชนและการดูแล
สุขภาพส่วนรวมทังหมด
้
เช่น การดื่มสุรา การกินยาบ้ า ทาให้ สญ
ู เสีย
การควบคุมสติตนเองอาจประกอบพฤติกรรมอื่นๆ ที่เป็ นอันตรายต่อ
สุขภาพตามมา เช่น การข่มขืนกระทาชาเรา การเป็ นต้ นเหตุทาให้ เกิด
อุบตั ิเหตุทาให้ เกิดอันตรายแก่สขุ ภาพของบุคคลอื่นและสร้ างความ
สูญเสียชีวิตหรื อทรัพย์สนิ ทังขอ
้ งผู้อื่น-ส่วนรวม- ส่วนตัว
ปั จจัยที่มีผลกระทบต่ อภาวะสุขภาพ
ปั จจัยภายนอก: 3 องค์ ประกอบ
องค์ ประกอบที่ 1
**องค์ ประกอบทางสังคมและวัฒนธรรม**
แนวคิด : องค์ประกอบทางสังคม แต่ละสังคมประกอบด้ วยระบบย่อยหรื อ
สถาบันสังคมที่สาคัญ 6 ระบบคือ ระบบครอบครัวและเครื อญาติ ระบบ
การศึกษา ระบบการสาธารณสุข ระบบเศรษฐกิจและการประกอบอาชีพ
ระบบการเมืองและการปกครอง ระบบความเชื่อ หรื อสถาบันศาสนา
สุขภาพของบุคคลในสังคมจะได้ รับอิทธิพลจากระบบต่างๆ เหล่านี ้ แต่ละ
ระบบจะกระทบต่อสุขภาพมากหรื อน้ อยขึ ้นอยูก่ บั ปทัสถาน (norm)
ของสังคมนันๆ
้
**องค์ ประกอบทางสังคมและวัฒนธรรม**
ระบบครอบครัวและเครื อญาติ สังคมไทย การเจ็บป่ วยของบุคคลใด
บุคคลหนึง่ ไม่ใช่เรื่ องเฉพาะตัวของผู้นนั ้ หากแต่เป็ นเรื่องของครอบครัว
ญาติพี่น้อง และสังคมที่จะมีสว่ นช่วยเหลือและรับผิดชอบ เมื่อบุคคลใน
ครอบครัวป่ วย การจะไปรับการรักษาที่ใด และการปฏิบตั ติ วั ขณะป่ วย
จะต้ องทาอย่างไรขึ ้นอยูก่ บั ญาติผ้ ใู หญ่วา่ จะตัดสินใจอย่างไร แม้ วา่ การ
ตัดสินใจนันตนจะไม่
้
เห็นด้ วย แต่ก็จะต้ องปฏิบตั ติ าม ซึง่ มีผลดีในแง่ของ
จิตใจของผู้ป่วยที่ทกุ คนให้ ความสาคัญต่อการเจ็บป่ วยของตน
**องค์ ประกอบทางสังคมและวัฒนธรรม**
ระบบการศึกษา การศึกษาที่ให้ ความสาคัญของการดูแลสุขภาพจะช่วย
ให้ เยาวชนมีพฤติกรรมเกี่ยวกับสุขภาพต่างๆ อย่างถูกต้ อง การให้ ข้อมูล
ข่าวสารเกี่ยวกับสุขภาพ ให้ คาแนะนาเกี่ยวกับการปฏิบตั ติ น การดูแล
สุขภาพเมื่อเจ็บป่ วย สิ่งเหล่านี ้จะก่อให้ เกิดผลดีแก่สขุ ภาพ และระดับ
การศึกษาของแต่ละคนยังเป็ นตัวกาหนดมาตรฐานการดารงชีวิตอีกด้ วย
**องค์ ประกอบทางสังคมและวัฒนธรรม**
ระบบสาธารณสุข ระบบการสาธารณสุขไทยมีทงระบบบริ
ั้
การโดยรัฐ
และบริการโดยเอกชน รัฐได้ พยายามกระจายบริการสาธารณสุขให้
ครอบคลุมประชากรทัว่ ประเทศ โดยคัดเลือกผู้สื่อข่าวสาธารณสุข และ
อาสาสมัครสาธารณสุข เข้ ามาช่วยปฏิบตั งิ านในชุมชนของตนเอง เป็ น
รูปแบบที่พยายามสนับสนุนและช่วยให้ ประชาชนช่วยเหลือตนเองและ
เพื่อนบ้ านเกี่ยวกับการดูแลรักษาโรคหรื อการเจ็บป่ วยที่จาเป็ น การรู้จกั
ระวังป้องกันโรคติดต่อที่สาคัญ โดยเชื่อว่าระบบดังกล่าวจะช่วยให้
สุขภาพอนามัยของประชาชนดีขึ ้น
องค์ ประกอบที่ 2
**องค์ ประกอบทางสิ่งแวดล้ อม **
แนวคิด : องค์ประกอบทางสิ่งแวดล้ อม มนุษย์มีความสัมพันธ์อย่างใกล้ ชิด
กับสิ่งแวดล้ อม ปั จจัยอะไรก็ตามที่ทาให้ สงิ่ แวดล้ อมเปลี่ยนแปลงไป จะ
กระทบต่อชีวิตและความเป็ นอยูข่ องมนุษย์ด้วยองค์ประกอบที่สาคัญของ
