ปรัชญาสังคมศาสตร์และทฤษฎีความรู้

advertisement
ญาณวิทยา :
ปรัชญาสงั คมศาสตร์
และทฤษฎีความรู
ผศ. ดร. จิตรกร โพธิง์ าม
“ Cogito ergo sum.”
DESCARTES
je pense , donc je suis.
ปรัชญาความรู้
ความรูข
้ องใคร ? เพื่อใคร ?
ตอนที่ 1
โพธิ์งาม
ผ ศ . ด ร . จิ ต ร ก ร
ญาณวิทยา (Epistemology) :
ปรัชญาสังคมศาสตร์และทฤษฎีความรู้
(Philosophy of Social Science
and Theory of Knowledge
ทฤษฎีความรูโ้ ลกาภิวัตน์
และภูมิปัญญาท้องถิ่น
 หลักการทางมานุษยวิทยา และตรรกะ วิธีการ
แสวงหาความรูแ
้ บบ “สภาวะวิสัยนิยม”
(Objectivism) และ “แบบสัมพัทธนิยม”
(Relativism)
 ความสาคัญของเงือ
่ นไขทางประวัตศ
ิ าสตร์ และ
สภาพแวดล้อม
ทางเศรษฐกิจ การเมือง วัฒนธรรม ศาสนา
ตลอดจนวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยีทม
ี่ ีตอ
่ “สถานะของความรู”้
 การแสวงหาดุลยภาพของการพัฒนาระหว่างระบบ
ความรูแ
้ บบ “จารีต” (Tradition) หรือนัยหนึง่
“ภูมิปัญญาท้องถิ่น” (Local Wisdom)
 และระบบความรูแ
้ บบ “ความเป็นสมัยใหม่”
(Modernity or Post Modernity) หรือกระแส
การพัฒนาประเทศ
ให้เป็นแบบ ”สมัยใหม่” (Modernization)
หรือ การพัฒนาในแนวกระแส “โลกาภิวต
ั น์”
(Globalization) ตลอดจนแนวทาง “สันติวธ
ิ ี”
เพื่อเป็น “อารยะ” (Civility)
 ระบบความรู้ 2 แนว :
Modernism vs. Postmodernism
จากโลกาภิวัตน์สู่ภูมิปัญญาท้องถิ่น :
ความรู้และการศึกษาแบบสหวิทยาการ
เพื่อความหลากหลายทางความคิด
“ ความรู้ คือ มหาสมุทรอันกว้างใหญ่ของ
แนวคิดทฤษฎี นิยาม มายาคติ ที่
หลากหลายแตกต่างกัน และเข้ากันไม่ได้เลย
”
P. FEYERABEND
พาราไดม์/ ระบบคิด/ วิธีคิด
“ เมื่อพาราไดม์ของเราเปลี่ยน
โลกก็เปลี่ยนไปด้วย ”
Thomas KUHN
Paradigm Shift
ว่าด้วยการศึกษา
“ การศึกษาทีด
่ ท
ี ส
ี่ ุด คือ การสร้างภูมค
ิ ุ้มกัน
สาหรับประชาชน
เพื่อต่อต้านการยัดเยียดระบบการศึกษา ให้แก่
พวกเขา ”
Feyerabend
(ชื่อหนังสือ ภาษาเยอรมัน “ต่อต้านการยัดเยียด
ทางวิธว
ี ท
ิ ยา”)
แสวงหาความจริง
“ All men by nature desire to Know ”
Aristotle
คนเราต้องการรู้ ความจริง แสวงหาความจริง หรือ
สิ่งที่ใกล้เคียง
กับความจริง เราต้องการตัง้ คาถาม
เพื่อหาคาตอบ ค้นหาความจริง
ความรู้/ ความจริง (ต่อ)
การหาความจริงเป็นเรือ
่ งเกีย
่ วกับโลกสังคม เป็น
ความจริงทีอ
่ ยูใ
่ นโลกสังคม เป็นการค้นหากับผูค
้ น
และมิตต
ิ า่ ง ๆ ของสังคม
ค้นหาจากตารา ประสบการณ์ จากการซักถาม
แลกเปลีย
่ นกับผู้คน
ญาณวิทยาจึงเรียกได้วา่ เป็น “Social
epistemology”
คนเราแสวงหาความจริง บนหนทางสังคม (ไม่ใช่คน
เดียวโดดเดีย
่ ว)
(ต่างจาก Cartesian epistemology ซึ่งเน้นการ
ความรู้/ ความจริง (ต่อ)
ญาณวิทยาที่เน้นเรือ
่ งมุ่งมั่นหาความจริง
เราเรียกว่า
“ veritistic epistemology ”
โดยเปรียบเทียบ true belief v. error
(false belief) + ignorance (ไม่มี true
belief)
ความรู้คืออะไร ?
ิ (ประเพณีนย
 คานิยามแบบคลาสสค
ิ ม) :
Knowledge is verified true belief
verification
criterion
truth
criterion
belief
criterion
- บางสงิ่ บางอย่างทีไ่ ด้ร ับการยืนย ัน/ ตรวจสอบ
แล้ว
- บางสงิ่ บางอย่างทีเ่ ป็นความจริง
ื่
- บางสงิ่ บางอย่างทีเ่ ป็นความเชอ
Epistemology
 Epistemology คือ ทฤษฎีวา่ ด้วยความรู้
- เน้นว่า เราจะได้ความรูม
้ าอย่างไร ?

