• MATTER is is anything which has weight and occupies space.ต้ องการที่อยู่ • Matter is all things that we can see, feel, and smell in our daily living. • Chemistry is the study of matter. Matter is the "stuff“สิง่ ที่ all around us. • • • • Matter is everything around you. Matter is anything made of atoms and molecules. Matter is anything that has a mass. Matter is also related to light and electromagnetic radiation. Even though matter can be found all over the universe, you usually find it in just a few forms. As of 1995, scientists have identified five states of matter. • They may discover one more by the time you get old. • Matter can be classified in to two broad categories: pure substances and mixtures. Pure substances -Elements - all the same type of atom. -Compounds - substances made from two or more different kinds of atoms Changing States of Matter สาร และ สมบัติของสาร • สสาร ( Matter ) หมายถึง สิง่ ที่มีมวล ต้ องการที่อยู่ และ สามารถสัมผัสได้ โดยประสาทสัมผัสทัง้ 5 เช่น ดิน น ้า อากาศ • ภายในสสารเป็ นเนื ้อของสสาร เรี ยกว่า สาร ( Substance ) • นักวิทยาศาสตร์ เรี ยกสสารที่ร้ ูจกั ว่า สาร • สาร ( Substance ) คือ สสารที่ทราบสมบัติ หรื อ สสารที่ จะศึกษา ดังนันจึ ้ งเป็ นสสารที่เฉพาะเจาะจง ซึง่ จะมีสมบัติของ สาร • สมบัตขิ องสาร หมายถึง ลักษณะเฉพาะตัวของ สาร เช่น เนื ้อสาร สี กลิน่ รส การนาไฟฟ้า การ ละลายน ้า จุดเดือด จุดหลอมเหลว ความเป็ นกรด – เบส เป็ นต้ น Physical Properties: • Physical properties can be observed or measured without changing the composition of matter. Physical properties are used to observe and describe matter. • Physical properties include: appearance, texture, color, odor, melting point, boiling point, density, solubility, polarity, and many others. • Sublimation: • Iodine has a relatively unique property in that it can change directly from a solid to a gaseous state without going through the liquid state. As the iodine is heated it undergoes a physical change to the gas state as shown in the graphic on the left. Iodine in the gas state is a beautiful violet color. • Physical Changes: • A physical change takes place without any changes in molecular composition. The same element or compound is present before and after the change. The same molecule is present through out the changes. Physical changes are related to physical properties since some measurements require that changes be made. • Melting Point: As solid matter is heated it eventually melts or changes into a liquid state at the melting point. Ice (a solid form of water) melts at 0 oC and changes to the liquid