สิง่ แวดล้ อม ได้ แก่
**องค์ประกอบทางสิ่งแวดล้ อม **
 สภาพทางภูมิศาสตร์ ลักษณะภูมิศาสตร์ ที่แตกต่างกัน ทาให้ เกิดฤดูกาล
แตกต่างกันและอุณหภูมิของแต่ละพื ้นที่แตกต่างกัน ซึง่ มีผลกระทบต่อ
สุขภาพของบุคคลโดยตรง สภาพภูมิศาสตร์ บางแห่งเอื ้ออานวยให้ สงิ่ มีชีวติ
บางอย่างเจริ ญเติบโตได้ ดี เช่น ประเทศไทย ซึง่ อยูบ่ ริ เวณแถบศูนย์สตู ร มีโรค
เวชศาสตร์ เขตร้ อนนานาชนิดเกิดขึ ้นกับประชาชน โรคเหล่านี ้ ได้ แก่ โรค
พยาธิตา่ งๆ ไข้ มาลาเรี ย ซึง่ ประเทศในเขตหนาวจะไม่ประสบกับปั ญหา
สุขภาพเหล่านี ้ นอกจากนี ้สภาพภูมิศาสตร์ ยังก่อให้ เกิดภัยธรรมชาติตา่ งๆ
เช่น น ้าท่วม แผ่นดินไหว พายุ ทาให้ เกิดบาดเจ็บและตายเป็ นจานวนมาก
การเปลี่ยนแปลงของฤดูกาลทาให้ บคุ คลต้ องปรับตัวต่อสภาพแวดล้ อมในแต่
ละฤดูกาล ทาให้ คนบางคนเกิดการเจ็บป่ วย
**องค์ประกอบทางสิ่งแวดล้ อม **
สภาพที่อยูอ่ าศัย ที่อยูอ่ าศัยหรื อบ้ านเป็ นสิง่ แวดล้ อมที่อยูใ่ กล้ ตวั คน
มากที่สดุ ลักษณะบ้ านที่ช่วยส่งเสริมสุขภาพคือมีการระบายอากาศได้ ดี
อยูห่ ่างไกลจากแหล่งอุตสาหกรรม ไม่มีเสียงรบกวน มีการกาจัดขยะที่
ถูกวิธี มีท่อระบายน ้าและมีการระบายน ้า ไม่มีน ้าท่วมขัง มีส้วมที่ถกู
สุขลักษณะ มีน ้าดื่มน ้าใช้ ที่สะอาด สภาพบ้ านที่ไม่ถกู สุขลักษณะจะ
ก่อให้ เกิดปั ญหาสุขภาพแก่ผ้ อู ยูอ่ าศัยทังในด้
้ านการเจ็บป่ วยด้ วยโรคติด
เชื ้อต่างๆ และอุบตั เิ หตุที่เกิดขึ ้นได้ จากความประมาท เช่นไฟไหม้ น ้า
ร้ อนลวก การพลัดตก หกล้ ม
**องค์ประกอบทางสิ่งแวดล้ อม **
สภาพสิง่ แวดล้ อมอื่นๆ ผลกระทบต่อสุขภาพอันเกิดจากมลพิษทาง
สิง่ แวดล้ อม ทังทางน
้
้า ทางเสียง ทางอากาศ และทางดิน ทาให้ เกิดโรค
หรื ออันตรายแก่ชีวิตได้ เช่นน ้าที่ถกู ปนเปี อนด้ วยเชื ้อโรคหรื อสารพิษจะ
ทาให้ ผ้ บู ริโภคเป็ นโรคของระบบทางเดินอาหาร เช่น บิด ไทฟอยด์ หรื อ
ได้ รับสารพิษโดยตรง การได้ ยินเสียงที่ดงั มากๆ นานๆ ทาให้ ประสาทหู
เสื่อม ความสามารถในการได้ ยินลดลง การสูดอากาศหายใจที่มีแก๊ ส
พิษ หรื อสารพิษ ทาให้ เป็ นโรคเกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจและเกิดการ
ระคายเคืองของระบบหายใจ
องค์ประกอบที่ 3
**องค์ประกอบระบบเศรษฐกิจและการประกอบอาชีพ
แนวคิด :ระบบเศรษฐกิจของไทยเป็ นแบบทุนนิยมและกาลังเปลี่ยนแปลง
จากระบบเกษตรกรรมเป็ นระบบอุตสาหกรรม การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวมี
ผลกระทบต่อสุขภาพอันเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงลักษณะประชากร
คือการย้ ายถิ่น และการเปลี่ยนแปลงอื่นๆ ได้ แก่ การประกอบอาชีพ สภาพ
ความเป็ นอยู่ และวิถีชีวิต ก่อให้ เกิดอันตรายแก่สขุ ภาพทังทางกายและทาง
้
จิต
**องค์ประกอบระบบเศรษฐกิจและการประกอบอาชีพ**
สภาพความเป็ นอยู่ อาจจะอยูใ่ นสิง่ แวดล้ อมที่ไม่เหมาะสมกับสุขภาพ