แต่มีแนวคิดหลายแนวเกีย
่ วกับ “ความรู”้
เราจึงต้องถามเสมอว่า เป็นแนวคิดแบบไหน ?
- rationalism
- empiricism
- historicism รวมทั้ง hermeneutics, pragmaticism ฯลฯ
- postmodernism
การต่อต้านจาก Postmodernism
 นักคิดสานัก postmodernism
ว่า :
โต้แย้ง
ในการแสวงหาความรู้ ทาไมต้องถามหา
“ความจริง” ?
ความจริง – มีหรือเปล่าในโลกนี้ ?
เราไม่จาเป็นต้องไปถามว่าจริง / ไม่จริง
อะไรจริง/ ไม่จริง เป็นเรือ
่ งของการยอมรับ
มากกว่า
ไม่มีใครบอกได้วา่ อะไรจริง
ข้อวิจารณ์ 6 ข้อ จาก
Postmodernism :
1. ในโลกนีไ
้ ม่มค
ี วามจริง มีแต่ “เห็นด้วย” หรือ
“ไม่เห็นด้วย” ข้อมูล/ ข้อสรุป เป็นเรือ
่ งการตก
ลงกัน “เป็นเรือ
่ งของ social construction”
2. ความรู้ ความเป็นจริง ความจริง เป็นผลผลิต
ของภาษา เราไม่อาจบอกได้วา่ ความคิดของเรา
ถูกหรือผิด จริง/ ไม่จริง
3. ถ้าความจริงมีจริง มนุษย์เราก็คงเข้าไม่ถึง
หรือไม่อาจรูไ
้ ด้
การแสวงหาความรู้ไป ก็คงไม่พบความจริง
ข้อวิจารณ์ (ต่อ)
4. ในโลกนี้ ไม่มรี ะบบอภิสิทธิทจ
ี่ ะมากาหนดว่า
ทุกคนต้องมีจุดยืนเดียวกัน บนพื้นฐานเดียวกัน
ข้อสรุปต่าง ๆ เป็นเรือ
่ งของ
“เกมภาษา” ไม่มรี ากฐานทีล
่ ก
ึ ล้าอะไรมารองรับ
และไม่มห
ี ลักเกณฑ์ใด ๆ ที่จะมาตัดสินข้อ
ขัดแย้งทางความรู้ได้
5. การอ้างความจริงเป็นเพียงเครือ
่ งมือของการ
ครอบงา
และการกดขีโ่ ดยกลุม
่ คนทีม
่ อ
ี านาจ
6. เราไม่อาจเข้าถึงความจริงไปได้ และการ
ปฏิบัตก
ิ ารทีบ
่ อกว่า “แสวงหาความจริง” ล้วน
ข้อวิจารณ์ (ต่อ)
 ในแนวคิดของ Postmodernism
สรุปแล้ว การแสวงหาความจริงเป็นสิ่งที่
เลื่อนลอย ทฤษฎีความจริงเป็น “metanarative” (อภิมหานิยาย)
(ดู A. GOLDMAN, Epistemology and
Postmodern Resistance (ตารา, บทนา,
Knowledge in A Social World,
Oxford U.P. 1999 )
Feminist Epistemology
 ส่วนใหญ่ Epistemology จะถามว่า
- ความรู้ คืออะไร มาจากไหน ได้มาอย่างไร ?
 แต่ Feminist Epismology เปิดฉากใหม่
ถามว่า
- ความรูข
้ องใคร ?
- ของโลกตะวันตก ? ของคนตะวันตก ?
ของชนชัน
้ ที่มก
ี ารศึกษาจากตะวันตก ?
