โคโรน่าไวรัสสายพันธุ์ใหม่ 2012 - งานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุข

advertisement
30 JULY 2013 MERS-CoV
Phuket
วันที่ ๓๐ กรกฎาคม ๒๕๕๖
Emerging and
Re-Emerging Diseases.
ศาสตราจารย์ เกียรติคุณ นายแพทย์ ประเสริฐ ทองเจริ ญ
ราชบัณฑิต สาขาแพทยศาสตร์
ที่ปรึกษาคณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล
ที่ปรึกษากรมควบคุมโรค
ประธานมูลนิธิส่งเสริมการศึกษาไข้ หวัดใหญ่
งานประชุมวิชาการ
คำจำกัดควำมโรคติดเชื้ออุบตั ใิ หม่
EMERGING INFECTIOUS DISEASES (EIDs)
 โรคติดเชือ้ ชนิดใหม่ ๆ ที่ปรากฏมีรายงานผู้ป่วยเพิ่มขึน้ ใน
ระยะเวลาประมาณสองสามทศวรรษที่ผ่านมา หรือ
 โรคติดเชือ้ ที่มีแนวโน้ มที่จะพบมากขึน้
ในอนาคตอันใกล้
 ตัวอย่ างเช่ น
โรคติดเชือ้ โคโรน่ าสายพันธุ์ใหม่ ไข้ หวัดนกสายพันธุ์ใหม่ H7N9
โรคติดเชือ้ แบคทีเรีย ในกระแสโลหิตในทารกแรกเกิด Cronobacter
sakazakii ฯลฯ และไวรัสติดเชือ้ ระบบหายใจ Enterovirus 68
•คาจากัดความโรคติดเชือ้ อุบัตซิ า้
RE-EMERGING INFECTIOUS DISEASES
โรคที่เคยระบาดในอดีต แล้ วสงบ แต่ กลับมาระบาด
ใหม่ หรื อโรคที่เคยไวต่ อปฏิชีวนะแล้ วดือ้ ต่ อยาต่ างๆ
เกิดการระบาดขึน้
โรคที่เคยสงบเพราะประชาชนทั่วไปได้ รับวัคซีนป้องกันโรค
เวลาผ่ านไปนาน “ภูมิค้ ุมกันต่าลง” หรือ “หมดภูมิ” โรคก็
กลับมาระบาด
ตัวอย่ าง
โรคติดเชือ้ อุบัตใิ หม่
•
•
•
•
MERS-CoV
H7N9 Avian Flu
Cronobacter sakazakii Infection
ฯลฯ
โรคติดเชือ้ อุบัตซิ า้
วัณโรค....วัณโรคดือ้ ยาหลายขนาน
โรคคอตีบ คางทูม หัด หัดเยอรมัน ไอกรน
โรคไข้ ออกผื่นปวดข้ อ
H5N1 Avian Flu
ฯลฯ
ไวรั สโคโรน่ าสายพันธุ์ใหม่ MERS-CoV
****
***
บริ เวณที่โรคอุบตั ิใหม่
จอร์ แดน เหตุอุบัตติ งั ้ แต่ ปลายมีนาคม-ต้ นเมษายน ๒๕๕๕
• มีการเปิ ดเผยจริงๆ วันที่ ๒๐ เมษายน ๒๕๕๕
โรคอุบตั ิจริงๆก่อนหน้ านัน้
• จนถึงวันที่บรรยาย ๓๐ กรกฎาคม ๒๕๕๖ เป็ น
เวลากว่า ๑ ปี เศษแล้ ว
• ยังเอาไม่ อย่ ู
วันที่ ๒๐ เมษายน ๒๕๕๕ จอร์ แดน
• รัฐมนตรีสาธารณสุขจอร์ แดนแถลงอ้ างว่ า ได้ รับการยืนยันว่ ามี
ผู้ป่วยรวม ๑๑ ราย (บางรายงานว่ามี ๑๓ ราย)ที่เกิดติดโรค
ประหลาดโรคหนึ่งที่ไอซียู รพ. ซาร์ ก้า กรุ งอัมมาน
• ๔ รายได้ รับการรักษา ฟื ้ นโรคและหาย อีก ๖ รายอนุญาตให้ กลับ
บ้ านได้ แล้ ว
• มีพยาบาลในหอผู้ป่วยไอซียูเสียชีวิต ๑ ราย ต่ อมามีน้องของ
พยาบาล (อยู่บ้านเดียวกันหรือไม่ ก็ไม่ ทราบ ข่ าวรายนีย้ ังสับสน
ไม่ ชัดเจน) เสียชีวิตตามมาอีก ๑ คน
• ถ้ าไม่ มีใครตาย ป่ านนี้คงปิ ดปากเงียบ
จากเมษายน ไป กันยายน
• รายงานครัง้ แรกจากจอร์ แดนเมษายน
• เดือนกันยายนก็ข้ามไปปรากฏมีรายงาน
ผู้ป่วยที่ซาอุดิ อาระเบีย
๑๕ กันยายน ๒๕๕๕ พบไวรั สโคโรนาชนิดใหม่
จากผู้ป่วยในประเทศซาอุดอิ าระเบีย
• ประเทศซาอดุ ิ อาระเบีย: วันที่ ๑๕ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๕
ศาสตราจารย์ ดร. อาลี โมฮัมเม็ด ซาคี ศาสตราจารย์ จุล
ชีววิทยา ปฏิบัตงิ านที่ห้องปฏิบัตกิ ารไวรัสวิทยาของ
โรงพยาบาล ดร. ซอล แมน ฟาคีห์ ที่นครเจ็ดดะห์ ประเทศ
ซาอุดิ อาระเบียรายงานในข่ าว “อินเทอร์ เน็ทโปรเม็ดเมล์ ”
ของสมาคมโรคติดเชือ้ นานาชาติ ว่ าพบ ไวรัสที่เพาะแยกได้
จากมนุษย์ เป็ นไวรั สชนิดใหม่ คล้ ายไวรั สก่ อโรค “ซาร์ ส”
Prof.Dr.Ali Moh Zaki
๑๕ กันยายน ๒๕๕๕ ซาอุดิ อาระเบีย
• ผู้ป่วยรายที่ ๑: ผู้ป่วยชายอายุ ๖๐ ปี ที่ป่วยเป็ นโรคปอด
บวมและไตวายปั จจุบนั เพาะแยกเชือ้ ไวรัสชนิดหนึ่งได้ จาก
เสมหะโดยเพาะเชือ้ ได้ ทงั ้ บนเซลล์ Vero cells และเซลล์ ไต
ลิง LLC-MK2 cells ไวรัสที่เพาะแยกได้ นี ้ ได้ รับการชันสูตร
ขัน้ สุดท้ ายแล้ วว่ า ไม่ ใช่
• ไวรัสไข้ หวัดใหญ่ เอ, ไวรัสไข้ หวัดใหญ่ บี,ไวรัสพาราอินฟลู
เอ็นซา ไวรัสเอ็นเทอโร ไวรัสอะเดโน
• แต่ ให้ ผลบวกในการตรวจทดสอบไวรั สโคโรนารวมๆ
(pancoronavirus) โดยวิธีขยายห่ วงลูกโซ่ (RT-PCR)
Real Time PCR
• คือเห็นว่ ามีแถบโปรตีนที่ปรากฎในการทดสอบ น่ าจะเป็ น
โปรตีนที่มีนา้ หนักอณูเข้ าได้ กับไวรั สโคโรนา จึงได้ ส่ง
ตัวอย่ างตรวจยืนยันเพิ่มเติม ที่ห้องปฏิบัตกิ ารของ ศ. ดร.
