บทที่ 11 โพลิเมอร์ Polymers 1302 212 Engineering materials Assistant Professor Sukangkana Lee Engineering Materials 1 จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. นิยามโพลิเมอร์ ได้ ระบุและอธิบายคุณสมบัติทวไป ั ่ ของโพลิเมอร์ วิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างผลึกเมือ่ อุณหภูมิสงู ขึน้ ได้ อิบายความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติทางกลกับอุณหภูมิได้ อธิบายและวาดแสดงโครงสร้างผลึกอย่างง่ายของโพลิเมอร์ ได้ จาแนกชนิดของโพลิเมอร์ และการใช้งาน ตะหนักถึงความสาคัญของวัสดุโพลิเมอร์ ในงานทางด้านวิศวกรรม และในชีวิตประจาวัน Engineering Materials 2 1. Introduction Polymers Natural Polymers Synthetic Polymers Polymers มาจากภาษากรีก poly แปลว่า “many” และ meros แปลว่า “parts” Engineering Materials 3 Natural polymers Natural polymers are found in many forms such as horns of animals, tortoise shell, shellac (ขี้ผ้ งึ ), rosin (ชันสน), asphalt, and tar from distillation of organic materials Engineering Materials 4 One of the most useful of the natural polymers was rubber, obtained from the sap of the hevea tree (ยางพารา). Rubber was named by the chemist Joseph Priestley who found that a piece of solidified latex gum was good for rubbing out pencil marks on paper (ยางลบ). Engineering Materials 5 Synthetic Polymers Natural rubber had only limited use as it became brittle in the cold and melted when warmed. In 1839, Charles Goodyear discovered, through a lucky accident, that by heating the latex with sulfur, the properties were changed making the rubber more flexible and temperature stable. That process became known as vulcanization. Engineering Materials 6 วิวฒ ั นาการของอุตสาหกรรมโพลิเมอร์ พ.ศ. 2411 John Wesley Hyatt ค้นพบเทอร์โมพลาสติก ชนิดแรกในโลก คือ Celluloid (การบูร+เซลลูโลสไนเตรท) ปัจจุบนั นิยมนามาผลิต ลูกปิงปอง, กีตาร์ปิก แผ่นฟิล์ม ภาพยนตร์ เป็ นต้น พ.ศ. 2452 เบกคาไลท์ หรือ Phenol formadehyde (Thermosetting ชนิดแรก) ค้นพบโดย Leo Baekeland ปัจจุบนั นิยมนามาผลิต หูกระทะ ด้ามทัพพี เป็ นต้น Engineering Materials 7 บทเรียน online ประวัติและวิวฒั นาการของพลาสติก http://www.bpf.co.uk/Plastipedia/Plastics _History/Default.aspx Engineering Materials 8 การจัดเรียงตัวของโพลิเมอร์ Polymer เป็ นวัตถุอินทรีย ์ มีโมเลกุลขนาดใหญ่ที่ เกิดจาก การรวมตัวกันของดมเลกุลขนาดเล็ก ของธาตุ C, N, O, H, S, Si, F and Cl เป็ นต้น เกิดจากการสังเคราะห์จากวัสดุธรรมชาติ และ ใน ห้องปฏิบตั ิ การ Monomer 1 nm Engineering Materials Polymer chain 0.1-1 um 9 ลักษณะโมเลกุลของ Polymer มี 3 แบบ (a) เป็ นสายยาว (Linear polymer chain) 10-100 nm Engineering Materials 10 (b) สายยาวที่มีสาขา (Branched polymer chain) 10 nm Engineering Materials 11 (c) ตาข่าย 3 มิติ (Cross-linked polymer) 100 nm Engineering Materials 12 โครงสร้างของ Polymer 1. 