- ความรูแ
้ บบนีม
้ าจากโลกทัศน์ที่แคบ จึงมี
ขีดจากัด
ไม่เป็นประโยชน์ และยังอันตรายอีกด้วย
Standpoint Epistemology
Feminist Postmodern Epistemology
 ความรู้ : ไม่มีคาว่า “ความเป็นกลาง”
- ผู้วิเคราะห์ ควรแสดงจุดยืนของตนเอง
ออกมาให้ชัดเจน
ไม่มี “value-free knowledge”
- ในวัฒนธรรมกระแสหลักทีค
่ รอบงาสังคม
เราจะไม่ค่อยได้ยน
ิ เสียงของกลุม
่ คนทีย
่ ากไร้
สิ้นหวัง อยู่ชายขอบ
- ทาส เท่านั้น ที่เข้าใจความเป็นทาส
(ต่อ)
 นักศึกษาญาณวิทยา ควรจะอ่าน :
- Sandra Harding : Is Science
Multicultural ? Post colonialism,
Feminism, and Epistemologies
(1998)
Epistemological Anarchism
 นักปรัชญาสังคมศาสตร์ PAUL FEYERABEND
ไม่ค่อยจะเห็นด้วยกับทฤษฎีแสวงหาความรู้ แนว
positivism และ rationalism
- สิ่งที่เรียกว่า “วิธีการแบบวิทยาศาสตร์” ใช้ไม่ได้
- ในการวิจัย ควรจะใช้อะไรก็ได้
- วิธีวท
ิ ยาแบบวิทยาศาสตร์ เป็นเพียง 1 แนวทางใน
หลาย ๆ
แนวทางที่ใช้ในการมองโลก และไม่มีคณ
ุ สมบัติเหนือ
แนวทางอื่น ๆ เลย
 Feyerabend เสนอทฤษฎีความรูแ
้ บบอนาธิปต
ั ยนิยม
Against Method
 การคิดแบบเดียว ใช้วธ
ิ ีวท
ิ ยาแนวเดียวกันหมด
เป็นการปิดกัน
้ เสรีภาพทางความคิด ไม่มี
ความก้าวหน้าในสังคม
 วิธีวิทยาทัง้ หมด ล้วนแต่มข
ี ด
ี จากัด มีกฎข้อเดียว
ที่ใช้ได้ :
“anything goes”
ความรู้กับสังคม
 ใน Social epistemology ยังมีอีกสานึกหนึง่
ไม่สนใจ
เรื่องความจริงหรือวิธีวท
ิ ยา แต่จะเน้นมิตส
ิ ังคม/
การเมือง :
 K.MARX : ทฤษฎีวา่ ด้วยอุดมการณ์
- ideology คืออะไร – คนกลุ่มไหน มี
อุดมการณ์แบบไหน ?
- อุดมการณ์ คือ จิตสานึกทีห
่ ลอกลวง
 K.MANHEIM : Sociology of Knowledge
- วิเคราะห์ ความคิด/ จิตสานึก life conditions
ของกลุม
่ คน
 สานัก Frankfurt : Critical Theory
- วิพากษ์ อุดมการณ์ เปิ ดโปงอุดมการณ์ ทเี่ พ้อฝน/ หลอกลวง
(Ideo-logiekritik)
- นกคิดทีส่ าคญทีส่ ุ ด คือ J. HABERMAS กบทฤษฎีความร้
3 แนว
ความร้ กบสงคม (ต่ อ)
 Thomas KUHN เสนอการวิเคราะห์ “พารา
ไดม์”
โดยเชื่อมโยงปัจจัยสังคม กับ
paradigm shift
 Michel Foucalt พัฒนาแนวคิดทาง
การเมือง
- วิเคราะห์ ความรู้ / อานาจ / การครอบงา
- การแสวงหาความรู้ เป็นไปเพือ
่ แสวงหาเครือ
่ งมือ
ใหม่ ๆ
ความรู้กับสังคม (ต่อ)
 Social Epistemology คือ การศึกษาความรู้ใน
ระบบสังคมศึกษาการผลิตความรู้ การกระจาย
ถ่ายเทความรู้ การผสมผสานความรู้ การบริโภค
ความรู้ และความคิดท่ามกลางกระบวนการสือ
่ สาร
ในระบบสังคม
 Social Epistemology ต้องเชือ
่ มโยงกับ
Philosophy of Social Science และ
Paradigms ต่าง ๆ
ทางทฤษฎีสังคมศาสตร์ เราจึงจะเห็นภาพชัดขึ้น
เกี่ยวกับทฤษฎีความรู้
และประโยชน์ที่มีตอ
่
Knowledge representation
 การนาเสนอความรู้ คือ การทาความเข้าใจเกีย
่ วกับ
“แนวคิด” หรือ “สถานการณ์” (ของเรือ
่ งใดเรือ
่ งหนึ่ง)
โดยใช้วธ
ิ ก
ี ารบางอย่าง เช่น Frame – based
representation
 Frame หมายถึงการนาเสนอ “แนวคิด” หรือ