รอน ฟูชิเอร์ (Prof. Ron Fouchier) ผู้เชี่ยวชาญไวรั สโรค
SARS ที่มหาวิทยาลัย อีรัสมุส (Erasmus) ประเทศ
เนเธอร์ แลนด์
• ปรากฎว่ าแยกได้ ไวรั สอาร์ เอ็นเอ และชันสูตรได้ ว่า เป็ น
“ไวรัสโคโรนาชนิดใหม่ ” ที่เป็ นสมาชิกใหม่ ของไวรัส จีนัส
บีตาโคโรนาไวรั ส (genus betacoronavirus) ซึ่งสัมพันธ์
ใกล้ ชิดกับไวรัสโคโรนาของค้ างคาว
ภาพถ่ ายวันที่ ๙ ตุลาคม ๒๕๕๕ที่เมือง Valencia, Spain.
Prof.Ron Fouchier, Erasmus Medical Center
วันที่ ๒๒ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๕
• ผู้ป่วยรายที่ ๒: Health Protection Agency-HPA สหราช
อาณาจักรได้ ออกแถลงการณ์ ว่า
• มีการชันสูตรยืนยันการแยกเชือ้ “ไวรัสโคโรนาชนิดใหม่ Novel Corona virus- nCoronaV” อีกหนึ่งสายพันธุ์ ที่
สัมพันธ์ กับโรคติดเชือ้ ทางเดินหายใจเฉียบพลัน (acute
respiratory illness) จาก ผู้ป่วยรายหนึ่งจากตะวันออกกลาง
ที่เดินทางเข้ าไปในประเทศนัน้ เมื่อไม่ นานนี ้ กาลังได้ รับการ
รักษาอยู่ในหอผู้ป่วย ไอซียู ของโรงพยาบาลแห่ งหนึ่งใน
มหานครลอนดอน
การวิเคราะห์ ไวรั สที่ได้ จากรายที่ ๒
• HPA ได้ วเิ คราะห์ เชือ้ ไวรัสจากผู้ป่วยชายรายดังกล่ าวแล้ ว
เปรียบเทียบกับไวรัสที่มีการเพาะแยกได้ มาก่ อนแล้ วที่
Erasmus University, the Netherlands จากตัวอย่ างตรวจที่
เป็ นเนือ้ เยื่อปอดของผู้ป่วยชาย อายุ ๖๐ ปี ที่เสียชีวติ จากโรค
กลุ่มอาการระบบหายใจเฉียบพลันรุ นแรงและไตวาย ที่
ซาอุดอิ าระเบีย
• ผลการวิเคราะห์ ปรากฏว่ า ไวรัสสายพันธุ์ใหม่ จากลอนดอนมี
ความละม้ ายคล้ ายคลึงกับไวรัสที่เคยแยกได้ ท่ ี Erasmus นัน้
ถึง ๙๙.๕%
• มีนิวคลีโอไทด์ ท่ ไี ม่ เหมือนกันอยู่เพียงตาแหน่ งเดียวเท่ านัน้
วันที่ ๒๒ กันยายน ๒๕๕๕ องค์ การอนามัยโลก
• องค์ การอนามัยโลกประกาศว่ าองค์ การฯ ได้ รับรายงานว่ า มี ผู้ป่วยหนึ่ง
รายที่ป่วยด้ วย “กลุ่มโรคอาการระบบหายใจเฉียบพลันและไตวาย” เป็ น
ชาวกาตาร์ เริ่มมีอาการป่ วยในกรุ งโดฮาร์ ป่ วยหลังจากที่เดินทางกลับจาก
ประเทศซาอุดอิ าระเบีย”
“ผู้ป่วยชายอายุ ๔๙ ปี ชาวกาตาร์ ปกติเป็ นผู้ทม่ี ีร่างกายแข็งแรงดีมา
ก่ อน หลังเดินทางกลับจากซาอุดิ อาระเบีย เริ่มป่ วยเมื่อวันที่ ๓
กันยายน ๒๕๕๕
วันที่ ๗ กันยายน มีอาการหนักได้ เข้ ารั บการรั กษาในไอซียู ที่
โรงพยาบาลในโดฮาร์ และส่ งต่ อโดยเครื่องบิน air ambulance ไป
รั กษาในโรงพยาบาลทีล่ อนดอน”
ไวรัสยังแพร่ เชือ้ ติดต่ อยาก
• โรงพยาบาลได้ รับผู้ป่วยไว้ ในห้ องแยกเข้ มงวดเด็ดขาด
• ๑๐ วันหลังจากได้ สัมผัสโรคครัง้ สุดท้ าย (พ้ นระยะฟั กโรค)
ได้ ทาการตรวจผู้สัมผัสโรคทัง้ สิน้ ๖๔ รายไม่ มีผ้ ูใดเจ็บป่ วย
ร้ ายแรง
• มีอยู่ ๑๓ รายที่มีอาการระบบหายใจอ่ อนๆ
• ผู้สัมผัสโรค ๑๐ คนที่มีอาการอ่ อนๆ นัน้ ไม่ มีรายใดที่เพาะ
แยกเชือ้ ไวรัสโคโรนาได้ .
• แสดงว่ ายังไม่ มีการแพร่ เชือ้ ได้ ง่าย จากผู้ป่วยไปยังผู้สัมผัส
ใกล้ ชิด ต่ างจากไวรั สซาร์ สโคโรนา ซึง่ แพร่ เชื้อง่ ายมาก
รายแรกจากซาอุดิ อาระเบีย รายที่ ๒ จากกาตาร์
• ในขณะที่รายงานนีเ้ พิ่งจะอุบัตขิ นึ ้ (ไม่ นับรายจอร์ แดน) และมี
การชันสูตรยืนยันแล้ วในผู้ป่วยเพียง ๒ รายนี้เท่ านั้น ยัง
ไม่ มีการแพร่ โรคติดต่ อไปยังผู้อ่ นื และบุคลากรทางแพทย์ ท่ ี
ปฏิบตั กิ ารบริบาลที่ได้ สัมผัสใกล้ ชิดกับผู้ป่วยเลย
• แถลงการณ์ ฉบับของ HPAได้ แจ้ งเตือนไปยังองค์ การอนามัย
โลกและประเทศต่ างๆในสหภาพยุโรปแล้ ว และเท่ าที่ได้
ติดตามเฝ้าระวังติดตามสอบสวนโรค ก็ยังไม่ มีนักทัศนาจรราย
ใดที่กลับจากตะวันออกกลางป่ วยด้ วยโรคทานองนัน้ อีกเลย
• รายงานข่ าวตัง้ ข้ อสงสัยว่ าน่ าจะติดเชือ้ มาจากค้ างคาว
ไวรัสโคโรน่ าคืออะไร
• Human coronaviruses เพาะแยกได้ เป็ นครัง้ แรกจาก
อาสาสมัครที่ the Medical Research Council Common
Cold Unit in Salisbury, ประเทศอังกฤษ ตัง้ แต่ พ.ศ.๒๕๐๘
• The family _Coronaviridae_ เป็ นไวรัสอาร์ เอ็นเอกลุ่มใหญ่
ที่สัมพันธ์ เกี่ยวข้ องกับภาวะติดเชือ้ ของระบบหายใจทัง้ ของ
มนุษย์ และสัตว์ ได้ แก่ สุกร แมว สุนัข หนู ไก่ ค้ างคาว มีอยู่
๓ จีนัสด้ วยกัน
• ที่พนื ้ ผิวของอณุภาคไวรัสมีปุ่มยื่นโดยรอบทาให้ แลดูคล้ าย
มงกุฏฝรั่งจึงหรือพระอาทิตย์ ทรงกลด (solar corona) จึงให้
ชื่อว่ า ไวรัสโคโรนา (Coronaviruses, corona=crown)
คุณสมบัตขิ อง
CORONAVIRUS
เป็ นไวรั ส อาร์ เอ็นเอ
ก่ อโรคในมนุษย์ และสัตว์ หลายประเภท
รู ปพรรณสัณฐานกลม หรื อมีหลายรู ปขนาดเส้ นผ่ าศูนย์ กลาง
๘๐-๑๔๐ นาโนเมตร
มีเปลือกหุ้ม ที่เปลือกหุ้มมีปุ่มยื่นคล้ ายกระบองขนาด ๑๐ นาโน
เมตรจึงแลดูคล้ ายมงกุฏฝรั่ ง
มีเยื่อเม็มเบรนหุ้ม ๒ ชัน
้ เป็ นแอนติเจนคือ: S, M, HE, SM
(S or spike; M or integral membrane protein; HE or
hemagglutinin-esterase and SM or small membrane protein)
ไวรัสโคโรน่ า
• ไวรัสโคโรนาเป็ นไวรัสกลุ่มใหญ่ ท่ กี ่ อโรคระบบหายใจ
• ก่ อโรคชนิดที่มีอาการอ่ อนๆ (หวัดธรรมดา)
• ไปจนถึงโรคที่มีอาการรุ นแรงดังที่เคยระบาดอย่ างหนักทั่ว
โลกมาแล้ วเมื่อหลายปี ก่ อนคือ “โรคซาร์ ส - SARS”
• ไวรั สทีเ่ พาะแยกได้ ใหม่ ในคราวนี้มีลักษณะไม่ เหมือนกับ