state. • Carbon dioxide melts at -56.6oC • Boiling Point: As the liquid matter is heated further it eventually boils or vaporizes into a gas at the boiling point. • Liquid water boils and changes into a gas, usually called steam or water vapor at 100 oC. In all three states the same molecules of water (H2O) are present. • Carbon dioxide boils at -78.5oC • Dry ice as a solid is changing to the gaseous state. The molecules of CO2 are present throughout. Chemical Properties: • Chemical properties of matter describes its "potential" to undergo some chemical change or reaction by virtue of its composition. What elements, electrons, and bonding are present to give the potential for chemical change. • It is quite difficult to define a chemical property without using the word "change". Eventually you should be able to look at the formula of a compound and state some chemical property. At this time this is very difficult to do and you are not expected to be able to do it. • For example hydrogen has the potential to ignite and explode given the right conditions. This is a chemical property. • Metals in general have they chemical property of reacting with an acid. Zinc reacts with hydrochloric acid to produce hydrogen gas. This is a chemical property. • Magnesium reacts with oxygen from the air producing an extremely bright flame. This is a chemical change since magnesium oxide has completely different properties than magnesium metal shown on the left. Safety: Do not try this without supervision and DO NOT LOOK DIRECTLY AT THE LIGHT! • Reactions: • Alka-Seltzer: (Baking soda or sodium bicarbonate) NaHCO3 + Citric acid ---> CO2 + H2O + Sodium Citrate • Reaction: Efferdent: (sodium perborate - a source of hydrogen peroxide) = H2O2 + catalyst ---> O2 + H2O • What are the general properties of matter? • Matter is defined as a physical substance having mass and volume. Because of these two properties, it will also have weight (due to gravity acting on its mass) and density (the ratio of mass to volume). The mass also implies inertia, as energy must be applied to affect the motion of matter. For chemical analysis, What are the general properties of matter? • the fundamental properties are: • • • • • • INERTIA - resistance to motion due to mass MASS - the amount of matter in an object VOLUME - the amount of space an object takes up WEIGHT - a measure of the pull of gravity on an object DENSITY - mass per unit of volume SPECIFIC GRAVITY - density compared to a standard (water) • SPECIFIC HEAT - energy required to raise the matter's temperture • นักวิทยาศาสตร์ แบ่ งสมบัตขิ องสารออกเป็ น 2 ประเภท • 1.