“สถานการณ์”
โดยชี้ให้เห็นถึง ความเชือ
่ มโยงของปัจจัยต่าง ๆ (ร้านอาหาร
หรือ “นั่งอยู่ในร้านอาหาร”)
 การนาเสนอความรู้ เสนอได้ บางมิติ บางด้าน บางภาพ ไม่
อาจเสนอภาพทั้งหมดได้ แล้วแต่วา่ เราจะใช้ทฤษฎีความรู้
Tacit Knowing / Knowledge
 คนเรารูม
้ ากกว่าทีจ
่ ะพูดออกมาได้
 - ความรูแ
้ บบ Tacit Knowing คือ บางสิ่ง
บางอย่างทีเ่ รารู้
แต่ยังไม่สามารถกล่าวออกมาเป็นคาพูดได้
(เช่นรูเ้ กี่ยวกับความลับ)
 - Tacit Knowing คือ บางสิ่งบางอย่าง ที่เรารู้
แต่อธิบาย ด้วยคาพูดไม่ได้ (เช่น รู้จากการ
คุ้นเคย แต่ยากทีจ
่ ะอธิบาย หรือรูจ
้ ากสามัญสานึก
(ต่อ)
 POLANYI : ความรู้ คือ กิจกรรมทีเ่ กี่ยวข้อง
กับกระบวนการรู้ (process of knowing)
 รู้แบบนี้ ต้องเน้นเรือ
่ งจินตนาการ อานาจของจิต
การหยัง่ รู้ การสัมผัส การเข้าใจอย่างลึกซึง้ การ
อ่านความรูส
้ ึกท่ามกลางการสือ
่ สารกับผู้อื่น
ทั้งหมดเป็นกระบวนทีจ
่ ะนาเราไปสู่ความรับรู้
ที่ไม่ตอ
้ งอาศัยถ้อยคาหรือภาษา
มรรควิธีแห่งเซน
 ความรูแ
้ บบเซน : ปราศจากถ้อยคา ก็เข้าถึง
อาณาจักรของสัจธรรม
อันไพศาลได้ :
- ถ่ายทอดความรูโ้ ดยไม่ใช้คัมภีร์
- ปราศจากคาพูดหรือตัวอักษร
- เข้าสูจ
่ ิตโดยตรง
- บรรลุพท
ุ ธภาวะ โดยศึกษาธรรมชาติแห่งตน
ความรูแ
้ บบนีจ
้ ะสามารถข้ามขอบเขตจากัด
ของความรู้ทงั้ ปวง
Philosophy of Social Science
การวิจย
ั / การวิเคราะห์
แนวคิดทฤษฎี
ปรัชญาสังคมศาสตร์
ญาณวิทยา
ปรัชญาสังคมศาสตร์
 ปรัชญาสังคมศาสตร์ เป็นเรือ
่ งเกีย
่ วกับตรรกวิทยาแนวคิด
ทฤษฎีและปัญหาจริยธรรม ในวงการของนักทฤษฎีสงั คม
จุดหนักอยูท
่ ี่เรือ
่ งวิธว
ี ท
ิ ยา และญาณวิทยา ปัญหาหลัก :
- ในการวิเคราะห์สังคม เราควรใช้หลักการอะไร ?
- สังคมศาสตร์ต่างจากวิทยาศาสตร์ อย่างไร ?
- ในการวิจัยสังคม มีวิธว
ี ท
ิ ยาอะไรบ้าง
- มีหลักเกณฑ์อะไรบ้างที่ใช้ในการประเมินวิธว
ี ท
ิ ยา ?
 หลายฝ่าย คิดว่า ทฤษฎีสังคม และวิธก
ี ารอธิบาย ควรจะนา
เราไปสูข
่ อ
้ สรุป
ที่เป็น “ความจริง” บนพื้นฐานของเหตุผลนิยม
สังคมศาสตร์ และวิทยาศาสตร์
 แนวคิด Naturalism และ
Physicalism
 Unity of Science
 อิทธิพลของโลกทัศน์เดการ์ตส์ / นิว
ตัน
ปรากฏการณ์สงั คม
 Intentional explanation
 (anti – naturalism)
 วิธอ
ี ธิบาย แบบ verstehen
- meaningful actions ของปัจเจกชน
- interpretative theory
- hermeneutics : text = social system
ปรากฏการณ์สงั คม (ต่อ)
 Causal explanation
ั ันธ์แบบธรรมดาทวไป
- ความสมพ
่ั
(nondeterminism)
ั ันธ์ในรูปแบบของกฎธรรมชาติ
- ความสมพ
(determinism)
- แนวคิด Marxist materialism
ความสัมพันธ์ระหว่างสังคมกับปัจเจก
ชน
 Methodological Individualism
 Methodological Holism
 Micro-foundation
 Rational Choice Theory
 Functionalism and System Theory
ปัญหาจริยศาสตร์
 วิชาการปลอดจาก “ค่านิยม” (valuefree knowledge)
 หลักการ “ความยุตธ
ิ รรมทางสังคม”
 จริยศาสตร์ และสังคมศาสตร์
ปรัชญาความรู้
ความรูข
้ องใคร ? เพื่อใคร ?