ไวรั สทีเ่ คยเพาะแยกได้ มาแล้ วในอดีตจากผู้ป่วยโรค
SARS เสียเลยทีเดียว ไวรั สไม่ เหมือนซาร์ ส แต่ ก็ก่อโรคได้
ทาไมโลกจึงต้ องระวังไวรัสโคโรน่ า
• ไวรัสโคโรนา เป็ นไวรัสที่ก่อโรคที่มีอาการได้ กว้ างขวาง
รวมถึงโรค ซาร์ ส ด้ วย องค์ การฯ จึงติดตามอย่ างใกล้ ชิด
ว่ าจะมีแพร่ การระบาดและมีผลกระทบต่ อภาวะสุขอนามัย
ของประชากรโลกอย่ างไรหรือไม่
• ยังไม่ มีการจากัดการเดินทางเข้ าออกประเทศใน
ตะวันออกกลาง
• แต่ มีประกาศคาแนะนาปฏิบตั ติ วั ของผู้ท่ จี ะเดินทางไป
แสวงบุญในประเทศซาอุดิ อาระเบีย
ไวรั สโคโรน่ า ๓ อณุภาค
โครงสร้ างของไวรั สโคโรน่ าของหนู
ไวรั สโคโรน่ า
ไวรั สโคโรนาที่ก่อโรคในมนุษย์ (human coronavirus)
มีอยู่ ๓ จีนัส
• Alphacoronavirus มีสมาชิกเป็ นไวรัสของค้ างคาว ไวรัส
ของมนุษย์ ไวรัสของสุกร
• Betacoronavirus มีสมาชิกเป็ นไวรัสของหนู และของ
ค้ างคาว
• Gammacoronavirus มีสมาชิกเป็ นไวรัสของสัตว์ ปีกและ
ของหนูและสัตว์ เลีย้ งลูกด้ วยนม
การเตรียมความพร้ อมของ WHO
๑. จัดให้ มีข้อกาหนด คานิยามโรค เพื่อประโยชน์ ในการเฝ้า
ระวังและการรายงานโรค
๒. แจ้ งเตือนประเทศสมาชิก เผยแพร่ ข่าวสารเกี่ยวกับการ
ระบาด การสอบสวนโรค ข้ อมูลที่เป็ นประโยชน์ ต่างๆ
โดยไม่ ปิดบัง
๓. ประสานงานสร้ างเครื อข่ ายทางห้ องปฏิบตั กิ ารชันสูตร
๔. เผยแพร่ วธิ ีการชันสูตร
๕. จัดการเรื่องการวิจัยในแง่ ประเด็นต่ างๆที่ยังมืดมน
๖. ยังไม่ ห้ามการเดินทางเข้ า-ออกประเทศซาอุดิ อาระเบีย
องค์ การอนามัยโลกได้ ให้ “คานิยามโรค” เอาไว้ เพื่อเฝ้าระวังและสอบสวนโรค
WHO Case Definition for People to Be Investigated for Infection
• มีอาการระบบหายใจและมีไข้ (A person with an acute respiratory infection,
which may include fever (≥ 38°C, 100.4°F) and cough;) AND และ
• สงสัยมีรอยโรคที่เนือ้ ปอด จากลักษณะทางเวชกรรมหรื อภาพรั งสีทรวงอก
(suspicion of pulmonary parenchymal disease (eg, pneumonia or Acute
Respiratory Distress Syndrome [ARDS]) based on clinical or radiological
evidence of consolidation;) AND และ
• เดินทางเข้ าออกไปถิ่นที่มีโรค (travel to or residence in an area where
infection with novel coronavirus has recently been reported or where
transmission could have occurred;) AND และ
• หาสาเหตุของโรคเท่ าที่ทดสอบกว้ างขวางแล้ วไม่ พบ (not already explained
by any other infection or aetiology, including all clinically indicated tests for
community-acquired pneumonia according to local management
guidelines).
การเตรียมความพร้ อมของประเทศไทย
• ๒๕ กันยายน ๒๕๕๕ กระทรวงสาธารณสุขได้ ออแถลงการณ์
แจ้ งข่ าวเพื่อสื่อมวลชน “ปลัด สธ” สั่งเจ้ าหน้ าที่จับตา “ไวรัส
ตัวใหม่ คล้ ายซาร์ ส” ในต่ างประเทศอย่ างใกล้ ชิด
• ๒๖ กันยายน ๒๕๕๕ กาหนดการประชุม ปรึกษาหารือ เรื่อง
การพบเชือ้ โคโรนาไวรัสสายพันธุ์ใหม่ ในต่ างประเทศ วันที่
๒๖ กันยายน ๒๕๕๕ เวลา ๙.๐๐ – ๑๑.๐๐ ณ ห้ องประชุมธีระ
รามสูตร อาคาร ๘ ชัน้ ๓ กรมควบคุมโรค
• ศาสตราจารย์ เกียรติคุณ นายแพทย์ ประเสริฐ ทองเจริญ
ประธานที่ประชุม(ทวี,จริยา, ธีรวัฒน์ , สุจติ รา, ศุภมิตร, พิไลพันธุ์, มาลินี, วรยา, รจนา ผู้แทน
WHO, CDC, ผู้แทนด่ านกักกันโรค) ได้ ร่วมกันพิจารณาในประเด็นต่ างๆ คือ
๒๖ กันยายน ๒๕๕๕
• วาระที่ ๓. เรื่องเพื่อพิจารณา ประเด็นมาตรการเตรี ยม
ความพร้ อมของประเทศไทย
•
•
•
•
•
•
•
๓.๑ การเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
๓.๒ การเฝ้าระวังทางห้ องปฏิบัตกิ าร
๓.๓ การดูแลรั กษาและป้องกันการติดเชือ้ ในโรงพยาบาล
๓.๔ การดูแลผู้เดินทาง (ผู้เดินทางจากตะวันออกกลาง และผู้ท่ จี ะไปแสวงบุญ)
๓.๕ การสื่อสารความเสี่ยง
๓.๖ การประสานวิชาการและการ update ข้ อความรู้ ข่ าวสาร
๓.๗ การอานวยการยุทธศาสตร์ และสนับสนุน
–
–
–
–
ระดับ ๑ เตรียมพร้ อม
ระดับ ๒ มีผ้ ูป่วยในประเทศแต่ ยังไม่ แพร่ ระบาด
ระดับ ๓. มีการระบาดหลายพืน้ ที่ แต่ ความสูญเสียในด้ านการป่ วยเสียชีวิตใกล้ เคียงโรคระบบทางเดินหายใจอื่นๆ อาจใช้
แนวทางไข้ หวัดใหญ่ ในปั จจุบัน
ระดับ ๕ มีการระบาดในลงกว้ าง พบผู้ป่วยอาการรุ นแรงมาก เสียชีวิตมาก
อธิบดีกรมคร.แถลงข่ าว
ห้ องประชุมธีระรามสูตร กรมควบคุมโรค ๒๖ กันยายน ๒๕๕๕
อันตรายหรือความเสี่ยงของประเทศไทย
• อีกไม่ ก่ วี ันข้ างหน้ า ชาวไทยมุสลิมกาลังจะทยอยเดินทางไป
แสวงบุญในประเทศซาอดิอาระเบีย จานวนนับหมื่นคน
• ข้ อมูลต่ างๆเกี่ยวกับไวรัสสายพันธุ์ใหม่ นี ้ ยังไม่ มีความชัดเจน
อีกหลายประเด็น ถ้ าโรคติดต่ อแพร่ ได้ ง่าย ชาวไทยกลุ่มนัน้ ก็จะ
เป็ นกลุ่มเสี่ยงสูง และอาจนาโรคกลับมาประเทศไทยได้
• เช่ นเดียวกันชาวมุสลิมจากประเทศอื่นๆ ก็จะเสี่ยงทานอง
เดียวกัน จึงต้ องระมัดระวังเป็ นพิเศษ แต่ องค์ การอนามัยโลก
ยังไม่ แนะนาให้ จากัดการเดินทาง
• จะต้ องเร่ งศึกษาให้ เข้ าใจให้ แก่ บุคลากรทางแพทย์ คณะแพทย์
ติดตามผู้แสวงบุญ และประชาชน เฝ้าระวังอย่ างเข้ มงวด และ
เตรียมความพร้ อมด้ านต่ างๆ
ชาวมุสลิมกาลังเข้ าร่ วมพิธีแสวงบุญ
So, What Thailand can do?
Wait and See!
• Keep Alert ตระหนักโดยเฉพาะเจ้ าหน้ าที่กรมควบคุมโรค
ส่ วนกลางและด่ านกักกันโรค การท่ าอากาศยานแห่ งประเทศไทย
• Surveillance เฝ้าติดตาม เฝ้าระวังอย่ างใกล้ ชิด
• Preparedness เตรียมความพร้ อม จัดให้ มีข้อกาหนดในการเฝ้า
ระวัง เตรียมห้ องปฏิบัตกิ าร เตรียมเรื่องการรักษา เครื่องมือ
เครื่องใช้ เวชภัณฑ์ จัดเตรียมเรื่องการกักกันผู้ป่วย/ผู้สัมผัสโรค
การประชาสัมพันธ์ ป้องกันการแตกตื่น
• Immediate Response, Case Finding and Investigation including
International Collaboration ตอบโต้ ให้ ทนั เหตุการณ์ ค้ นหาผู้ป่วย
สอบสวนโรค ติดตามการแพร่ โรค ประสานงานกับเครือข่ ายระดับ
สากลทุกระดับ
สอน แสดง ให้ ทาได้ การสวมใส่ การถอด การฆ่ าเชือ้ ทาลายเชือ้
เครื่ องป้องกันตัวส่ วนบุคคล (PPE) ต้ องเตรี ยมพร้ อมไว้ ให้ เจ้ าหน้ าที่ให้ พอเพียง
วันที่ ๔ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ เวลา ๑๒.๑๑ น.
• ผู้ป่วยรายที่ ๓ กระทรวงสาธารณสุข ซาอุดอิ าระเบียรายงาน
ว่ า มีผ้ ูป่วยที่รับไว้ รักษาในโรงพยาบาลในขณะนีอ้ ีก ๑ รายที่
ได้ รับการชันสูตรยืนยันว่ าป่ วยเป็ นโรคปอดบวมและได้
ชันสูตรแล้ วว่ าติดเชือ้ ไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ [novel
Coronavirus (nCoV)]. ผู้ป่วยรายนีไ้ ม่ มีความเกี่ยวพัน
เชื่อมโยงกับ ๒ รายแรกแต่ อย่ างใด
• ผู้ป่วยรายนี ้ ขณะนีม้ ีอาการดีขนึ ้ ออกจากห้ องไอซียูได้ แล้ ว
ไม่ มีผ้ ูทใ่ี กล้ ชิดรวมทั้งเจ้ าหน้ าทีโ่ รงพยาบาล ติดโรค ผู้ป่วยไม่
เคยเดินทางออกนอกพืน้ ที่ ไม่ ได้ ไปเยี่ยมฟาร์ มสัตว์ ยังไม่ มี
รายละเอียดอื่นๆอีก
วันที่ ๔ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ เวลา ๑๒.๑๑ น.
• การวิเคราะห์ ไวรัสระดับอณูของรายที่ ๓ พบว่ า เป็ นไวรัส
คล้ ายกับที่เคยแยกได้ จากผู้ป่วย ๒ รายแรก (ซาอุฯ และ
ลอนดอน)
• คาดว่ าคงจะติดจากไวรัสของค้ างคาว
ตุลาคม ๒๕๕๕ มีรายงานย้ อนหลังเพิ่มเติมอีก
• มีผ้ ูป่วยจากกาตาร์ อีก ๑ รายไปรั บการรั กษาในห้ อง
ไอซียูของโรงพยาบาลใน นอร์ ธ ไรห์ น เวสฟาเลีย
เยอรมนี รายนีร้ ั กษาอยู่ ๔ สัปดาห์ รายนีร้ อด
แพทย์ อนุญาตให้ กลับบ้ านได้
• สอบสวนว่ า ติดโรคจากที่ใดก็ยังไม่ ทราบ
๑๐ ธันวาคม ๒๕๕๕
• รายงานข่ าวจากจอร์ แดนว่ า คลัสเตอร์ ท่ จี อร์ แดนเดือน
เมษายน๒๕๕๕ มี ๑๑ คน เป็ นบุคลากรทางแพทย์ ๘ คน น่ า
สงสัยว่ ามีการติดต่ อแพร่ เชือ้ จาก-คน-สู่คนด้ วย
• องค์ การอนามัยโลกประกาศผลการชันสูตรยืนยันของผู้ป่วย
จากจอร์ แดนเมื่อ ๒๔ พฤศจิกายนว่ า เป็ นการติดเชือ้ ไวรัสโค
โรน่ าสายพันธุ์ใหม่ แน่ นอน
• ทัง้ หมดมี ๒ คลัสเตอร์ คือ ๑.บุคคลในครอบครัวเดียวกันใน
กรุ งริยาดซาอุดอิ าระเบีย และ ๒.กรณีผ้ ูป่วยในห้ องไอซียู
โรงพยาบาลซาร์ กาในกรุ งอัมมาน จอร์ แดน
• ทัง้ ๒ คลัสเตอร์ นี ้ ไม่ มีความเชื่อมโยงเกี่ยวข้ องสัมพันธ์ กัน
เลย
ประเทศไทย
• ปลายเดือนตุลาคม ถึงต้ นเดือนพฤศจิกายน ๒๕๕๕ มีผ้ ู
ชาวไทยที่กลับจากการเดินทางไปแสวงบุญซาอุดอิ าระเบีย
ป่ วยที่มีอาการของโรคระบบทางเดินหายใจ
• ได้ รับการตรวจชันสูตรจากสถาบันวิทยาศาสตร์
สาธารณสุข กรมวิทยาศาสตร์ การแพทย์ กระทรวง
สาธารณสุข ปรากฏว่ า ไม่ มีผ้ ูใดที่ได้ รับการชันสูตร
ยืนยันว่ าติดเชือ้ MERS-CoV มีดงั นี ้
คนไทย กลับจากการแสวงบุญมีอาการป่ วย ๕ ราย
ผลการชันสูตรทางห้ องปฏิบัตกิ าร ให้ ผลลบทัง้ หมด
วันทีเ่ ริ่มมีอาการป่ วย
จังหวัด
อายุ/เพศ
อาการ
๑. ภูเก็ต
หญิง/๗๐ ปี
๕ พย. ๕๕
หวัด ไข้ ไอ
หายใจลาบาก ปอดบวม
๒. เชียงใหม่
ชาย/๗๗ ปี
๔ พย. ๕๕
๓. ปั ตตานี
หญิง/๕๑ ปี
๒๕ ตค. ๕๕
๔. ปั ตตานี
หญิง/๕๘ ปี
๒ พย. ๕๕
๕. ภูเก็ต
หญิง/๕๘ ปี
๒๕ ตค. ๕๕
ไข้ ไอ เจ็บคอ
หายใจลาบาก
ไข้ ไอ เจ็บคอ
นา้ มูก ปวดศีรษะ เพลีย
ไข้ ไอ นา้ มูก
ปวดศีรษะ
ไข้ ไอ เพลีย ปวด
ศีรษะ
สถานการณ์ โลกจนถึงวันที่ ๒๑ ธันวาคม ๒๕๕๕
• จานวนผู้ป่วยที่ได้ รับการชันสูตรยืนยันในขณะนี ้ คือ
๙ ราย
• ประเทศซาอุดิ อาระเบียรายงานผู้ป่วย ๕ ราย
• ประเทศกาตาร์ รายงานผู้ป่วย ๒ ราย
• ประเทศจอร์ แดนรายงานผู้ป่วย ๒ ราย
• ทัง้ รายมีอาการหนัก (อาการทางระบบหายใจ-ปอด