สมบัตทิ างกายภาพ หรือสมบัตทิ างฟิ สิกส์ ( physical properties ) หมายถึง สมบัตขิ องสารที่ สามารถสังเกตได้ จากลักษณะภายนอก หรือจากการทดลองที่ ไม่ เกี่ยวข้ องกับปฏิกิริยาเคมี เข่ น สถานะ เนือ้ สาร สี กลิ่น รส ความหนาแน่ น จุดเดือด จุดหลอมเหลว การนาไฟฟ้า การละลายนา้ ความแข็ง ความเหนียว เป็ นต้ น • 2.สมบัตทิ างเคมี ( chemical properties ) หมายถึง สมบัตทิ ่ เี กี่ยวข้ องกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีและองค์ ประกอบทาง เคมีของสาร เช่ น การติดไฟ การผุกร่ อน การทาปฏิกิริยากับนา้ การทาปฏิกิริยากับกรด – เบส เป็ นต้ น • การเปลี่ยนแปลงของสาร แบ่ งออกเป็ น 2 รูปแบบ คือ • 1. การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ ( Physical Change ) หมายถึง การเปลี่ยนแปลงของสารที่เกี่ยวกับสมบัตกิ ายภาพ โดยไม่ มีผลต่ อ องค์ ประกอบภายใน และ ไม่ เกิดสารใหม่ เช่ น การเปลี่ยนสถานะ , การละลายนา้ 2. การเปลี่ยนแปลงทางทางเคมี (Chemistry Change) • หมายถึง การเปลี่ยนแปลงของสารที่เกี่ยวข้ องกับสมบัตทิ างเคมี ซึ่งมี ผลต่ อองค์ ประกอบภายใน และจะมีสมบัตติ ่ างไปจากเดิม นั่นคือ การ เกิดสารใหม่ เช่ น กรดเกลือ ( HCl ) ทาปฏิกิริยากับลวดแมกนีเซียม ( Mg ) แล้ วเกิดสารใหม่ คือ ก๊ าซไฮโดรเจน ( H2 ) • การจาแนกประเภทของสาร • โดยทัว่ ไปนิยมใช้ สมบัติทางกายภาพด้ านใดด้ านหนึ่งของสาร เป็ นเกณฑ์ เช่น • 1.ใช้ สถานะเป็ นเกณฑ์ จะแบ่งสารออกได้ เป็ น 3 กลุม่ คือ 1.1 ของแข็ง ( solid ) 1.2 ของเหลว ( liquid ) 1.3 ก๊าซ ( gas ) • 2.ใช้ ความเป็ นโลหะเป็ นเกณฑ์ แบ่งได้เป็ น 3 กลุ่ม คือ 2.1 โลหะ ( metal) 2.2 อโลหะ ( non-metal ) 2.3 กึ่งโลหะ ( metaliod ) • 3. ใช้ การละลายนา้ เป็ นเกณฑ์ แบ่งได้ 2 กลุ่ม คือ 3.1 สารที่ละลายน้ า 3.2 สารที่ไม่ละลายน้ า • 4. ใช้ เนือ้ สารเป็ นเกณฑ์ แบ่งออกเป็ น 2 กลุ่ม คือ 4.1 สารเนื้อเดียว ( homogeneous substance ) 4.2 สารเนื้อผสม ( heterogeneous substance ) • อนุภาคของสาร • ในปี พ.ศ. 2348 ( ค.ศ. 1805 ) จอห์น ดาลตัน นักวิทยาศาสตร์ ชาวอังกฤษได้ เสนอแนวคิดว่า “ อนุภาคที่เล็ก ที่สดุ ของสารซึง่ ไม่สามารถแบ่งย่อยให้ เล็กลงได้ อีก เรี ยกว่า อะตอม “ และต่อมานักวิทยาศาสตร์ ได้ ศกึ ษาค้ นคว้ าเกี่ยวกับ อะตอมและอนุภาคของสารมากขึ ้นทาให้ ทราบว่าอนุภาคของ สารที่สาคัญมี 3 ชนิด คือ • 1. อะตอม ( atom ) เป็ นอนุภาคของสารที่เล็กที่สดุ ที่อยู่ ตามลาพังได้ ยาก ดังนันอะตอมมั ้ กจะอยูร่ วมกันเป็ นอนุภาคที่ ใหญ่ขึ ้น เรี ยกว่า “ โมเลกุล “ • เช่น อะตอมของออกซิเจน ( O ) จะรวมกันเป็ นโมเลกุลของ แก๊ สออกซิเจน ( O2 ) , • อะตอมของไฮโดรเจน( H ) รวมกับอะตอมของออกซิเจน ( O ) เป็ นโมเลกุลของน ้า ( H O2 ) เป็ นต้ น • • หรื ออะตอมอาจรวมกันเป็ นโครงสร้ างขนาดใหญ่เรี ยกว่า “ โครงผลึกหรื อผลึก “ เช่น คาร์ บอน ( C ) จะอยู่รวมกันใน ธรรมชาติเป็ นโครงผลึกขนาดใหญ่และมีความแข็งแรงมาก