ตอนที่ 2
ผศ. ดร. จิตรกร โพธิ์งาม
ทฤษฎีสงคม (Social Theory) :
ความหลากหลายทางพาราไดม์ และวิธีวทิ ยา
(Paradigms and Methodologies)
วาทะของนักเขียนเยอรมัน ชื่อดัง
G.GRASS
 ในบทกวีสั้น ๆ “จากบันทึกของหอยทากตัว
หนึ่ง”
ผู้เขียนต้องการจะบอกเราว่า ในยุค
postmodern
ทุกอย่างดาเนินไปอย่างรวดเร็ว แต่ยิ่งเร็ว
มาก ก็ยิ่งหายนะมาก
เดิน
ช้า ๆ อย่างสุขุมดีกว่า แต่อย่าช้าเหมือน
หอยทาก
Paradigm thinking
 การสร้างความรู้ ประกอบด้วย 3 ปัจจัยใหญ่ ๆ
ด้วยกัน
- Evolution
- Emergence
- Consciousness
 3 ปัจจัยนี้ เกี่ยวพันกันและกัน และวิวฒ
ั นาการไป
พร้อม ๆ กัน Interdependent Coevolution
เป็นกระบวนการ
แบบจาลองการสร้างความรู้
EVOLUTION
พัฒนาองค์ความรู้
ภูมิปัญญา
EMERGENCE
CONSCIOUSNESS
สร้างรากฐานระบบคิด
ทางปรัชญา
ยกระดับจิตสานึก
เพื่อการปลดปล่อยสังคม
นักปรัชญาคนสาคัญที่เน้นการสร้างระบบความรูบ
้ นฐานของปรัชญ
และจิตสานึกที่ปลดปล่อย คือ JURGEN HABERMAS
HABERMAS
Knowledge and Human Interests
3 categories of process of inquiry
- เชื่อมโยง logical – methodological rules กับ
knowledge – constitutive interests
- critical philosophy of science มีภารกิจสาคัญ
:
หลุดพ้นจากการครอบงาของ positivism
Interest Structure
โครงสร้างเกี่ยวกับความสนใจของมนุษย์
ในการทีจ
่ ะดารงชีวต
ิ :
- technical cognitive interest (1)
- practical cognitive interest (2)
- emancipatory cognitive interest (3)
Means of Social organization
ความสนใจ ทั้ง 3 รูปแบบ
เชื่อมโยงกับปัจจัยของการจัดองค์กร 3 แบบ :
- technical
WORK
- practical
LANGUAGE
- emancipatory
POWER
ความสนใจ กับ ศาสตร์ 3 แนว
 Empirical – analytic sciences
 Historical – hermeneutic sciences
 Critically oriented sciences
ศาสตร์ 3 แนว (ต่อ)
 แนวแรก ให้ขอ
้ มูลข่าวสารแก่เรา ซึ่งจะทาให้เรา
สามารถอธิบาย (explanation) ปรากฏการณ์
สังคมได้ เพือ
่ ขยายพลังอานาจ ในการควบคุม
ทางเทคนิค ท่ามกลางกระบวนการทางานในการ
ดารงชีพ
 แนวทีส
่ อง
ให้เรารูจ
้ ัก ภาษา การตีความ
เพื่อทีจ
่ ะทาความเข้าใจ (understanding)
ความหมายของการกระทาของผูค
้ นในโลกสังคม
 แนวทีส
่ าม
ให้เรามีความสามารถ ในการมอง
สังคม
เชิงวิพากษ์ (reflection) เพื่อนาเราไปสู่การ
การกระทาของมนุษย์
 แนวแรก : rational purposive action
 แนวทีส
่ อง
action
: symbolic communicative
 แนวทีส
่ าม
: discourse ethics and ideal
speech situation
Criteria of validity
วิเคราะห์ :
ต้องทดสอบเชิง
ประจักษ์
ตีความ : ตกลงกันระหว่างผู้คน
ท่ามกลางเสวนา
วิพากษ์ : ประสบความสาเร็จในการ
ปลดปล่อย/
เปลี่ยนแปลง
เป้าหมายของการวิจัย
 วิเคราะห์
: วัตถุ เหตุการณ์
ปรากฏการณ์
 ตีความ : บุคคล การกระทา การ
แสดงออกทางคาพูด
 วิพากษ์ : รูปแบบของการกระทา และ
ภาษาทีถ
่ ก
ู บิดเบือน
knowledge constitutive interests
-----------------------------------------------------------------Interest
Knowledge
Medium Science
-------------------------------------------------------------------------------------- Technical
explanation
(knowing that)
work empirical
 Practical
understanding
(knowing how)
language interpretive
* Emancipatory
self refection
(knowing why)
power critical
____________________________________________________
ทฤษฎีความรู้ของ HABERMAS
 จุดมุ่งหมายของฮาร์เบอร์มาส :
- ต้องการวิพากษ์แนวคิดที่นย
ิ มวิธก
ี ารวิทยาศาสตร์
(scientism) :
ที่มาของความรูม
้ ีอยูแ
่ หล่งเดียวคือ วิทยาศาสตร์
- Positivism เป็นการวิเคราะห์เพียง 1 แนว
เท่านั้น
ท่ามกลางหลายแนว ๆ
- ในวงวิชาการ เราต้องการแนวคิดที่เน้น selfreflection
นั่นคือ วิพากษ์จด
ุ ยืน วิพากษ์ทฤษฎีของเราเอง
HABERMAS and
POSTMODERNISM
ทฤษฎีของ Habermas ถูกนักคิดจากสานัก
Postmodernism วิจารณ์อย่างหนัก :
- LYOTARD :
เป็ นเพียงอภิมหานิยายอีกเรื่องหนึ่ง
เท่ าน้ นเอง เป็ นวาทกรรมแบบทนสมย
ทีม่ ีแต่ อุดมคติ
- FOUCAULT :
ความร้ อาจจะไม่ ใช่ เพือ่ การปลดปล่อย
แต่ อาจถกใช้ เพือ่ การควบคุมอานาจ
ประยุกต์ใช้ทฤษฎีความรู้ 3 แนว
 Habermas เสนอทฤษฎี Knowledge and
Human Interests ในปี 1972
้ ากมายหลาย
- ปัจจุบ ันมีผน
ู ้ าไปประยุกต์ใชม
ั
วงการของสงคมศาสตร์
:
ทฤษฎีทางด้านจิตวิทยา การจ ัดการทาง
ึ ษา
การศก
ั
ทฤษฎีการจ ัดการทางธุรกิจ ทฤษฎีสงคม
ทฤษฎี Information
Technology
ปรัชญาสังคมศาสตร์ และทฤษฎีสงั คม
 ปรัชญาสังคมศาสตร์ 3 แนว
- positivist and empirical
- hermeneutic and humanistic
- radical and critical

ปรัชญาสังคมศาสตร์ (ต่อ)
 รูปแบบทฤษฎีที่สาคัญ ๆ ภายใต้
ปรัชญาสังคมศาสตร์
ที่แตกต่างกันแนวคิดหลัก
ปรัชญา
และวิธีวท
ิ ยา
ทฤษฎี
กล่ าวนา
“ Even in our dreams we sighted no new
land…where is the push it nothing pulls ?