2. Amorphous Partial Crystalline Engineering Materials 13 1. แบบอสัณฐาน (Amorphous) โครงสร้างโดยรวมเป็ น การรวมกันของโมเลกุล สายยาว ไม่มีสมมาตร เป็ นการจัดเรียงตัวของ อะตอมที่ไม่แน่ นอน เหมือนของเหลว เมื่อเราให้ความร้อน จะไม่ ปรากฎจุดหลอมเหลวที่ ชัดเจน แต่จะค่อยๆ กลายเป็ นของเหลว Engineering Materials 14 2. แบบกึง่ ผลึก (Partially crystalline) สายโมเลกุลรวมกันแบบมีสมมาตร บางส่วน ซึ่งมักจะเกิดกับโมเลกุลที่ มีสาขา เพราะสาขาเล็กๆ จะไม่ สามารถอยู่บิดเบีย้ วได้ เมื่อให้ความร้อน ความเป็ นผลึกจะ เสียไป กลายเป็ นโพลิเมอร์ที่นิ่ม จุดหลอมเหลว คือ อุณหภูมิที่ทาให้ การจัดเรียงตัวแบบผลึกหายไป Engineering Materials Folded linear amorphous 15 ปริมาณความเป็ นผลึก (%Crystallinity) จะส่งผลถึงสมบัติทางกลของโพลิเมอร์ กล่าวคือ ถ้าเป็ นผลึก มาก ก็จะมีค่า Modulus of Elasticity มากตามไปด้วย โพลิเมอร์ที่มี %crystallinity มาก จะมีความแข็งแกร่งมาก เพราะอะตอมจะอยู่ชิดกันมากกว่าโพลิเมอร์ที่มี %crystallinity น้ อย โพลิเมอร์ที่มี %crystallinity น้ อย จะสามารถดัด แอ่น ได้ มาก และมี Modulus of Elasticity น้ อย Engineering Materials 16 Semi-Crystalline ความหนาแน่นสูง ทนสารเคมี กรด ด่าง ได้ดี ทนร้อน แข็งแรง Amorphous ความหนาแน่นต่า แสงผ่านได้ เหนียว ขึน้ รูปง่าย ไม่ทนร้อน ไม่ทนแดด Engineering Materials 17 2. คุณสมบัตทิ วไป ั่ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. ความหนาแน่ นตา่ ประมาณ 0.9-1.5 g/cm3 ทนต่อสารเคมีได้ดี ทนต่อเกลือ กรด ด่าง ได้หลายชนิด ไม่ทนความร้อน พลาสติกส่วนมากจะละลายที่ 150-250 °C (ยกเว้น ซิลิโคน) เป็ นฉนวนไฟฟ้ า และฉนวนความร้อน Thermosetting plastic จะคงรูปที่อณ ุ หภูมิสงู Thermoplastic จะขึน้ รูปที่อณ ุ หภูมิต่างๆได้ Elastomer จะมีความยืดหยุ่นสูงที่อณ ุ หภูมิห้อง Engineering Materials 18 Polymerization 1. 2. กระบวนการสังเคราะห์โพลิเมอร์ เป็ นกระบวนการ ที่ทาให้โมโนเมอร์ กลายเป็ น โพลิเมอร์ แบ่งได้เป็ น 2 วิธีหลัก คือ Addition Polymerization Condensation Polymerization Engineering Materials 19 Addition Polymerization กระบวนการ addition Polymer มี สาม ขัน้ ตอนคือ 1. Initiation เป็ นการสังเคราะห์โมโนเมอร์ (Monomer) สารโมเลกุลเดี่ยวจากวัตดุ ิ บ 2. Propagation เป็ นกระบวนการที่ โมเลกุลเดี่ยวรวมตัว กันเป็ น Polymer (ตัง้ แต่ 2 monomers ขึน้ ไป) หรือ High Polymers (ไม่ตา่ กว่า 500 monomers) 3. Termination เป็ นขัน้ ตอนสุดท้ายของการปิด polymer chain เช่น ด้วย –OH or –H Engineering Materials 20 Polymerization Process เติม Monomer หลายล้านโมเลกุล และ ตัวเร่งปฏิกิริยา ใน เตา Reactor จากนัน้ ให้ความร้อน และความดันเพื่อทาลาย พันธะคู่ ของแต่ละ Monomer ให้เป็ นพันธะเดี่ยว Monomer จะทาปฏิกิริยากับโมเลกุลอื่น ต่อเป็ นสายยาว ปฏิกิริยานี้ จะเกิดขึ้นพร้อมๆ กันหลายล้านโมเลกุล จนกว่า Monomer จะหมดไป (polymer ทางการค้า ทัวไปจะมี ่ monomer ประมาณ 103 ถึง 105) ความยาวของ Polymer ที่ ไ ด้ จ ะขึ้ น อยู่ ก ับ ปริ ม าณของ H atom Engineering Materials 21 ตัวอย่าง polymerization of Polyethylene Ethylene monomer Ethane Gas 1. Initiation H H H-C-C-H H H Heat, Pressure 2. Propagation Ethylene monomer H2 3. Termination + H H C=C + H2 H H Rearrangement of double bond H H Heat, Pressure C=C Catalyst H H H H C -C H H Polyethylene H H H H H H H H H H H H OH C-C C-C C-C C-C C-C C-C H H H H H H H H H H H H Terminator Engineering Materials OH 22 ความหนืด ดีกรีความเป็ นโพลิเมอร์ หรือ Degree of polymerisation วัดจาก จานวน Monomer ที่เหมือนกัน (repeated unit) ที่มาต่อกัน Commercial polymer ทัวไปจะมี ่ monomer ประมาณ 103 ถึง 105 Engineering Materials 23 2. Condensation Polymerization เกิดจากการนาโมเลกุลเดี่ยวชนิดเดียวกัน หรือต่างชนิดมา ทาปฎิกิริยาแยกน้าออก ภายใต้ความดันและอุณหภูมิ ปลายของโซ่โมเลกุลชนิดนี้ จะยังสามารถทาปฏิกิริยาได้อีก แล ะก ล า ย เ ป็ น ไ ฮ โ ม เ ล กุ ล รู ป ต า ข่ า ย 3 มิ ติ ไ ข ว้ กั น (Crosslink) O O H H II II I I OH-C-(CH2)8-C-OH + H-N-(CH2)6-N-H H2O Engineering Materials 24 Condensation