ในรูปของเพชรหรื อแกรไฟต์ • การศึกษาเกี่ยวกับอะตอมของธาตุนิยมใช้ สญ ั ญลักษณ์แทน การเรี ยนชื่อธาตุ • โดยใช้ อกั ษรตัวแรกและตัวอักษรถัดไปในภาษาอังกฤษหรื อ ภาษาละติน แต่การอ่านชื่อธาตุอา่ นเป็ นภาษาอังกฤษเสมอ เช่น ธาตุไฮโดรเจน ชื่อภาษาอังกฤษ hydrogen สัญลักษณ์ H เป็ นต้ น • 2. โมเลกุล ( molecule ) หมายถึงอนุภาคที่เล็กที่สดุ ของ สารที่สามารถอยูใ่ นธรรมชาติได้ อย่างอิสระ โมเลกุลเกิดจาก อะตอมตังแต่ ้ 2 อะตอมขึ ้นไปมารวมกันในทางเคมี และเขียน แทนโมเลกุลด้ วยสัญลักษณ์ของอะตอมที่มารวมกันนี ้ว่า สูตร เคมี เช่น โมเลกุลของน ้า สูตรโมเลกุล คือ H O2 • 3. ไอออน ( ion ) หมายถึงอะตอมหรื อกลุม่ ของอะตอมที่มี ประจุไฟฟ้า มี 2 ชนิด คือ ไอออนบวก และไอออนลบ เช่น H - (ไฮโดรเจนไอออน ) , Na+ ( โซเดียมไอออน ) เป็ นต้ น Atoms vs. Molecules –Atoms - the smallest piece of matter you can have that chemists can do reactions with is an atom. Each element has it's own type of atom. How to distinguish between atoms will be explained in a later unit. –Molecules - two or more atoms bonded together with a covalent bond (more on that bond later) is called a molecule. • If all the atoms bonded together are of the same time the molecule formed is still an element. • If different types of atoms are bonded together, then the molecule formed is a compound. a single atom (of an element) a molecule (of an element) a molecule (of a compound) Note: Atoms don't have a color. The colors here are used to differentiate between kinds of atoms. • สารบริ สทุ ธิ์ ( Pure Substance ) คือ สารเนื ้อเดียวที่มี จุดเดือด และ จุดหลอมเหลวคงที่ • ธาตุ ( Element ) คือ สารบริ สทุ ธิ์ที่ประกอบด้ วยอะตอม เพียงชนิดเดียวกัน เช่น คาร์ บอน ( C ) , กามะถัน ( S8 ) • สารประกอบ ( Compound Substance ) เกิดจาก ธาตุตงแต่ ั ้ 2 ชนิดขึ ้นไปมารวมกัน โดยมีอตั ราส่วนในการ ร่วมกันคงที่แน่นอน ได้ แก่ กรดน ้าส้ ม ( CH3COOH ) , กรดไฮโดรคลอริ ก ( HCl ) ฯลฯ สารเนื้อเดียว • สารเนือ้ เดียว (Homogeneous substance) ......คือสารที่มีองค์ประกอบภายในเหมือนกัน มองเห็นเป็ นเนื ้อ เดียวกัน แบ่งออกได้ เป็ น สารบริ สทุ ธิ์ สารละลาย ตัวอย่างเช่น น ้า น ้าเกลือ สารหนู • นักวิทยาศาสตร์ จาแนกสารเนือ้ เดียวออกเป็ น 2 ประเภท คือ • 1.สารบริสุทธิ์ ( Pure Substance ) เป็ นสาร เนื ้อเดียวที่ประกอบด้ วยสารเพียงอย่างเดียว ไม่มีสารอื่นเจือปน ได้ แก่ ธาตุและสารประกอบ • 2.