บวม และไตวาย) ตายแล้ ว ๕ ราย
• ในผู้ป่วยรุ นแรงที่ตาย มีอยู่รายหนึ่งมีเยื่อหุ้ม
หัวใจอักเสบ (pericarditis) ด้ วย และ
• มีผ้ ูป่วยอีก ๑ ราย นอกจากอาการระบบหายใจ
แล้ ว ยังมีภาวะแทรกซ้ อนคือ DIC
(disseminated intravascular blood coagulation)
ด้ วย
วันที่ ๑๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๖
• ทางการสหราชอาณาจักรรายงานไปยังองค์ การอนามัย
โลกว่ า มีผ้ ูป่วยได้ รับการชันสูตรยืนยันว่ าเป็ นโรคติดเชือ้
ไวรั สโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ novel coronavirus (NCoV)
ผู้ป่วยชายอายุ ๖๐ ปี เป็ นผู้มีภมู ิลาเนาอยู่ในยูเค
• เริ่มมีอาการเมื่อวันที่ ๒๖ มกราคม การตรวจชันสูตร
ปรากฏว่ ามีการติดเชื้อไข้ หวัดใหญ่ สายพันธุใหม่ Influenza
A(H1N1)pdm09 ร่ วมกับการติดเชื้อ nCoV แพทย์ รับผู้ป่วย
แพทย์ รับไว้ รักษาในหอผู้ป่วยไอซียูของโรงพยาบาลควีนส์
อะลิซาเบธ นครแมนเชสเตอร์
• การสอบสวนเบือ้ งต้ นเปิ ดเผยว่ า ผู้ป่วยมีประวัติ
เดินทางไปยังปากีสถาน และ ซาอุดิ อาระเบีย มี
อาการป่ วยหลังเดินทางกลับมาได้ ๑๐ วัน
• จากรายละเอียดอื่นๆ กาลังดาเนินการสอบสวน
เพิ่มเติม
• จนถึงวันที่ ๑๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๖ มีรายงานยืนยัน
ผู้ป่วยติดเชือ้ ไวรั สโคโรน่ าสายพันธุ์ใหม่ แล้ ว ๑๑ ราย
• วันที่ ๒๖ มีนาคม มีผ้ ูป่วย ๑๗ ราย
• วันที่ ๖ มิถุนายน ๒๕๕๖ มีผ้ ูป่วยรวม ๕๕ ราย
• มีรายงานการติดเชือ้ เป็ นคลัสเตอร์ ในครอบครั วด้ วย
สรุ ปผู้ป่วย ๑๑ รายที่ป่วยด้ วย nCoronaV
ข้ อมูลล่ าสุด ๑๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๖
»
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
Apr 12
Apr 12
03 Jun 12
03 09 12
10/10/12
12/10/12
3-5/11/12
28/1/12
Oct 12
24/1/13
06/2/13
CLUSTER
F/45 Jordan Rep on 30/11/12 Dead Cluster YES/Hospital A
M/25
30\11\12 Dead Cluster YES/Hospital A
M/60 KSA
20/09/12 Dead
M/49 Qatar-KSA
23/09/12 Alive hospitalized in UK
M/45 KSA
04/11/12 Alive
NO cluster
M/45 Qatar
23\11\12 Alive/Hosp Germany no cluster
M/31 KSA
23/11/12 Alive
YES Family A
M/39 KSA
23/11/12 Dead YES Family A
M/ukn KSA
28/11/12 Dead YES Family A
Ukn=unknown
M/60 Pakist/KSA 08/1/13 Alive/Hosp YES Family B
M/ukn UK
12/02/13 Alive/Hosp YES Family B
วันที่ ๒๖ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ ๑๗ ราย ๔ คลัสเตอร์
ข้ อมูล ๕๕ ราย ณ วันที่ ๖ มิถุนายน ๒๕๕๖
UK= United Kingdom
UAE= United Arab Republic
KSA= Kingdom of Saudi
Arabia
๖ มีนาคม ๒๕๕๖ (CIDRAP News)
• กระทรวงสาธารณสุขซาอุดิ อาระเบียรายงานผู้ป่วยโรคติด
เชือ้ nCoV อีก ๑ ราย
• ผู้ป่วย เป็ นชาย อายุ ๖๙ ปี แพทย์ รับไว้ ในโรงพยาบาล ๑๐
กพ. ตาย ๑๙ กพ. ผู้ป่วยไม่ เคยสัมผัสกับโรค ไม่ สัมผัส
สัตว์ ไม่ เคยเดินทางออกนอกพืน้ ที่เลย
• ขณะรายงาน มีผ้ ูป่วยโรคใหม่ นีท้ ่ วั โลกสะสมรวม ๑๔ ราย
ตุลาคม ๒๕๕๕ รายงานย้ อนหลัง
เพราะความล่ าช้ าในการชันสูตร
• มีผ้ ูป่วยจากกาตาร์ อีก ๑ รายไปรั บการรั กษาในห้ อง
ไอซียูของโรงพยาบาลในนคร ESSEN นอร์ ธ ไรห์ น
เวสฟาเลีย เยอรมนี รายนีร้ ั กษาอยู่ ๔ สัปดาห์ รายนี ้
รอด แพทย์ อนุญาตให้ กลับบ้ านได้
• สอบสวนว่ า ติดโรคจากที่ใดก็ยังไม่ ทราบ
• ข้ อมูลผู้ป่วยย้ อนหลังตุลาคม ๒๕๕๕
• ผู้ป่วยจากกรุ ง Doha, Qatar เป็ นเจ้ าของฟาร์ ม
อูฐ และฟาร์ มแพะด้ วย มีแพะหลายตัวที่ล้มเจ็บ
มีไข้ ก่ อนที่เขาเองจะป่ วย
• ผู้ป่วยไม่ ได้ สัมผัสกับสัตว์ โดยตรงแต่ ก็ได้ กนิ เนือ้
แกะ
ผู้ป่วยในสหราชอาณาจักร มกราคม/กุมภาพันธ์ ๒๕๕๖
• เป็ นรายที่ยอมรับว่ าเป็ นคลัสเตอร์ ท่ ี ๓
คลัสเตอร์ ของผู้ป่วยในสหราชอาณาจักร
• การสอบสวนโรคในผู้ป่วยรายดัชนี (รายที่ ๑ ของคลัสเตอร์ นี)้
• ผู้ป่วยชาย อายุ ๖๐ ปี เป็ นผู้ท่ มี ีถ่ นิ พานักอยู่ในราชอาณาจักร ได้
เดินทางไปยังปากีสถานและอยู่ท่ นี ่ ัน เป็ นเวลา ๕ สัปดาห์
หลังจากนัน้ ก็เดินทางต่ อ แวะไปแสวงบุญที่ เม็กกะและเมดินา