เช่นอาศัยอยูใ่ นชุมชนแออัด หรื อไม่มีที่อยูอ่ าศัยที่แน่นอน ภาวะ
แวดล้ อมในสังคมอุตสาหกรรม จะมีสงิ่ แวดล้ อมที่เป็ นพิษมากขึ ้น
วิถีชีวิตต้ องเปลี่ยนแปลงไปมีการใช้ เทคโนโลยีตา่ งๆ เพื่ออานวยความ
สะดวกและเป็ นการประหยัดเวลามากขึ ้น สิง่ เหล่านี ้ดูเหมือนจะเป็ นผลดี
ต่อสุขภาพ แต่จริงๆ แล้ วกลับทาให้ ร่างกายมีสมรรถภาพในการทางาน
ลดลง เพราะเครื่ องอานวยความสะดวกต่างๆ ทาให้ ร่างกายมีการใช้
กาลังงานลดลงทาให้ หวั ใจ ปอด หลอดเลือด กระดูกและกล้ ามเนื ้อ ไม่มี
ความแข็งแรงพอ สิ่งเหล่านี ้ทาให้ ภาวะสุขภาพเปลี่ยนแปลงไป
**องค์ ประกอบระบบเศรษฐกิจและการประกอบอาชีพ**
ระบบเศรษฐกิจมีความสาคัญต่อสุขภาพ : ความแตกต่างในการดูแล
สุขภาพระหว่างกลุม่ ที่มีรายได้ สงู กับกลุม่ ที่มีรายได้ ต่า ผู้ที่มีฐานะ
ยากจน มักจะไม่คอ่ ยให้ ความสาคัญกับการป้องกันโรค โดยจะไม่ ยอม
เสียเวลาไปกับกิจกรรมเหล่านันแต่
้ จะให้ ความสาคัญของการประกอบ
อาชีพและรายได้ มากกว่า จึงมีผลกระทบต่อสุขภาพในลักษณะวงจร
แห่งความชัว่ ร้ าย คือ จน-เจ็บ-โง่ อยูต่ อ่ ไป
แนวคิดปัจจัยที่มีผลกระทบต่อภาวะสุ ขภาพ
• การเปลี่ยนแปลงของสุขภาพขึ ้นอยูก่ บั ปั จจัยหลายอย่าง มีทงปั
ั ้ จจัย
ภายในและปั จจัยภายนอก ปั จจัยเหล่านี ้อาจทาให้ สขุ ภาพเปลีย่ นแปลง
ไปในทางที่ดีขึ ้น หรื อเลวลงก็ได้
• ปั จจัยภายใน มี 3 องค์ประกอบ
-กาย - จิต -พฤติกรรมหรื อแบบแผนการ
ดาเนินชีวิต
• พันธุกรรม การถ่ายทอดทาง
พันธุกรรมมีผลต่อสุขภาพของวัย
ผู้ใหญ่และวัยสูงอายุมาก ทังใน
้
ทางบวกและทางลบ ในทางบวกเช่น
การมีอายุยืนยาวผลในทางลบคือ ทา
ให้ เกิดผลเสียต่อสุขภาพ ได้ แก่ โรคที่
ถ่ายทอดมาทางยืนส์ทงหลาย
ั้
เช่น
เบาหวาน ฮีโมฟี เลีย ทาลัสซีเมีย เป็ น
ต้ น นอกจากนี ้โรคมะเร็ง
What are the factors that affect health?
• The factors, which
affect human health
and cause disease, can
be dividing into two
categories:
• Intrinsic or Internal
Factors.
• Extrinsic or External
Factors.
Intrinsic or Internal Factors.
The factors such as malfunctioning of the body parts
.
Intrinsic or Internal Factors
• hormonal imbalances,
malfunctioning of immune
system and genetic
disorders,
diseases caused by extrinsic factors are:
• Heart attack, Kidney failure,
Cataract, Diabetes
The factors such as malfunctioning of
the body parts
• hormonal imbalances,
• malfunctioning of immune system and genetic
disorders, which exist within the human body, are
called Intrinsic Factors. The disease caused by
intrinsic factors is called organic diseases or
metabolic diseases. Some examples of diseases
caused by extrinsic factors are: Heart attack,
Kidney failure, Cataract, Diabetes etc. The disease
caused by intrinsic factors can be cured by proper