Polymerization Engineering Materials 25 www.ndted.org Engineering Materials 26 3. อิทธิพลของอุณหภูมิต่อสมบัติทางกล Stress โดยทัวไป ่ ที่อณ ุ หภูมิตา่ โพลิเมอร์จะมีคณ ุ สมบัติเป็ นของแข็ง เมื่ออุณหภูมิสงู ขึน้ จะกลายเป็ น อ่อน เหนี ยว คล้ายยาง อุณหภูมิ ที่ทาให้เกิดการเปลี่ยน จาก แข็งคล้ายแก้ว ไปเป็ น เหนี ยว คล้ายยาง เรียกว่า ‘Glass transition temperature, Tg’ (เช่นเดียวกับ อุณหภูมิที่เปลี่ยนจากเหนี ยวเป็ นเปราะ ในเหล็ก) Engineering Materials Below Tg Above Tg Strain 27 กระบวนการเปลี่ยนรูปของโพลิเมอร์ Log Elastic Modulus, Nm-2 มีค่า modulus สูงสุด มีค่า modulus ตา่ ลง วัสดุจะแข็ง วัสดุจะอ่อนตัว Glassy Engineering Materials Leathery เป็ นช่วงยืดหยุ่น Rubbery เป็ นช่วงเปลี่ยนรูป ถาวร Rubbery flow กลายเป็ นของเหลว Liquid Elastomers อุณหภูมิการขึน้ รูป ของThermoplastic Tg Temperature Tm 28 (a) (b) Log Tensile Modulus Crystalline High cross-linkage Engineering Materials Tg Temperature Tm Some cross-linkage Amorphous 29 การจาแนกประเภทของโพลิเมอร์ โพลิเมอร์ พลาสติก ยาง เทอร์โมพลาสติก เทอโมเซทต้ ิ ง ยางธรรมชาติ ยางสังเคราะห์ Engineering Materials 30 4. ประเภทของพลาสติก 1. Thermoplastics เกิดจากกระบวนการ Polymerization โครงสร้างจะ เป็ น อสัณฐาน (Amorphous) คือโมเลกุลเดี่ยวต่อกัน เป็ นลู ก โซ่ ย าว พลาสติ กชนิ ดนี้ จะอ่ อ นตั ว และ สามารถขึน้ รูปได้เมื่ออุณหภูมิสงู Engineering Materials 31 ถ้าหากลูกโซ่ โมเลกุลมีการเรียงตัวขนานกันและอัดกัน แน่ นด้วย แรง Van der Waal’s force (ปลายของแต่ละ ลูกโซ่จะไม่ต่อกัน) มีความหนาแน่ นสูง พลาสติกชนิดนี้ จะมี สี ใ สเหมื อ นแก้ ว จะเหนี ย ว และแข็ง แรง รับ แรง กระแทกได้ดี ถ้าหากแนวโมเลกุลเรียงขนานกันบางช่วง ทาให้ความ หนาแน่ นตา่ แรงระหว่างโมเลกุลลดลง จะมีสีข่นุ ทึ บ แสง รับแรงกระแทกได้น้อย Engineering Materials 32 ตัวอย่าง Thermoplastics 1. Polyethylene (โพลีเอทิลีน) เรียกย่อว่า PE มีความยืดหยุ่นดี มีทงั ้ แบบอ่อน และแบบแข็ง ได้แก่ 1) 2) 3) Low Density Polyethylene (LDPE) มีความต้านทานการกัดกร่อนดี กันความชื้นได้ดี ความแข็งแรงตา่ และ มีความยืดหยุ่นสูง นิยมใช้ในการผลิต bags, bottles, and liners. High Density Polyethylene (HDPE) เป็ นกลุ่มที่นิยมใช้มากที่สดุ รับแรงกระแทกได้ดี น้าหนักเบา ดูดซับ ความชื้นน้ อย มีความแข็งแรงสูง ไม่เป็ นพิษ บรรจุอาหารได้ Ultra High Molecular Weight Polyethylene (UHMW PE) น้าหนักเบา มีความแข็งแรงสูง กลึงไสได้เช่นเดียวกับไม้ ใช้ในงาน เครื่องจักกลที่ทนต่อการสึกหรอ ต้านทานต่อแรงขัดสี และการกัดกร่อน Engineering Materials 33 2. Polyvinyl Chloride เรียกย่อว่า PVC ไม่มีสี ย้อมสีได้ ทนต่อ น้ามัน จารบี กรด และด่าง ปกติ PVC จะแข็ง แต่เมื่อผสมสาร ที่ทาให้อ่อนตัวจะฉี ดขึ้นรูปและปาดผิวได้ ถ้าเติมสารที่ทาให้ อ่อนตัวมากจะกลายเป็ น PVC อ่อน หรือหนังเทียม Ex. ท่อน้า, แผ่นพลาสติกบาง, แผ่นเสียง, ของเด็กเล่น Engineering Materials 34 3. Polypropylene เรียกย่อว่า PP มีคณ ุ สมบัติคล้ายกับ PE แต่ทนความร้อนได้สูงกว่า แต่เปราะที่อณ ุ หภูมิตา่ ใช้ในอุตสาหกรรมบรรจุภณ ั ฑ์ ชิ้นส่วนรถยนต์ ได้จากกระบวนการ polymerization ของ Propylene (C3H6) Propylene Engineering Materials สัญลักษณ์ การนากลับมาใช้ใหม่ 35 4. Acrylonitrile-Butadiene-Stryrene เรียกย่อว่า ABS เหนี ยว ทนต่อการกระแทกได้ดีความต้านแรง ดึ ง สู ง ใช้ ท าใบพั ด ลม หมวกกั น น็ อค อุ ป กรณ์ สุขภัณฑ์ 5. Polymethylmethacrylate เรียกย่อว่า PMMA หรือ plexiglass ทนแดด ทนต่ อบรรยากาศ แข็งและ เหนี ยว รอยแตกไม่แหลมคม จึงนิยมนามานาแผ่น