ซาอุดิ อาระเบีย เมื่อวันที่ ๒๐ มกราคม จนกระทั่งวันที่ ๒๘ จึง
เดินทางกลับสหราชอาณาจักร
• ขณะอยู่ในซาอุดิ อาระเบีย เมื่อวันที่ ๒๔ มกราคม รู้ สึกไม่ ใคร่
สบาย มีไข้ และมีอาการทางระบบหายใจ ในช่ วงเวลา ๑๐ วัน
ก่ อนมีอาการป่ วย ผู้ป่วยไม่ ได้ สัมผัสกับสัตว์ หรื อใกล้ ชิดกับผู้ป่วย
ใดๆที่มีอาการทางระบบหายใจรุ นแรงเลย
• เมื่อกลับถึงสหราชอาณาจักรแล้ ว อาการกลับไม่ ดี
ขึน้ ได้ ไปพบแพทย์ เวชปฏิบัตทิ ่ วั ไปเมื่อวันที่ ๓๐
มกราคม และได้ รับเข้ ารั กษาในโรงพยาบาลเมื่อ
วันที่ ๓๑ มกราคม อาการเลวลงอีกจึงต้ องใช้ เครื่ อง
extracorporeal membrane oxygenation (ECMO)
อาการกลับแย่ ลงไปอีก วันที่ ๕ กุมภาพันธ์ จึงมีการ
ส่ งต่ อไปรั บการรั กษาที่ โรงพยาบาลระดับทุตยิ ภูมิ
ผู้ป่วยก็ยังมีอาการทรง
• การทดสอบเบือ้ งต้ นทางห้ องชันสูตร ผลเมื่อวันที่ ๑
กุมภาพันธ์ ยืนยันว่ า เพาะแยกได้ เชือ้ ไข้ หวัดใหญ่
สายพันธุ์ influenza A(H1N1)pdm09 แพทย์ จงึ ให้ ยา
ต้ านไวรั สรั กษาไข้ หวัดใหญ่ กไ็ ม่ ดีขนึ ้ จึงทดลอง
ค้ นคว้ าต่ อและผลที่รายงานโดยห้ องปฏิบัตกิ าร
ระบบหายใจของ สานักงานปกป้องสุขภาพ (HPA)
เมื่อวันที่๘ กุมภาพันธ์ ว่า ติดเชือ้ ไวรั สโคโรนาสาย
พันธุ์ใหม่ nCoV ด้ วย
ผู้ป่วยรายที่ ๒ และ ผู้สัมผัสโรค
• ผู้ป่วยรายที่ ๒ เป็ นชาย อยู่ร่วมบ้ านกับผู้ป่วยรายดัชนี เป็ นผู้ท่ มี ี
โรคมะเร็งอยู่แล้ วและกาลังอยู่ระหว่ างการรักษาจึงมีภมู ิต้านทาน
อ่ อนแอ ไม่ ได้ เดินทางไปนอกประเทศมาก่ อน สัมผัสกับผู้ป่วยทัง้ ที่
บ้ านและที่โรงพยาบาล เมื่อวันที่ ๓๑ มกราคม ๒๕๕๖
• ผู้ป่วยรายที่ ๒ นี ้ มีอาการสบายดีจนกระทั่งวันที่ ๙ กุมภาพันธ์ จงึ เริ่ม
มีอาการป่ วย และแพทย์ รับไว้ รักษาในไอซียูของโรงพยาบาลเมื่อวันที่
๙ กุมภาพันธ์ ต้ องใช้ เครื่อง ECMO การทดสอบตัวอย่ างตรวจที่เก็บ
จากระบบหายใจรายงานผลเมื่อวันที่ ๑๐ กุมภาพันธ์ ยืนยันว่ าติดเชือ้
ไวรัส nCoV และ parainfluenza virus type 2
• ผู้ป่วยมีอาการหนัก เลวลง และเสียชีวิตวันที่ ๑๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๖
• ผู้สัมผัสโรคร่ วมบ้ านกับผู้ป่วยรายที่ ๒ (๔ จาก ๑๐
ราย) แขกเยี่ยมไข้ ท่ โี รงพยาบาล (๑ ราย) บุคลากร
ทางแพทย์ (๑ จาก ๖ ราย) ๑ วันหลังจากสัมผัสโรค
ครั ง้ สุดท้ าย แสดงอาการทางระบบหายใจอ่ อนๆ
และหายเอง
• นอกจากนัน้ ยังมีเพื่อนบ้ านอีก ๑ คน ได้ ไปเยี่ยม
ผู้ป่วยรายที่ ๒ ที่โรงพยาบาล ก็ไม่ มีอาการป่ วย ไม่ มี
รายใดที่มีผลการตรวจชันสูตรว่ าพบเชือ้ ไวรั ส nCoV
จากตัวอย่ างตรวจที่เก็บจากระบบหายใจ
ผู้ป่วยรายที่ ๓ และผู้สัมผัสโรค
• ผู้ป่วยรายที่ ๓ เป็ นสตรี สมาชิกของบ้ านของผู้ป่วยรายที่ ๑ แต่ แยกอาศัย
อยู่คนละบ้ าน ไม่ มีประวัตเิ ดินทางไปต่ างประเทศ ได้ สัมผัสกับผู้ป่วยราย
ที่ ๑ ระหว่ างวันที่ ๑-๔ กุมภาพันธ์ โดยไปเยี่ยม ๓ ครัง้ ที่โรงพยาบาล รวม
เวลาที่ใกล้ ชิดประมาณ ๒.๕ ชั่วโมง ไม่ ได้ สวมชุดป้องกันตัวเองหรือ full
PPE ระหว่ างที่ไปเยี่ยม ผู้ป่วยกาลังอยู่ ในเครื่องช่ วยหายใจ
• ผู้ป่วยรายนีไ้ ม่ ได้ สัมผัสใกล้ ชิดกับผู้ป่วยรายที่ ๒ ขณะที่มีอาการป่ วย
• รายที่ ๓ นี ้ วันที่ ๕ กุมภาพันธ์ หลังจากเยี่ยมผู้ป่วยรายที่ ๑ หรือ ๑ วัน
หลังสัมผัสกับผู้ป่วยรายที่ ๑ ครัง้ ล่ าสุด เธอแสดงอาการทางระบบหายใจ
คล้ ายไข้ หวัดใหญ่ (influenza-like illness) และโรคหายเองในเวลา ๙ วัน
• ตัวอย่ างตรวจที่เก็บส่ งตรวจเมื่อวันที่ ๑๓ กุมภาพันธ์ (๙ วันหลังเริ่มมี
อาการป่ วย) รายงานว่ าให้ ผลบวก ไวรัส nCoV และ parainfluenza type 2
ผู้สัมผัสโรคกับผู้ป่วยรายที่ ๓ จานวน ๒๕ คน
• มีผ้ ูสัมผัส ๒๕ คน ๙ คนร่ วมบ้ าน ๑๔ คนและบุคคล
อื่นๆ ๒ คนเป็ นบุคลากรทางแพทย์ ภายใน ๑๐ วัน
หลังสัมผัสโรค มีอยู่ ๓ รายที่แสดงอาการทางระบบ
หายใจอ่ อนๆและหายเอง ผู้สัมผัสโรค ทัง้ ที่มอี าการ
ป่ วยและไม่ มีอาการป่ วย ไม่ มีรายใดทีต่ รวจพบไวรั ส
nCoV จากตัวอย่ างตรวจที่เก็บจากทางเดินหายใจ
โรคยังแพร่ ตดิ ต่ อได้ ยาก
• การเฝ้าระวังการแพร่ เชือ้ จากผู้ป่วยที่ได้ เฝ้า
ระวังจากเหตุการณ์ ทงั ้ ที่ กรุ งลอนดอน และ
เยอรมนี ไม่ พบว่ า มีผ้ ูตดิ เชือ้ จากผู้ป่วย ทัง้ ผู้