สารไม่ บริสุทธิิ ิ์ เป็ นสารเนื ้อเดียวที่ ประกอบด้ วยสารบริ สทุ ธิ์ตงแต่ ั ้ 2 ชนิดขึ ้นไปด้ วยอัตราส่วนที่ไม่ แน่นอน ไม่มีปฏิกิริยาเคมีเกิดขึ ้น สารที่เกิดใหม่จะมีสมบัติไม่ คงที่ขึ ้นอยูก่ บั ปริ มาณของสารบริ สทุ ธิ์ที่นามาผสมกัน ได้ แก่ สารละลาย คอลลอยด์ • สารบริสุทธิ์ หมายถึง สารเนื ้อเดียวที่มีองค์ประกอบ เพียงชนิดเดียว มีสมบัติเหมือนกัน แบ่งเป็ น ธาตุ และ สารประกอบ • สารประกอบ = น ้าตาลทราย เกลือแกง น ้า กรดเกลือ เป็ นต้ น • 1.1 ธาตุ • ธาตุ คือ สารบริ สทุ ธิ์ที่ประกอบด้ วยธาตุหรื อสารชนิดเดียว ไม่ สามารถแยกหรื อสลายออกเป็ นสารอื่นได้ เช่น เงิน ทอง คาร์ บอน ออกซิเจน เป็ นต้ น ในปั จจุบนั มีการค้ นคว้ าพบธาตุ ประมาณ 107 ธาตุ เป็ นธาตุที่เกิดขึ ้นเองตามธรรมชาติ 92 ธาตุ ที่เหลือเป็ นธาตุที่สงั เคราะห์ขึ ้นในห้ องทดลอง ธาตุจาแนก ออกเป็ น 3 ชนิด ดังนี ้ • 1) โลหะ • 2) อโหะ • 3) ธาตุกงึ่ โลหะ • 1) โลหะ มีสถานะเป็ นของแข็งที่อณ ุ หภูมิปกติ ยกเว้ นปรอทที่เป็ นโลหะแต่อยูใ่ น สถานะของเหลว โลหะจะมีผิวเป็ นมันวาว มีจดุ เดือดสูง และนาไฟฟ้าได้ ดี โลหะบางชนิดเป็ นสารแม่เหล็ก ตัวอย่างของธาตุโลหะ เช่น เหล็ก ทองแดง สังกะสี แมกนีเซียม เป็ นต้ น • 2) อโหะ เป็ นได้ ทง3 ั ้ สถานะ คือ ของแข็ง ของเหลว และก๊ าส เช่น กามะถันเป็ นของแข็งสีเหลือง ธาตุโบรมีนเป็ นของเหลวสีแดง และคลอรี น เป็ นก๊ าสสีเขียวอ่อน อโลหะส่วนใหญ่มีสมบัติตรงข้ ามกับโลหะ เช่น เปราะ ไม่ นาไฟฟ้า มีจดุ เดือดต่า • 3) ธาตุกึ่งโลหะ เป็ นธาตุที่มีสมบัติกึ่งโลหะและอโลหะ เช่น โบรอนเป็ น ของแข็งสีดา เปราะ ไม่นาไฟฟ้า มีจดุ เดือดสูงถึง 4,000 องศาเซลเซียล ธาตุ ซิลคิ อน เป็ นของแข็งสีมนั วาว เปราะ นาไฟฟ้าได้ เล็กน้ อย มีจดุ เดือด 3,265 องศาเซลเซียล • 2. สารประกอบ สารประกอบ คือ สารที่ ประกอบด้ วยธาตุตงแต่ ั ้ 2 ชนิด ขึ ้นไป มาทาปฏิกิริยา เคมีกนั ด้ วยสัดส่วนที่แน่นอน กลายเป็ นสารชนิดใหม่ มี สมบัติแตกต่างไปจากธาตุที่เป็ นองค์ประกอบเดิม ตัวอย่างของสารประกอบ เช่น เกลือแกง น ้า คาร์ บอนไดออกไซด์ แอมโมเนียม เป็ นต้ น • สารประกอบ ( Compound ) เป็ นสารบริ สทุ ธิ์ที่ ประกอบด้ วยอะตอมของธาตุตงแต่ ั ้ 2 ชนิดขึ ้นไปมารวมกันทาง เคมีด้วยอัตราส่วนที่คงที่เกิดเป็ นสารชนิดใหม่ที่มีสมบัติแตกต่าง ไปจากเดิมอย่างเด่นชัด • เช่น โซเดียมคลอไรด์ • โซเดียม ( Na ) เป็ นโลหะสีเงินอ่อน-ขาวทาปฏิกิริยากับน ้า กับ คลอรี น ( Cl ) เป็ นแก๊ สพิษสีเหลือง-อมเขียว มีกลิ่นฉุนว่องไวต่อ ปฏิกิริยา เมื่อนามารวมกันทางเคมี จะได้ โซเดียมคลอไรด์ ( NaCl ) หรื อเกลือแกง ซึง่ เป็ นของแข็งสีขาว รสเค็ม ละลายน ้า ได้ ดี รับประทานได้ เป็ นต้ น • โดยทัว่ ไปสัญญลักษณ์ที่ใช้ เขียนแทนชื่อสารประกอบจะอยูใ่ นรูป ของสูตรโมเลกุล สารประกอบ สูตรโมเลกุล อัตราส่ วนของธาตุท่ เี ป็ น องค์ ประกอบ น ้า H:O=2:1 คาร์ บอนไดออกไซด์ C:O=1:2 โซเดียมไฮดรอกไซด์ Na : O : H = 1 : 1 : 1 กลูโคส C:H:O=1:2:1 Mixtures – Homogeneous • Mixtures which are the same throughout with identical properties everywhere in the mixture. • Not easily separated. • This type of mixture is called a solution. A good example would be sugar dissolved in water or some type of metal alloy like the CROmium-MOLYbdenum steel used in many bike frames. – Heterogeneous • Mixtures which have different properties