medical treatment.
Health Care in the United States: An Evolving System
Thomas P. Conklin [1]
• http://quod.lib.umich.edu/m/mfr/4919087.0007.102?rgn=ma
in;view=fulltext
What Factors Are Driving the Change?
health care delivery system
• Health Expenditures(United States as having the most expensive
health care system in the world.)
• A variety of factors have influenced this rapid and significant
growth. They include:
 Growth in the U. S. population, as well as an increasing number and
percentage of elderly people in the population;
 Increases in key health care technologies and related costs;
 Growth of allied health care professions;
 Increased reliance on drugs and related pharmaceutical costs;
 Rising cost of individual and family health care insurance; and
 Higher malpractice insurance, case settlements, and jury awards.
How Has Health Care Delivery
Changed?
• patients relied on autonomous physicians to
act as their agents;
• patients received complex care from
independent, non profit hospitals; and
• insurers did not intervene in medical decision
making and reimbursed physicians, hospitals,
and other providers on a fee-for-service basis.
managed care as beginning with Health Maintenance
Organizations (HMOs) as focusing on the following:
• optimizing health through preventive care;
• reducing overutilization and unnecessary
utilization of expensive services; and
• standardizing and controlling the widely
varying quality of care offered by traditional
fee-for-service providers.
What Can Be Done?
•
•
•
•
•
•
•
•
Practicing more health promotion behaviors and using preventive services;
Preparing to bear a higher burden of health insurance cost (if one has coverage) or
preparing to bear a higher burden of actual "out-of-pocket" health care costs;
Being ready to provide more home care services to assist friends and family
members whose surgical procedures will involve limited hospitalization;
Anticipating further limitations in selecting one's own primary care provider;
Knowing your own plan and any intended changes;
Developing assertiveness skills in dealing with your own insurers, providers, and
case managers;
Keeping abreast of broader issues and concerns, such as how the entire system
bears the cost of the underinsured and, especially, the uninsured;
Advocating for policy changes at the legislative level, especially for those without
access to even basic health care services.