ใกล้ ชิดและบุคลากรทางแพทย์
ข้ อมูลล่ าสุด ๒๖ มีนาคม ๒๕๕๖ มี ๑๗ ราย ๔ คลัสเตอร์
คลัสเตอร์ ที่ ๑. จอร์ แดน, ๒.ซาอุดิ อาระเบีย, ๓. ยูเค สหราชอาณาจักร ๔. ซาอุดิ อาระเบีย
รายที่เกิดขึน้ เป็ น ๔ กระจุกหรื อ ๔ คลัสเตอร์
• คลัสเตอร์ แรกเกิดที่โรงพยาบาลในประเทศจอร์ แดน
มีผ้ ูป่วยที่ได้ รับการยืนยัน ๒ ราย ทีเข้ าข่ ายต้ อง
สงสัยว่ าจะเป็ นอีก ๑๑ ราย ๑๐ รายเป็ นบุคลากรทาง
แพทย์
• คลัสเตอร์ ท่ี ๒ และ ๔ เกิดขึน้ ภายในครอบครั วของ
ประเทศ ซาอุดิ อาระเบีย
• คลัสเตอร์ ท่ี ๓ เกิดขึน้ ภายในครอบครั วในประเทศ
สหราชอาณาจักร
วันที่ ๘ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๖
• ถึง ๘ พฤษภาคม ๕๖ มีผ้ ูป่วยยืนยันที่ WHO ได้ รับรายงาน
รวม ๓๑ ราย :
• ๒ รายจากจอร์ แดน
• ๒ รายจากกาตาร์
• ๒๓ รายจาก ซาอุดิ อาระเบีย
• ๒ รายจากสหราชอาณาจักร
• ๑ รายจากสหรัฐอาหรับเอมิเรทและ
• ๑ รายจากฝรั่งเศส (?ติดจากสหรัฐอาหรับ เอมิเรท)
๘ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ ๒๙๓ วันทีโ่ ลกอยู่กับไวรั ส
รายงานผู้ป่วยจากประเทศฝรั่ งเศส ๑ ราย
• เมื่อวันที่ ๘ พฤษภาคม ๒๕๕๖ มีรายงานข่ าวจาก
ประเทศฝรั่ งเศสว่ า มีผ้ ูป่วยที่ได้ รับการชันสูตรยืนยัน ว่ า
ป่ วยเป็ นโรคติดเชือ้ ไวรั สโคโรน่ าสายพันธุ์ใหม่ ๑ ราย
• ผู้ป่วยเป็ นชายอายุ ๖๕ ปี เป็ นผู้ท่ มี ีภมู ิค้ ุมกันเสื่อม มี
อาการป่ วยเมื่อปลายเดือนเมษายนที่ผ่านมา (เมย. ๕๖)
ผู้ป่วยเดินทางไปทัศนาจรประเทศสหรั ฐอาหรั บเอมิเรท
๙ วัน ภายหลังจากที่เดินทางกลับจากดูไบ ๖ วัน ก็เริ่มมี
อาการป่ วย ผลชันสูตรยืนยัน เพิ่งได้ รายงานเมื่อวันที่ ๗
พฤษภาคม ๒๕๕๖ นี่เอง
ผู้ป่วยรายที่ ๒ ที่น่าจะติดเชือ้ จาก UAE
• แพทย์ รับผู้ป่วยรายนีไ้ ว้ เป็ นครัง้ แรกเมื่อวันที่ ๒๓ เมษายน
๒๕๕๖ ที่โรงพยาบาลในเมือง Valenciennes และได้ รับ
การส่ งต่ อไปยังโรงพยาบาลในเมือง Douai เมื่อวันที่ ๒๙
เมษายน ๒๕๕๖
• คงจากันได้ ว่า มีผ้ ูป่วยชาวสหรัฐอาหรับเอมิเรทป่ วยที่กรุ ง
อาบู ดาบี แล้ วได้ รับการส่ งต่ อไปรักษาที่นครมิวนิค
ประเทศเยอรมนี ๑ ราย
๑๐ พฤษภาคม ๒๕๕๖
• มีรายงานใน CIDRAP, Reuterและ AP ว่ า อาจมีผ้ ูป่วย
เพิ่มขึน้ ในฝรั่งเศส กล่ าวคือ
พยาบาลที่โรงพยาบาลเมือง Douai ที่ภาคเหนือของ
ประเทศใกล้ กับเมือง Lille ที่รับผู้ป่วยชายอายุ ๖๕ ปี เป็ น
โรคไวรัสโคโรน่ าสายพันธุ์ใหม่ รายแรกของฝรั่งเศส กาลังมี
อาการป่ วยเข้ าข่ ายน่ าสงสัยว่ าจะเป็ นโรค ผลการชันสูตรคง
จะได้ รับรายงานในวันนี ้ (๑๐ พค.)
๑๐ พฤษภาคม ๒๕๕๖
• ทางการกาลังสอบสวนตรวจทดสอบบุคคล อีก ๒ คน
• ชายวัย ๖๕ ปี ตอนแรกเข้ ารับการรักษาในโรงพยาบาลที่
เมือง Valenciennes
• คนแรกเป็ นผู้ป่วยร่ วมห้ องกับผู้ป่วยชายวัย ๖๕ ปี รายนัน้
• รายที่ ๒ เป็ นแพทย์ ผ้ ูทาการรั กษาบริบาลผู้ป่วยรายดังกล่ าว
• ทัง้ สองราย ก็เข้ าข่ ายต้ องสงสัยจะป่ วยเป็ นโรคไวรัส nCoroV
• กาลังรอรายงานผลการทดสอบ วันนี ้ (๑๐ พค.) คงจะได้ ผล
• รายแรกได้ ผลการตรวจแล้ วยืนยัน ๑๒ พค.๕๖
• ๑๒ พฤษภาคม ๒๕๕๖
•
•
•
•
มีรายงานยืนยันผู้ป่วยโรค nCoV แล้ วดังนี ้
ประเทศ ซาอุดิ อาระเบีย
๒๔ ราย ตาย ๑๓ ราย
ประเทศจอร์ แดน
ป่ วย ๒ ราย ตาย ๒ ราย
ประเทศสหราชอาณาจักร
ป่ วย ๓ ราย ตาย ๑ ราย เป็ น
ผู้ป่วยนาเข้ าจากต่ างประเทศ ๑ ราย
• ประเทศเยอรมนี
๒ ราย นาเข้ าจากกาตาร์ ๑
ราย รอด อีก ๑ รายจาก สหรัฐอาหรับ เอมิเรท ๑ ราย ตาย
• ประเทศฝรั่งเศส
๒ ราย นาเข้ าจาก สหรัฐ
อาหรับ เอมิเรท ๑ ราย ติดจากโรงพยาบาลในประเทศ ๑ ราย
วันที่ ๒๙ พฤษภาคม ๒๕๕๖
• ในประเทศฝรั่งเศส ผู้ป่วยที่ได้ รับการชันสูตรยืนยันราย
แรกที่เดินทางไปเยือนประเทศสหรัฐอาหรับ เอมิเรทมา
ก่ อนป่ วยนัน้ ก็เสียชีวติ ลงแล้ ว
• จนถึงวันนี ้ มีรายงานผู้ป่วยโรค MERS-CoV ที่ได้ รับการ
ชันสูตรยืนยันแล้ ว รวม ๔๙ ราย ตาย ๒๗ ราย
โปรเม็ดเมล์ ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๕๖
อ้ างถึง บทวามทางวิชาการ
• ชื่อ Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus
(MERS-CoV): Announcement of the Coronavirus Study
Group.