Something is always lacking.
What ?
Serviceable Foundations, a framework,
formulations of goals. ”
ทฤษฎีความรู้
ความรูข
้ องใคร ? เพื่อใคร ?
ตอนที่ 3
ผศ. ดร. จิตรกร
โพธิ์งาม
ระบบความรู้ 2 แนว :
Modernism v. Postmodernism
- ความคิดของ LYOTARD
ความจริง
“ Each society has its regime of truth, its
general politics of truth : that is, the types of
discourse which it accepts and makes
function as true.”
FOUCAULT
“ความจริง”
เป็นเพียงสิง่ ของทีถ
่ ก
ู สร้าง
ขึ้นมาเพือ
่ นาเอามาใช้
ให้เกิดผลทางอานาจในการครอบงาผูอ
้ ื่น
ไม่มีอะไรจริง
“ ไม่มีข้อเท็จจริง ไม่มีความ
เป็นจริง
มีแต่การตีความเท่านั้นเอง ”
NIETZSCHE
ปฏิเสธ Meta-narrative
 Meta-narrative หมายถึง โลกทัศน์ที่ครอบคลุมทุก
ด้านแบบเบ็ดเสร็จ (comprehensive worldview)
ที่ยอมรับกันว่าเป็นสิ่งที่ถก
ู ต้อง เป็นความจริง เป็นการ
เข้าใจโลกและสังคม
อย่างแท้จริง (“true” understanding)
ในความหมายนี้ meta-narrative (อภิมหานิยาย)
ครอบคลุม :
- คาสอนทางศาสนาของโลก
- ระบบคิดทางปรัชญา (เช่น มนุษยนิยม มาร์กซิสม์,
ความคิดทันสมัย)
- ทฤษฎี/ แนวคิด (เช่นตลาดเสรี)
นิยาม postmodernism
“ I define postmodern as incredulity toward
meta-narratives.”
LYOTARD
- ไม่เชื่ออภิมหานิยาย
- ไม่เชือ
่ ว่า สิ่งเหล่านี้จะให้ “ความรู”้ เกี่ยวกับ
ความเป็นจริงในโลกนีไ
้ ด้
นิยาม (ต่อ)
 LYOTARD ต้องการกล่าวว่า ในโลกนี้ ไม่มี
ระบบกติกา นิยาย เรื่องราว หรือทฤษฎีใด ๆ มา
อธิบายความรูแ
้ ละการสื่อสารของผูค
้ นในสังคมได้
อย่างถูกต้อง ไม่มีสัจจธรรม อันเป็นสากลและ
นิรันดร ถ้ามีเราก็คงเข้าไม่ถงึ
 แทนทีจ
่ ะลุม
่ หลงใน totalizing meta-narratives
เราควรให้ความสาคัญแก่การสร้าง วาทกรรมอานาจ ให้มีความหลากหลาย (powerdiscourse) หรือ สร้าง “เกมภาษา” (language
games) ที่หลากหลาย ภายในบริบทของท้องถิน
่
นิยาม (ต่อ)
 นักคิดแนว postmodern ต้องการจะบอกว่า ไม่มี
ระบบคิด/ ทฤษฎีไหนทีจ
่ ะมีอภิสิทธิอ
์ ยู่เหนือ
ทฤษฎีอน
ื่ ๆ
 กระแสหลัก : บอกว่า
ความรู้ในโลกนีม
้ ี
ความรู้เดียวเท่านัน
้
นั่นคือ ความคิดแบบ
วิทยาศาสตร์
 การอ้างความชอบธรรม “ผูกขาดความรู้” เป็น
การเมืองแบบ
นิยามใหม่ อย่างต่อเนื่อง
 Lyotard ย้าว่า postmodern เป็นเรือ
่ งของความรูส
้ ก
ึ
- ไร้พลังอานาจ
- สิ้นหวัง
- มีความทุกข์เศร้าใจ
เป็นความรูส
้ ก
ึ เกีย
่ วกับความผันแปรของชีวต
ิ
 “ในอดีตมีหลายสิ่งหลายอย่าง ที่เคยท้าทายเราสร้าง
ความประทับใจให้แก่เรา ทาให้โลกทัศน์และความคิดของ
เราเปลีย
่ นไป แต่มาบัดนี้ เรากาลังหันกลับไปท้าทาย
และปฏิเสธสิง่ เหล่านัน
้ ...”