ทิศทางนโยบายทางด้ านระบบสุขภาพที่ของประเทศไทย
งานทางด้ านสาธารณสุขเป็ นงานที่มีการแบ่ งเป็ นสองส่ วนใหญ่ ๆคือ
1.งานทางด้ านการรั กษาพยาบาลเพื่อเอาชนะความเจ็บป่ วย/โรค(Disease
Oriented)เพื่อความอยู่รอด(Survival) ไม่ ตาย ไม่ พกิ ารหรื อฟื ้ นฟูต่อ
จากการรั กษา
2.งานทางด้ านการป้องกันโรค(Disease Prevention)และส่ งเสริม
สุขภาพ(Health Promotion)เพื่อให้ มีคุณภาพชีวติ ที่ดี(Quality of
Life) ความเป็ นอยู่ท่ ดี (ี Well Being) และยั่งยืน(Sustainability)
ระบบสุ ขภาพที่เหมาะสมตามบริ บทสถานการณ์ดา้ นสุ ขภาพ
ของประเทศไทย
• การจัดบริการสุขภาพที่ครอบคลุมและเข้ าถึงอย่างเท่าเทียม เป็ นธรรม มีคณ
ุ ภาพตามมาตรฐานการ
ให้ บริการ
(Universal
Coverage)
• ะการพัฒนาในเชิงบริการและพัฒนาองค์ความรู้ในเชิงลึกอย่างสมดุลกับงาน
• ระบบสุขภาพที่เน้ นด้ านการส่งเสริมสุขภาพและป‡องกันโรค รวมถึงการพัฒนาระบบคัดกรองเพื่อค้ นหาป˜ญหา
• สุขภาพในชุมชน (Early Detection
by
Screening)
และการ
รักษาพยาบาลเบื ้องต้ นอย่างทันท่วงที
(Prompt
• Treatment)
• งานดังกล่าวจาาเป็ นต้ องพัฒนากาาลังพลด้ านสุขภาพอย่างเหมาะสมที่มีระดับศักยภาพแตกต่างกัน
• เพื่อทาาหน้ าที่สง่ เสริมสุขภาพป‡องกันโรค
เ½‡าระวังคัดกรองและดูแลรักษาพยาบาลเบื ้องต้ นและการส่ง
ต่อผู้ป†วย
• อย่างเหมาะสมเป็ นระบบ
• และป˜ญหาสุขภาพเป็ นป˜ญหาเชิงระบบที่ต้องระดมพละกาาลังของภาคีผ้ มู ีสว่ นได้ สว่ นเสียและเข้ าใจกรอบการ
• พัฒนาด้ านสุขภาพที่มงุ่ ไปสูค่ ณ
ุ ภาพชีวิตที่ดีอย่างยัง่ ยืนและใช้ ทรัพยากรอย่างคุ้มค่าตามโครงสร้ างเศรษฐกิจ
• และวัฒนธรรมและภูมปิ ˜ญญาของประเทศไทย โ
 The factors such as malfunctioning of the body parts,
hormonal imbalances, malfunctioning of immune system
and genetic disorders, which exist within the human body,
are called Intrinsic Factors.
 The disease caused by intrinsic factors is called organic
diseases or metabolic diseases. Some examples of diseases
caused by extrinsic factors are: Heart attack, Kidney failure,
Cataract, Diabetes etc. The disease caused by intrinsic
factors can be cured by proper medical treatment.
• ปั จจัยภายในหมายถึง ปั จจัยที่เกี่ยวกับบุคคลโดยตรงซึง่ บางปั จจัยไม่
สามารถเปลี่ยนแปลงได้ ปั จจัยภายในประกอบด้ วย องค์ประกอบ 3
อย่างคือ องค์ประกอบทางกาย องค์ประกอบทางจิต และองค์ประกอบ
ทางพฤติกรรมหรื อแบบแผนการดาเนินชีวิต
• ปั จจัยภายนอก
Download