แก้วนิรภัย ฝาครอบไฟท้าย ไฟเลี้ยวยานยนต์ Engineering Materials 36 โพลิสไตรีน (Polystyrene: PS) Polystyrene was discovered in 1839 by Eduard Simon มีลก ั ษณะโปร่งใส เปราะ ทนต่อกรดและด่าง ไอน้าและ อากาศซึมผ่านได้พอควร ใช้ทาชิ้นส่วนอุปกรณ์ไฟฟ้ า และ อิเล็กทรอนิกส์ เครื่องใช้สานักงาน เป็ นต้น Engineering Materials 37 Properties Properties Density 1050 kg/m³ Glass temperature Specific Gravity 1.05 Melting point -16 Electrical conductivity (s) 10 S/m Thermal conductivity (k) 0.08 W/(m·K) Young's modulus (E) 3000-3600 MPa Tensile strength (st) 46–60 MPa Elongation at break 3–4% Notch test 2–5 kJ/m² Engineering Materials [1] Heat transfer coefficient (Q) 95 °C 240 °C 2 0.17 W/(m K) -5 Linear expansion coefficient (a) 8x10 /K Specific heat (c) 1.3 kJ/(kg·K) Water absorption (ASTM) 0.03–0.1 Decomposition ± 2000 years 38 Expanded polystyrene is produced from a mixture of about 90-95% polystyrene and 510% gaseous blowing agent, The solid plastic is expanded into a foam through the use of heat, usually steam. Extruded polystyrene (XPS), or Styrofoam has low thermal conductivity. It is widely used as a thermal insulator in the building. Engineering Materials 39 2. Thermosetting Plastics เกิดจากการนาโมเลกุลเดี่ ยวชนิดเดี ยวกัน หรือ ต่ าง ชนิดมาทาปฎิกิริยาแยกน้ าออก ภายใต้ ความดันและ อุณหภูมิ เรียกว่า ‘Polycondensation’ ปลายของโซ่ โมเลกุลชนิดนี้ จะยังสามารถทาปฏิกิริยา ได้อีก และกลายเป็ นไฮโมเลกุลรูปตาข่าย 3 มิติไขว้กนั จะท าให้ ไ ด้ พ ลาสติ ก ที่ มี พ นั ธะที่ แ ข็ง แรง และคงรูป หลังจากการเย็นตัว Engineering Materials 40 เมื่ อ ได้ ร บั ความร้ อ นจะยื ด หยุ่น แต่ ถ้ า สูง เกิ น ไป หรื อ นาน เกิ น ไป จะท าให้ โ มเลกุล ขาดจากกัน และแข็ง เปราะ ไม่ สามารถขึน้ รูปได้ Engineering Materials 41 ตัวอย่าง Thermosetting Plastics 1. 2. 3. Unsaturated Polyester เรียกย่อว่า UP ไม่มีสี ผิวเป็ นมันเงา มีทงั ้ ที่ ยืดหยุ่นได้ และแข็งเปราะ Ex. ชิ้นส่วนตัวถังรถยนต์ และตัวเรือ Epoxy Resin เรียกย่อว่า EP ไม่มีสี และมีสีออกเหลือง เหมือนน้าผึง้ แข็งและเหนี ยว จับเกาะวัสดุทุกชนิด ทนการ กัดกร่อนได้ดีมาก Ex. ชิ้นส่วนเครื่องบิน กาว Polyurethane เรียกย่อว่า PUR โปร่งใส สีเหลืองเหนี ยว และอ่อนเหมือนยาง Ex. โพรียลู ีเทนแข็งใช้ทาเฟื อง เปลือก รองเพลา โพรียูลีเทนอ่อนใช้ทา ฟองน้าเฟอร์นิเจอร์ โพรียูลี เทนเหลวใช้ทาเคลือบเงา Engineering Materials 42 Elastomer ยาง จัดเป็ น พลาสติกยืดหยุ่น (Elastic hydrocarbon polymer) มีความยืดหยุ่นและความเหนี ยวสูง แต่ความยืดหยุ่นจะลดลงเมื่อ อุณหภูมิตา่ กว่า -72 C 1. 2. ยางมี สอง ประเภท คือ ยางธรรมชาติ (Natural rubber) ได้จากต้นพืช ยางสังเคราะห์ (Synthetic rubber) ได้จาก กระบวนการ Polymerization Engineering Materials 43 ยางธรรมชาติ (Natural Rubber, NR) ส่วนมากได้จากยางพารา สายพันธ์ Hevea Braziliensis มีต้นกาเนิดจากทวีปอเมริกาใต้ น้ายางสด (Latex) เมื่อกรีดออกมาจากต้นมีเนื้ อยางแห้ง 30%โดยน้าหนัก แขวนลอยอยู่ในน้า ยางธรรมชาติที่มีขายในท้องตลาด มี 2 รูปแบบ คือ น้ายาง และ ยางแห้ง Engineering Materials Website สถาบันวิจยั ยาง กรมวิชาการเกษตร http://www.rubberthai.com/ 44 1. น้ายาง (Latex) : ได้จากการนาน้ายางสดมาผ่านกระบวนการเหวี่ยง แยกน้าออกโดยมีเนื้ อยาง 60%โดยน้าหนัก เรียกว่า น้ ายางข้น น้ายางสด 30%wt กระบวนการปัน่ เหวี่ยง + เติมสารเคมีกนั บูด น้ายางข้น 60%wt ผลิตภัณฑ์จากน้ายางข้น ได้แก่ ถุงมือยาง ถุงยางอนามัย ลูกโป่ ง จุกนม ที่นอน เบ้าหล่อปูนพลาสเตอร์ เป็ นต้น Engineering Materials 45 2. ยางแห้ง ได้จากการนาน้ายางมาเติมกรด ทาให้เนื้ อยางจับตัวและ แยกตัวออกมาจากน้า แล้วจึงทาการไล่ความชื้นออก ได้แก่ 2.1 ยางแผ่น ( Rubber Sheet) แบ่งเป็ น ยางแผ่นรมควัน และยางแผ่นไม่ รมควัน น้ายางเจือจาง 12-18% Engineering Materials เติ มกรดค่า pH 5.1-4.8 ให้แข็งตัว ตากแดด รีดน้าออก ด้วยลูกรีด ล้างน้า ให้สะอาด อบรมควัน 50-70 c 3 วัน ยางแผ่นไม่รมควัน ยางแผ่นรมควัน 46 ยางแผ่นรมควัน (Ribbed Smoked Sheet, RSS) มี 5 ชัน้ คุณภาพ ใช้มากที่ สด ุ คือ ชัน้ ที่ 3 ผลิตภัณฑ์ของยางแผ่น รมควัน เช่น ยางล้อรถยนต์ สายพาน ท่อน้า รองเท้า อะไหล่รถยนต์ เป็ นต้น Engineering Materials 47 2.2 ยางเครฟ (Crepe Rubber) เป็ นยางที่ ได้จากการนาเศษยางไปรีดด้วยเครื่อง Creping machine แล้วนาไปผึง่ ลมให้แห้ง สีของยางจะเข้ม และมีความบริสท ุ ธ์ ิ แตกต่างกัน Engineering Materials 48 2.3 ยางแท่ง (Technically classified rubber) ยางแท่งจะมีคณ ุ ภาพสมา่ เสมอมากกว่ายางแผ่น และยาง เครฟ แต่ราคาจะสูง น้ายาง หรือยางแท่ง Engineering Materials ทาให้เป็ น ก้อนเล็ก 2-3 มม. ทาความสะอาด อบให้แห้ง อัดเป็ นแท่งมาตรฐาน 330*670*170 มม. 49 โครงสร้างของยางธรรมชาติ โครงสร้างเป็ นโมเลกุลตาข่าย ชื่อเคมี คือ cis-1, 4 polyisoprene Engineering Materials 50 ิ สมบัติทวไปของยางธรรมชาต ั่ ข้อดี มีความยืดหยุ่นสูง มีความเหนี ยวติดกันได้ดี มีความต้านทานแรงดึงสูงโดยไม่ต้องใช้สารเพิ่มเสริมแรง มีความต้านทานการฉี กขาดทัง้ ที่ อณ ุ หภูมิห้อง และอุณหภูมิสงู มีความต้านทานการขัดถูดี เป็ นฉนวนไฟฟ้ า มีความร้อนสะสมตา่ เหมาะเป็ นผลิตภัณฑ์ยางขนาดใหญ่ Engineering Materials 51 ข้อเสีย ไม่ทนต่อน้ามันปิโตรเลียม, กรดไนตริก, กรดกามะถันเข้มข้น มีช่วงอุณหภูมิใช้งานตัง้ แต่ -55 C ถึง 70 C มีความต้านทานแรงกดตา่ มีความว่องไวต่อการเกิดปฏิกิริยากับออกซิเจน เกิดรอยแตกร้าว หากเก็บไว้ที่อณ ุ หภูมิตา่ นานจะเกิดการเสื่องสภาพ Engineering Materials 52 การใช้งาน (Applications) ทนต่อแรงดึงสูง ผลิตภัณฑ์ที่ต้องการความยืดหยุ่นสูง เช่น ถุงมือ ยาง ลูกโป่ ง ยางรัดของ ที่นอนยางพารา เป็ นต้น มีการสะสมความร้อนตา่ เหนี ยวติดกันดี ยางรถบรรทุก, ยาง ล้อเครื่องบิน, ยางกันกระแทกเรือ เป็ นต้น ทนต่อการฉี กขาดสูงทัง้ ที่อณ ุ หภูมิตา่ และสูง ยางกระเป๋าน้าร้อน แบบพิมพ์ปนู พลาสเตอร์ เป็ นต้น Engineering Materials 53 ผลิตภัณฑ์ยางธรรมชาติ 1. ยางรถยนต์และยางใน 2. ยางจักรยาน จักรยานยนต์และยางใน 3. หล่อดอกยางรถยนต์ 4. สายพาน 5. พื้นรองเท้า 6. ท่อยาง 7. อะหลัยรถยนต์ ่ 8. ยางขัดสีข้าว 9. เปลือกหม้อแบตเตอรี่ 10. รองเท้าผ้าใบ 11. รองเท้าฟองน้า 12. ยางรัดของ 13. ยางยืด 14. ยางปูพื้น ถังขยะ ฯลฯ 15. ยางอัดขอบกระจกรถยนต์ 16. กาว เทปพันสายไฟ 17. ยางรองคอสะพาน Engineering Materials วัตถุดิบที่สาคัญ ยางเครพ ยางแผ่นรมควัน ยางแท่ง ยางเครพ ยางแผ่นรมควัน ยางแท่ง ยางแผ่นรมควัน ยางแท่ง ยางแผ่นรมควันชัน้ 3 ยางแผ่นรมควัน ยางจากหางน้ายาง ยางแผ่นรมควัน ยางแผ่น ยางแท่ง ยางแผ่นชัน้ 1,2 ยางแผ่นรมควัน ชัน้ 3,4 ยางแท่ง STR 20 ยางแผ่น ยางแท่ง ยางเครพ ยางหางน้ายาง ยางแผ่น ยางแท่ง ยางเครพ ยางแท่ง 5 แอล ยางแผ่นผึ่งแห้ง ยางเครพขาว ยางแผ่น ยางแท่ง ยางเครพขาว ยางที่ใช้แล้วจากผลิตภัณฑ์ยาง (รีเครม) ยางแผ่นรมควันขัน้ 3,4,5 ยางแผ่นรมควัน ยางแท่ง ยางเครพ ยางแท่ง ยางแผ่น 54 กระบวนการผลิตผลิตภัณฑ์จากน้ายาง วิธีการผลิตจะขึน้ อยู่กบั ชนิดของผลิตภัณฑ์ กระบวนการผลิตที่สาคัญ ได้แก่ การจุ่มแบบพิมพ์ (Dipping Process) การผลิตยางยืด (Treading Process) การผลิตยางฟองน้า (Foaming Process) การหล่อเบ้าพิมพ์(Casting