Lyotard : The Postmodern Condition : A Report on
knowledge
1984
อานาจ / ความรู้
 Lyotard บอกว่า ความรูแ
้ ละอานาจเป็น 2 ด้าน
ของคาถามเดียวกัน :
- ใครเป็นคนกาหนดว่า อะไรคือความรู้ ?
- ใครเป็นคนรู้ ว่าต้องการจะกาหนดอะไร ?
ปัญหาของความรู้ จึงเป็นปัญหาของอานาจ
- ใครเข้าถึงความรู้ ?
เกมภาษา
 นักปรัชญา WITTGENSTEIN วิเคราะห์วา่ ใน
โลกนี้
มี “วาทกรรม” หลายแบบ (different
modes of discourse) รูปแบบทีห
่ ลากหลาย
ของการแสดงออกซึง่ คาพูด เราเรียกว่า
language games “เกมภาษา” ผู้เล่น จะต้อง
มาร่วมกัน สร้างกฎกติกา เกมทุกเกม ย่อมต้องมี
กติกาการเล่น
 หนทางไปสู่ความรู้ มีหลากหลาย เกมภาษาก็
หลากหลายเช่นกัน
ขึ้นอยูก
่ ับบริบทท้องถิ่น และกาลเวลาปัจจุบัน
แนวการวิเคราะห์ แบบ
postmodern
1. พิจารณา แนวคิดทฤษฎี ความคิดต่างๆ วัตถุ
ต่าง ๆ สรรพสิง่ ทีเ่ ราต้องการรู้ มองว่าสิง่ เหล่านี้
คือ “ข้อความ” เราต้องทาการ “ตีความ” หา
ความหมายให้ได้ (ข้อความ / ตัวบท = text)
2. มองดูวา่ ในข้อความเหล่านั้นมีคาพูดที่
แตกต่างกัน อยู่ตรงข้ามกัน อะไรบ้าง : ก้าวหน้า/
ล้าหลัง ความดี/ ความชั่ว เรื่องจริง/ นิยาย ฯลฯ
3. ทาการ “รื้อถอน” = deconstruct : โดย
แสดงให้เห็นว่า
แนวการวิเคราะห์ (ต่อ)
4. ค้นหาดูขอ
้ ความบางอย่าง ที่ซ่อนเร้น หรือ
หายไป (ไม่ถก
ู นามาเสนอ) หรือ ถูกตัดตอน
บางส่วน
 คาสาคัญ : deconstruction หมายถึง
ทฤษฎีทบ
ี่ อกว่า ข้อความ 1 มีหลายความหมาย
(ไม่ได้มีความหมายคงที่
เพียงความหมาย
เดียว) ผู้อ่านจะเป็นผูก
้ าหนดว่า
หมายความว่าอะไร
จิตวิญญาณ / จุดยืนแบบ
postmodern
 มีความเชือ
่ ในเรือ
่ ง ความหลากหลายทาง
ความคิด
 มีจิตใจเน้นการวิพากษ์ (critical)
 ทาการตรวจสอบความคิดอย่างต่อเนือ
่ ง และ
รื้อถอนอย่างไม่หยุดยัง้ เกี่ยวกับความเชื่อ
ความคิด / ทฤษฎีทเี่ รายอมรับเน้นความ
แตกต่างหลากหลายโดยกระบวนการคิดแบบ
รื้อถอน คิดใหม่
วิพากษ์ไม่ขาดสาย
อนาคตมืดมน
 ประวัตศ
ิ าสตร์ความรู้ บอกเราว่า ไม่มท
ี ฤษฎีไหน
เสร็จสมบูรณ์ (final) ทุกอย่างเป็นเรือ
่ งชัว
่ คราว
 LYOTARD มองว่า ทุนนิยมเป็นตัวการสร้าง
ปัญหาใหญ่
: ความรูก
้ ลายเป็นสินค้ามีไว้ซื้อขายในตลาด
ความรูไ
้ ด้กลายเป็นสิ่ง
ที่รับใช้ระบบทุนนิยม
 เราต้องการความรู้
เพราะว่าเราจะเอาความรู้
อนาคต (ต่อ)
 เมื่อถึงจุดจุดหนึง่ จะเกิด “วิกฤติความรู”้ นาไปสู่
การแสวงหา ความรูใ
้ หม่
 Postmodernism คือ การแสวงหาความรู้ใหม่
และ new way of knowing : ไม่ใช่รส
ู้ ิ่งทีร่ ู้
แล้ว
หากแต่เป็นการรู้ ถึงสิ่งทีไ
่ ม่อาจรูไ
้ ด้
 นี่คือความหมายใหม่ ของคาว่า “ความรู”้ ของ
LYOTARD
ปรัชญาความรู้ :
ความรูค
้ อ
ื อะไร ? เพื่อใคร ?