when sampled from different areas. • Examples of this would be sand mixed with water or peanuts mixed with raisins. • ของผสม ( Mixture ) หมายถึง สารที่เกิดจากการนาสาร ตังแต่ ้ 2 ชนิดขึ ้นไปมาผสมกันโดยไม่จากัดส่วนผสม และ ใน การผสมกันนันไม่ ้ มีปฏิกิริยาเกิดขึ ้น ได้ แก่ 1. สารละลาย ( Solution Substance ) เป็ นสาร เนื ้อเดียวที่มีสดั ส่วนในการรวมกันของธาตุ หรื อ สารประกอบ ไม่คงที่ไม่สามารถเขียนสูตรได้ อย่างแน่นอน และ มีขนาด อนุภาคที่เล็กกว่า 10-7 เซนติเมตร ซึง่ มี 3 สถานะ เช่น อากาศ , น ้าอัดลม , นาก , และ โลหะผสมทุกชนิด • 2. สารแขวนลอย ( Suspension Substance ) คือ สารที่เกิดจากอนุภาคขนาดเส้ นผ่าศูนย์กลางที่มากกว่า 10-4 เซนติเมตร ซึง่ จะลอยกระจายอยูใ่ นตัวกลางโดยอนุภาคที่ มีอยูใ่ นของผสมนันมี ้ ขนาดใหญ่ จึงสามารถมองเห็นอนุภาค ในของผสมได้ อย่างชัดเจน เมื่อตังทิ ้ ้งไว้ อนุภาคจะตกตะกอนลงมา ซึง่ สารแขวนลอยนันจะไม่ ้ สามารถผ่านได้ ทงกระดาษกรอง ั้ และ กระดาษเซลโลเฟน เช่น โคลน , น ้าอบไทย • 3. คอลลอยด์ ( Colliod ) จะประกอบด้ วยอนุภาค ขนาดเส้ นผ่าศูนย์กลางระหว่าง 10-4 และ 10-7 เซนติเมตร ซึง่ จะไม่มีการตกตะกอน สามารถกระเจิงแสงได้ ซึง่ เรี ยก ปรากฏการณ์นี ้ว่า " ปรากฏการณ์ทินดอลล์ " และ ภายใน อนุภาคก็มีการเคลื่อนที่แบบบราวน์เนียน ( Brownian Movement ) กล่าวคือ เป็ นการเคลื่อนที่ที่ไม่แน่นอน ใน แนวเส้ นตรง ซึง่ จะสามารถส่องดูได้ จากเครื่ องที่เรี ยกว่า " อัลต ราไมโครสโคป " ( Ultramicroscope ) ซึง่ คอลลอยด์ จะสามารถผ่านกระดาษกรองได้ แต่ไม่สามารถผ่านกระดาษ เซลโลเฟนได้ เช่น กาว , นมสด คาถาม • 1. สารใดเป็ นสารเนื ้อเดียว • ก. ข้ าวเหนียวน ้ากะทิ ข. เกลือปนน ้าตาล ค. พริกป่ นปนเกลือ ง. ผงเหล็กในกองเหล็ก • 2. ข้ อใดเป็ นสารเนื ้อผสม • ก. น ้าตาลทราย น ้า อากาศ ข. น ้าส้ มสายชู ด่างทับทิม น ้าหอม ค. น ้าปนน ้ามัน พริกป่ นปนน ้าปลา พริกน ้าส้ ม ง. ทองเหลือง เกลือแกง ดีบกุ • 3. โลหะผสมจัดเป็ น • ก. สารละลาย ข. สารประกอบ ค. ของผสม ง. ธาตุ • 4. สารบริ สทุ ธิ์ที่ประกอบด้ วยอะตอมชนิดเดียวกันล้ วน คือ • ก. ธาตุ ข. สารประกอบ ค. ของผสม ง. สารละลาย • 5. สารกลุม่ ใดต่อไปนี ้จัดเป็ นสารบริสทุ ธิ์ • ก. น ้าเชื่อม หินปูน โซเดียมคลอไรด์ ข. น ้าตาลทราย ปรอท คอปเปอร์ ซลั เฟต ค. น ้าคลอง น ้ามันก๊ าด น ้ามันพืช ง. ทองแดง กามะถัน อากาศ • 6. อโลหะที่เป็ นของเหลวที่อณ ุ หภูมิปกติคือ ก. ไอโอดีน ข. โบรมีน ค. ฟลูโอรี น ง. ปรอท • 10. ก๊ าซที่เบาที่สดุ ไม่มีสีไม่มีกลิ่นจุดไฟติดใน อากาศ คือ • ก.ไฮโดรเจน ข.ขออกซิเจน ค.คาร์ บอนไดออกไซด์ ง.ไนโตรเจน • http://www.thaigoodview.com/library/teachershow /prachinburi/nonglak-bo/san/pretest.html • http://e-chemistry.tripod.com/sasan/s2_1.htm • http://thipjinda.brinkster.net/chem-matt.htm • th.winelib.com/wiki/%25E0%25B8%2...5B8%25A3 • http://www.srb1.go.th/supervie/navattagam_50/el earning/matter6.html