process) Engineering Materials 55 สารเคมีสาหรับผลิตภัณฑ์จากน้ ายาง สารเคมีที่ใช้ผสมลงไปในน้ายางเป็ นตัวช่วยในกระบวน การแปรรูป ให้ยางมี ขอบเขตการใช้งานกว้างขึน้ และเพื่อลดต้นทุนการผลิต เป็ นต้น แต่อย่างไรก็ตามหลักการสาคัญควรใช้สารเคมีน้อยที่สดุ เพื่อให้เหลือสารเคมีที่ ตกค้างในผลิตภัณฑ์ให้น้อยที่สดุ โดยทัวไปแล้ ่ วควรล้างผลิตภัณฑ์นัน้ ๆ ด้วยน้าร้อน เพื่อเป็ นการปลอดภัยต่อผู้ อุปโภค สารเคมีสาหรับผสมน้ายางประกอบด้วย 1. สารช่วยความเสถีย 2. สารวัลคาไนซ์ 3. สารกระตุน้ ปฏิกริ ยิ า 4. สารเร่งปฏิกริ ยิ าคงรูป 5. สารป้องกันยางเสือ่ มสภาพ 6. สารตัวเติม 7. สารทีท่ าให้เกิดเจล 8. สารช่วยให้ยางมีสสี วย Engineering Materials 56 1. การจุม่ แบบพิมพ์ (Dipping Process) แบบพิมพ์ จะผลิตด้วยวัสดุเซรามิกส์, แก้ว หรืออะลูมเิ นียม ตัวอย่างผลิตภัณฑ์ เช่น ถุงมือยาง รอง เท้าบูธยางไม่มตี ะเข็บ ลูกโปง่ จุกนม ถุงยางอนามัย เป็ นต้น น้ายาง + สารเคมี Engineering Materials ทาความสะอาดแบบพิ มพ์ จุ่มแบบพิ มพ์ลงในน้ายาง จนน้ายางฉาบแบบพิ มพ์สมา่ เสมอ ยกแม่พิมพ์ขึน้ ช้าๆ ล้างทา ความสะอาด อบยางให้แห้ง และคงรูป ถอดผลิ ตภัณฑ์ ออก จากพิ มพ์ 57 2. การผลิตยางยืด (Treading Process) เป็ นการนาน้ ายางมาผสมสารเคมีแล้วให้ไหลไปตามท่อเล็กๆไปยังอ่างกรด (ทัวไปนิ ่ ยมใช้กรดอะซิตริกเข้มข้น 15-55%) เพือ่ ให้ยางจับตัวกัน จากนัน้ ดึงยางออกเป็ นเส้นด้าย ล้างกรดออกด้วยน้ า จากนัน้ นาไปอบยางให้แห้ง และอบคงรูป ผลิตภัณฑ์ ได้แก่ ยางยืดขอบกางเกง เป็ นต้น น้ายาง อ่างกรด Engineering Materials อ่างน้า ตู้อบแห้ง 85-95 C ตู้อบให้คงรูป 135-145 C 58 3. การผลิตยางฟองน้า (Foaming Process) ยางฟองน้ าจะมีรพู รุน ระบายอากาศได้ดี สามารถกดหรือบิดโดยไม้เสีย รูป เช่นทีน่ อน เบาะเก้าอี้ หมอนหนุ น เป็ นต้น หลักการผลิตยางฟองน้า 1. การทาให้ยางเกิดฟองอากาศขนาดต่างๆด้วยวิธที างกลหรือเคมี 2. การทาให้น้ ายางทีเ่ ป็ นฟองแล้วเปลีย่ นสถานะเป็ นเจล(Gel) 3. การอบยางให้คงรูป Engineering Materials 59 4. การหล่อเบ้าพิมพ์ (Casting process) ผลิตภัณฑ์เช่น ตุ๊กตา ลูกบอล หน้ากาก หรือ หุน่ ยาง ได้จากเป็นการเทน้ า ยางทีผ่ สมสารเคมีแล้วลงในเบ้าทีท่ าจากเซรามิกส์ หรืออะลูมเิ นียม เมือ่ ยางจับตัวกันแล้วจึงถอดเบ้าออก ผิวด้านนอกจะเหมือนกับแบบพิมพ์ Engineering Materials 60 ยางสังเคราะห์ (Synthetic rubber) ยางสังเคราะห์เป็ นยางที่ได้จากการสังเคราะห์จากปฏิกิริยาเคมี polymerization โดยมีขนั ้ ตอน ดังนี้ 1. 2. สังเคราะห์โมโนเมอร์ยางจากอุตสาหกรรมปิโตเคมี นาโมโนเมอร์มาต่อกัน Homopolymer Copolymer โมโนเมอร์ชนิดเดียวกัน เช่น โพ โมโนเมอร์ 2 ชนิด เช่น สไตรีนลีบูตาดีน บูตาดีน Engineering Materials Terpolymer โมโนเมอร์ 3 ชนิด เช่น เอทิลีนโพไพลีน-ไดอีน 61 ยางโพลีไอโซพรีน (Cis-1,4-Polyisoprene, Isoprene rubber, IR) เป็ นยางสังเคราะห์ที่มีโครงสร้างเคมีคล้ายยางธรรมชาติ แต่ทนการฉี กขาด ได้ตา่ กว่า สามารถใช้แทนยางธรรมชาติ แต่ราคาจะสูงกว่า ใช้กนั มากในอุตสาหกรรม เนื่ องจากมีคณ ุ สมบัติสมา่ เสมอ สิ่งเจือปนน้ อย สี สมา่ เสมอ Engineering Materials 62 ยาง สไตรีน-บิวตาดีน (Styrene-Butadiene Rubber, SBR) เป็ นยางสังเคราะห์ที่ใช้กนั มากที่สดุ ราคาไม่แพง ผลิตภัณฑ์ ได้แก่ สายพาน พืน้ รองเท้า ฉนวนหุ้มสายไฟ ท่อยาง ผสมกับยางชนิดอื่นเพื่อผลิต ยางรถยนต์ขนาดเล็ก Engineering Materials 63 http://www.anubistfx.com/molding.htm Engineering Materials 64 Vulcanization เป็ นกระบวนการที่ ทาให้ เ กิด Cross-linking Elastomer โมเลกุลขึน้ โดยการเติม Sulfur (หรือ เติม peroxide-based substance) เพื่อให้ เกิดพันธะอะตอมระหว่างโพลิเมอร์ เพื่อให้ได้ยางแท่งที่ มีความแข็งแรง ทนต่อสารละลาย และมี ความทนทานต่อการใช้งาน และสภาพแวดล้อม กระบวนการนี้ เรียกอีกชื่อหนึ่ งว่า Curing Engineering Materials 65 5. Additives 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. Fillers: สารเพิ่มความแข็งแรง เช่น glass fibers, Graphite Plasticizer: สารเพิ่มความยืดหยุ่น Lubricants: สารหล่อลื่น Pigment: สี Flame retardant: สารป้ องกันการติดไฟ Stabilizer: สารกันเสีย เพิ่มอายุการใช้งาน Antistate: สารลดการเกิดประจุไฟฟ้ า Engineering Materials 66 6. Orientations โพลิเมอร์จะมี ความแข็งแรงที่ สุดในทิศทางขนานกับแนวเส้ นใย โมเลกุล การดึงพลาสติกให้เกิดการยืดออกอย่างช้ าๆ หรือ การทา Cold drawn เพื่อให้โมเลกุลจัดเรียงตัวกันอย่างเป็ นระเบียบในทิศทาง เดียวกัน หลังจากการเกิดคอคอดแล้ว พลาสติกจะเรียงตัวกันมาก ขึ้นทาให้ มีขนาดพื้นที่ หน้ าตัดที่ เท่ ากัน ผลที่ ได้เที ยบได้กบั การทา work hardening ในโลหะ ใน Amorphous polymer การจัดเรียงตัวกันดังกล่าว สามารถทา ได้เมื่ออุณหภูมิสงู กว่า Tg Engineering Materials 67 Stress (a) Necking starts Necking occurring (b) Engineering Materials Strain Necking complete 68 Plastics Manufacturing process 1. การฉี ดพลาสติก (Plastic Injection molding) ใช้สาหรับผลิต ชิ้นส่วน หรือชิ้นงานจากเม็ดพลาสติก Injection moulding vdo Engineering Materials 69 Plastic Injection molding Engineering Materials 70 Engineering Materials 71 การอัดรีด (Extrusion) สาหรับขึน้ รูปพลาสติกอ่อน ใช้ขนึ้ รูปท่อ แผ่น หรือรูปพรรณ ต่างๆ Engineering Materials 72 Extrusion die Extruded metal Extruded product Engineering Materials 73 เปา่ ขึน้ รูป (Blow moulding) สาหรับทาถุงพลาสติก ขวด และถัง Injection blow moulding vdo Engineering Materials 74 Engineering Materials 75 บทเรียน online http://www.bpf.co.uk/Plastipedia/Processes/D efault.aspx Engineering Materials 76 8. Speciality Polymers 1. High-performance polymers เป็ นโพลิเมอร์ที่มีคณ ุ สมบัติดีหลายๆ อย่างรวมกัน ซึ่งได้แก่ high modulus, good temperature resistance and good toughness ซึ่งจะได้จากการที่มีพนั ธะหลักที่แข็งแรง ได้แก่ Polyimides (PI) และ Polyester ether ketone (PEEK) ที่เป็ น Semicrystalline polymer มีจดุ หลอมเหลว 330 C ทัง้ สองชนิดเป็ น Metrix สาหรับ Carbon fiber composites มีคณ ุ สมบัติในการเชื่อมติด ใช้เชื่อมชิ้นส่วนเครือ่ งบิน Engineering Materials 77 2. Liquid-crystal (LC) polymers หมายถึงโพลิเมอร์เหลว (gel) ที่ ยงั มีบางส่วนที่ ยงั คงมีพน ั ธะ โควาเลนต์ที่แข็งแรง และไม่ละลาย และบริเวณที่ ไม่ละลาย ดัง กล่ า วจะเป็ นบริ เ วณที่ มี ก ารจัด เรี ย งตัว กัน เป็ นระเบี ย บ (Uniform orientation) มี ข อ บ ที่ ค ม ใ ช้ ใ น จ อ แ ส ด ง ภ า พ โทรทัศน์ , จอคอมพิวเตอร์ LCD Engineering Materials http://www.sharpsma.com/lcd/lcdguide/Primer/tn.php 78 9. Asphalt Asphalt หรือที่ เรียกว่า ยางมะตอย หมายถึง “สารประกอบไฮโดรคาร์บอนมากมายหลายชนิด และสารอินทรีย์อื่นๆ ซึ่ งเรี ยกรวมกันว่า สารบิทู เมน (Bitumen) มีลกั ษณะเป็ นของเหลวข้นหนื ด หรือกึ่งของแข็งกึ่งของเหลว สีดา หรือสีน้าตาลแก่ ทัง้ ที่ เ กิดเองตามธรรมชาติ และได้ จ ากการกลัน่ น้ามันปิโตรเลียม” Engineering Materials 79 Properties เนื่ องจากแอสฟั ลท์มีความหนื ดเมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น สามารถผสม กับสารชนิดอื่น และแข็งตัวเมื่อเย็น จะมีคณ ุ สมบัติและการใช้งาน ทัวไปดั ่ งนี้ คุณสมบัติในการยึดประสาน (Connection) ดังนัน ้ จึงนิยมนามา ผสมกับหินเพื่อใช้ทาถนน ทางเท้า ลานจอดรถ เป็ นต้น คุณสมบัติในการป้ องกันน้ าซึ ม (Waterproofing) น้ าไม่สามารถ ไหลผ่านได้ จึงนามาใช้เพื่อกันซึมตามรอยต่อต่างๆของอ่างเก็บ น้า เขื่อน หลังคา เป็ นส่วนประกอบของน้ายาพ่นกันสนิมรถยนต์ เคลือบท่อกันสนิม เป็ นต้น Engineering Materials 80 ประเภทของ Asphalt Asphalt สามารถแบ่งได้เป็ น 4 ประเภทหลัก ดังนี้ 1. Asphalt Cement เรียกย่อว่า AC ได้มาจากการกลันน ่ ้ามันดิบ จะเป็ น ส่วนที่ข้นและหนักที่สดุ ซึ่งก็จะมีหลายเกรดตามความ อ่อน แข็ง ราคาถูก Engineering Materials 81 2. Asphalt Emulsion หรือยางมะตอยน้ า คือยางแอสฟั ลท์ที่ผลิตจากการนายาง แอสฟัลท์ มาตีให้กระจายเป็ นอนุภาคเม็ดเล็กๆ อยู่ในน้า และ เป็ นเนื้ อ เดี ย วกัน โดยใช้ ส ารเคมี ป ระเภทอิ ม ัล ซิ ไฟเออร์ (Emulsifier) หลังจากใช้ งาน น้ าในแอสฟั ลท์อิมล ั ชัน่ จะระเหยไป คงเหลือ ไว้แต่ แอสฟั ลท์ ให้ เกาะตัวกันเป็ นฟิล์มต่ อเนื่ อง เคลือบหุ้ม วัสดุมวลรวมหรือพืน้ ผิวทาง Engineering Materials 82 ยางแอสฟั ลท์อิมลั ชันมี ่ คณ ุ สมบัติ คงรักษาความเหลวที่ เหมาะสม กับการนาไปใช้ในงานประเภทต่างๆ 1. Asphalt emulsion is in liquid form at ambient temperature and there is no need for heating for all application unlike other types of asphalts. There is no fire hazard since asphalt emulsion has no solvent component. There is no pollution since it does not require heating. Asphalt emulsion has excellent adhesion properties to most types of aggregates. 2. 3. 4. Engineering Materials 83 3. Cut-back Asphalt ได้จากการผสมแอสฟั ลท์ซีเมนต์ (Asphalt Cement) กับ สารละลาย (Solvent) ให้เป็ นเนื้ อเดียวกัน เมื่ อ แข็ง ตัว สารละลายจะระเหยไป เหลื อ แต่ แ อสฟั ล ท์ ซีเมนต์ ยางคัตแบกปกติใช้ในงานรองพื้น (Prime Coat) ก่อนที่ จะลาดยาง เพื่ อ ป้ องกัน การไหลซึ ม ของน้ า ลงไปที่ พืน้ ดินที่อดั ไว้ก่อนหน้ านี้ Engineering Materials 84 ข้อเสีย เป็ นอันตรายต่ อ บรรยากาศ เนื่ องจาก the asphalt prime coat needs to be applied in a liquid state, it is blended with gasoline, kerosene or diesel. They evaporates as it cures, releasing volatile organic compounds (VOCs) (สารระเหย) into the atmosphere - contributing to air pollution levels. ไม่ค วรใช้ ในการป้ องกัน การซึ ม ของอ่ างเก็บน้ า เพราะ อาจทาให้น้ามีสารปนเปื้ อน Engineering Materials 85 4. Polymer Modified Asphalt โพลิเมอร์โมดิฟายส์แอสฟั ลท์ คือ ยางแอสฟั ลท์เกรดพิเศษ ได้จากการผสมแอสฟั ลท์ซีเมนต์ (Asphalt Cement) กับโพ ลิเมอร์ชนิด SBS เป็ นเนื้ อเดียวกัน เมื่ อ น ามาผสมเป็ นผิ ว ทาง แอสฟั ล ท์ค อนกรี ต ชนิ ดผสม ร้ อ นให้ คุณ สมบัติ ที่ เ หนื อ กว่ า ผิ ว ทางแอสฟั ล ท์ค อนกรี ต ทัวไป ่ Engineering Materials 86 คุณสมบัติ 1. มีความต้านทานต่อการล้า (Fatigue resistance) ที่ ดีกว่า 2. มีความต้านทานสูงต่อการเปลี่ยนแปลงรูปร่างอย่างถาวร (Pavement Deformation) 3. มีความยืดหยุ่นสูงที่อณ ุ หภูมิตา่ มาก หรือสูงมาก 4. มีความต้านทานต่อการบิดตัว ระหว่างวัสดุมวลรวม กับ วัสดุเชื่อมประสาน (Revelling) 5. มีความต้านทานต่อการหลุดลอก (Stripping resistance) ที่ดีกว่า 6. ไม่มีการไหลเยิ้ม(Bleeding resistance) ของวัสดุเชื่อม ประสาน Engineering Materials 87 After Class 1. 2. 3. 4. อธิบายความหมายของ Polymers และสามารถยกตัวอย่าง วัสดุดงั กล่าวที่ ใช้ งานในชี วิตประจาวัน และงานวิศวกรรม ได้ อธิบายโครงสร้างอย่างง่ายของวัสดุ Polymers อธิบายสมบัติทางกล และ สมบัติทวไป ั ่ ของวัสดุวิศวกรรม Polymers เข้ า ใจและอธิ บ ายกระบวนการผลิ ต ของวัส ดุวิ ศ วกรรม Polymers Engineering Materials 88