ตอนที่ 4
ผศ. ดร. จิตรกร โพธิ์งาม
วิถีใหม่ แห่ งการพฒนา :
ทฤษฎีการพฒนา และยุทธศาสตร์ การพฒนา
แนวคิดทฤษฎี
ว่าด้วยวิถีใหม่แห่งการพัฒนา
 ความหมายของการพัฒนา
 ทฤษฎีจริยธรรมของการพัฒนา
(development ethics)
 เศรษฐศาสตร์การเมืองว่าด้วยการพัฒนา
(political economy of development)
แนวคิด (ต่อ)
 จริยธรรมแห่งการพัฒนาและสิ่งแวดล้อม
 การพัฒนาแนวนิเวศ (eco-development)
 นิเวศวิทยาการเมืองแนวราดิคัล (radical
political ecology)
 เศรษฐศาสตร์การเมืองสีเขียว (green
political economy)
แนวคิด (ต่อ)
 การพัฒนาสังคม และการวิเคราะห์แนว
จริยธรรม
 แนวการสร้างองค์ความรู้ใหม่เกี่ยวกับการ
พัฒนา
 ความหลากหลายทางวิธีวท
ิ ยา
(methodological pluralism)
 การวิเคราะห์แนวสถาบันนิยม
แนวคิด (ต่อ)
 การพัฒนาทางเลือก (alternative
development)
 นิเวศวิทยาเพือ
่ การปลดปล่อย (liberation
ecology)
 ภาคผนวก : ปรัชญาและวิธีวท
ิ ยาของ
เศรษฐศาสตร์ทางเลือก
ยุทธศาสตร์การพัฒนา
 อุดมการณ์และยุทธศาสตร์การพัฒนา
- ทุนนิยม
- สังคมนิยม
 โลกาภิวต
ั น์และการครอบงาของอุดมการณ์
เสรีนย
ิ มใหม่ (neoliberalism)
 ยุทธศาสตร์การพัฒนา กับแนวทางของ
Washington Consensus
ยุทธศาสตร์ (ต่อ)
 การพัฒนาแบบยัง่ ยืน (sustainable
development)
 ยุทธศาสตร์การพัฒนาแบบเศรษฐกิจพอเพียง
 ยุทธศาสตร์การพัฒนาชนบท และการพัฒนา
ภูมิภาค
ทางเลือกใหม่
 Post – Marxism และ Eco – Socialism
 เศรษฐศาสตร์ของชาวพุทธ และการพัฒนา
แนวพุทธ
 แนวคิดใหม่ POST – DEVELOPMENT
 บทสรุป
ทางเลือกใหม่ (ต่อ)
 TEK (Traditional Ecological
Knowledge)
- ความรูแ
้ บบจารีต ภูมิปัญญาพื้นบ้าน
และการพัฒนาท้องถิน
่
- ความรูแ
้ ละการศึกษาแบบสหวิทยาการ
 บทสรุป : จากโลกาภิวฒ
ั น์ สู่ ความรู้
ท้องถิน
่
ภาคผนวก
COMPARISONS BETWEEN TRADITIONAL & SCIENTIFIC
KNOWLEDGE
Table 1 – Comparisons between traditional and scientific
knowledge styles
________________________________________________
Indigenous Knowledge
Scientific Knowledge
________________________________________________
assumed to be the truth
assumed to be a best
approximation
________________________________________________
sacred and secular
secular only
together
________________________________________________
_______________________________________________
Indigenous Knowledge
Scientific Knowledge
_______________________________________________
Teaching through
didactic
storytelling
________________________________________________________
learning by doing and
learning by formal
experiencing
education
________________________________________________________
oral or visual
written
________________________________________________________
Integrated, based on a
analytical, based on
whole system
subsets of the whole
________________________________________________________
intuitive
model-or hypothesisbased
_______________________________________________
-------------------------------------------------------------------------------------Indigenous Knowledge
Scientific Knowledge
-------------------------------------------------------------------------------------holistic
reductionist
_____________________________________________________________
subjective
objective
_____________________________________________________________
experiential
positivist
--------------------------------------------------------------------------------------
Table 2 – Comparisons between traditional and scientific
knowledge in use
___________________________________________________
Indigenous Knowledge
Scientific Knowledge
___________________________________________________
lengthy acquisition
rapid acquisition
_____________________________________________________________
long-term wisdom
short-term prediction
_____________________________________________________________
powerful prediction in
local areas
powerful predictability
in natural principles
_____________________________________________________________
weak in predictive
principles in distant areas
weak in local areas of
knowledge
_____________________________________________________________
models based on cycles
linear modeling as first
approximation
___________________________________________________
---------------------------------------------------------------------------------------------------------
Indigenous Knowledge
Scientific Knowledge
--------------------------------------------------------------------------------------explanations based on
explanations based on
examples, anecdotes,
hypothesis, theories,
parables
laws
______________________________________________________________
Classification :
Classification :
• a mix of ecological and
* based on phylogenic
use
relationships
• non-hierachical
* hierarchical
differentiation
differentiation
• Includes everything
* excludes the
natural and supernatural
supernatural
____________________________________________________
Post-Structuralism or Nothing
Under heaven all can see beauty as beauty
only because there is ugliness.
Therefore having and not having arise together.
Difficult and easy complement each other.
Long and short contrast each other.
High and low rest upon each other.
Voices and sound harmonize each other.
Front and back follow one another.
Therefore the sage goes about doing nothing,
teaching no-talking.
The ten thousand things rise and fall without cease,
Creating, yet not possessing,
Working, yet not taking credit.
Work is done, then forgotten.
Therefore it lasts forever.
- Tao Te Ching (Feng trans.)
THE END
Download