โดย de Groot RJ and members of the ICTV Study
Group of the ICTV:
• ติมพ์ ในวารสารวิชาการชื่อ J. Virol
doi:10.1128/JVI.01244-13]
• มีใจความสรุ ปได้ ว่า
กลุ่มศึกษาวิจัยไวรั สโคโรน่ า ภายใต้ คณะกรรมการ
ระหว่ างชาติว่าด้ วยการขนานนามไวรั ส
• Coronavirus Study Group (CSG), International Committee
on
Taxonomy of Viruses (ICTV),
• จึงได้ ร่วมประชุมปรึกษาหารือเพื่อที่ได้ บรรลุข้อตกลงในการ
เรียกชื่อไวรัสสายพันธุ์นี ้ ให้ เป็ นมาตรฐานเดียวกัน
• คณะกรรมการ CSG ได้ บรรลุข้อตกลงกันว่ าให้ ขนานนาม
ไวรัสใหม่ นีว้ ่ า
"Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus"
• หรือเรียกย่ อๆว่ า MERS-CoV
๒๙ พฤษภาคม ๒๕๕๖
• ทางการซาอุดอิ าระเบีย ได้ รายงานไปยังองค์ การอนามัย
โลกว่ ามีผ้ ูป่วยรายใหม่ MERS-CoV ที่ได้ รับการชันสูตร
ยืนยันแล้ วในประเทศนัน้ เพิ่มขึน้ อีก จานวน ๕ ราย ผู้ป่วย
ทัง้ ๕ ราย เป็ นผู้ป่วยจากภาคตะวันออกของประเทศคือ
จาก อัล-อาห์ ซา แหล่ งผลิตอินทผาลัม ซึ่งมีรายงาน
การระบาดที่ได้ รายงานไปแล้ ว เมื่อเดือนเมษายน ๒๕๕๖
เหตุอุบตั ขิ นึ ้ ที่สถานบริการทางการแพทย์ แห่ งหนึ่ง ผู้ป่วย
ทุกรายมีโรคประจาตัวทัง้ สิน้ และได้ ไปขอรับการรักษา
โรคดังกล่ าวที่โรงพยาบาลหลายครัง้ ทางการได้ เข้ าไป
สอบสวนโรคทัง้ ที่ โรงพยาบาล และในชุมชนนัน้ ด้ วย
โรคอุบัตชิ ุกทีอ่ ัล-อาห์ ซ่า
* ๕ มิถุนายน ๕๖
พฤษภาคม ๒๕๕๖ ประเทศทูนีเซีย
• ปลายเดือน พฤษภาคม ๒๕๕๖ ในประเทศทูนีเซีย มีผ้ ูตดิ เชือ้
๓ รายด้ วยกัน ที่ได้ รับการชันสูตรยืนยันว่ าติดเชือ้ MERS-CoV
• รายแรก เป็ นชาย อายุ ๖๖ ปี เสียชีวติ เมื่อวันที่ ๑๐
พฤษภาคม ๒๕๕๖
• รายที่ ๒ เป็ นหญิงอายุ ๓๕ ปี เป็ นบุตรสาวของรายแรก ป่ วย
มีอาการอ่ อนๆ และหายจากโรค
• รายที่ ๓ เป็ นชายอายุ ๓๔ ปี บุตรชายของรายแรก ไม่ มี
อาการป่ วยแต่ ชันสูตรยืนยันว่ าติดเชือ้ MERS-CoV เหมือนสอง
รายแรก
วันที่ ๒ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๖
ประเทศอิตาลีรายงานผู้ป่วยโรค MERS-CoV
• ผู้ป่วยรายแรกชายอายุ ๔๕ ปี ทางานโรงแรมกลับจากการไปทัศนาจร
อยู่ในประเทศจอร์ แดนนานถึง ๔๐ วัน
• กลับไปถึงประเทศอิตาลีเมื่อวันที่ ๒๕ พฤษภาคม ๒๕๕๖ ผู้ป่วย เริ่มรู้สึก
ไม่ ใคร่ สบายตัง้ แต่ อยู่บนเครื่องบินแล้ ว
• ก่ อนไปพบแพทย์ ได้ แวะไปทางานที่โรงแรมก่ อนสักพัก ผู้ป่วยมีอาการ
ของระบบทางเดินหายใจ มีอาการไอและอ่ อนเพลียมาก อาการเลวลง
• แพทย์ จงึ รับไว้ รักษาในโรงพยาบาลเมื่อวันที่ ๒๘ พฤษภาคม ขณะ
รายงานยังทรงคงตัว
• การตรวจทดสอบชันสูตรกระทาที่ศูนย์ ไข้ หวัดใหญ่ ท่ ที สั คานี และ
ทดสอบยืนยันที่ศูนย์ ไข้ หวัดใหญ่ แห่ งชาติ ที่ Ituto Superiore di Sanita.
รายงานผลว่ าติดเชือ้ MERS-CoV
• ขณะอยู่บนเครื่ องบินโดยสาร ยังมีผ้ ูโดยสารที่อยู่ใน
ข่ ายที่จะต้ องติดตามเฝ้าระวังตรวจสอบ ๔๐ คน และ
มีอยู่ ๑๒ คน ที่อยู่ในประเทศจอร์ แดน ที่ทางการ
จะต้ องติดตามตัวเฝ้าระวังอย่ างใกล้ ชิดด้ วย
๑ มิถุนายน ๒๕๕๖ ผู้ป่วยรวม ๕๑ ราย ตาย ๓๐ ราย
• ฝรั่งเศส
ป่ วย ๒
ตาย ๑
• จอร์ แดน
๒
๒
• กาตาร์
๒
๐
• ซาอุดิ อาระเบีย
๓๘
๒๑
• ทูนีเซีย
๒
๐
• สหราชอาณาจักร
๓
๒
• สหรัฐอาหรับ เอมิเรท
๑
๑
• อิตาลี
๑
๐
มีผ้ ูตดิ โรคจากผู้ป่วยรายดัชนีในอิตาลี ๒ ราย
• รายแรกเป็ นเด็กหญิงอายุ ๒ ขวบเป็ น
หลานสาวของผู้ป่วย
• รายที่ ๒ เป็ นเพื่อนร่ วมงานที่โรงแรม สัมผัสโรค
ก่ อนไปโรงพยาบาล
• ??คลัสเตอร์ ?? ; ??ติดจากคน-สู่-คน??
๕ มิย. ๕๖ มีรายงานโรค ๘ ประเทศ จานวนผู้ป่วย ๕๕ ราย ตาย ๓๐ราย
• ประเทศ
ป่ วย ตาย
• ฝรั่ งเศส
๒
๑
• อิตาลี
๓
๐
• จอร์ แดน
๒
๒
• กาตาร์
๒
๐
• ซาอุดิ อาระเบีย
๔๐
๒๔
• ทูนีเซีย
๒
๐
• สหราชอาณาจักร
๓
๒
• สหรั ฐอาหรั บ เอมิเรท
๑
๑
• รวม
๕๕
๓๐
หมายเหตุ ข้ อมูลล่ าสุด ๗ มิถุนายน ผู้ป่วย ๕๕ รายตายเพิม่ เป็ น ๓๑ ไม่ ทราบของประเทศใด
Confirmed cases* of Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus (MERS-CoV) (N =55) reported as of June 7, 2013, to
the World Health Organization, and history of travel from the Arabian Peninsula or neighboring countries within 14 days of
illness onset — worldwide, 2012–2013
ประเทศที่รายงานยืนยันผูป้ ่ วยโรค
MERS-CoV
๑๒ มิถุนายน ๒๕๕๖
• กระทรวงสาธารณสุข ซาอุดิ อาระเบียรายงานเพิ่มอีก ๒
รายจาก Taif governorate ใกล้ ๆกับนครเม็กกะทางภาค
ตะวันตกของประเทศ
• รายแรก เป็ นชายอายุ ๖๕ ปี
• รายที่ ๒ เป็ นหญิงอายุ ๖๘ ปี
• ทัง้ คู่มีโรคเรื อ้ รังประจาตัว ทัง้ คู่ยังอยู่ใน ไอซียู
• รายที่ ๓ เป็ นชายอายุ ๔๖ ปี จาก Wadi Al-Dawasir ซึ่ง
เป็ นเมืองทางภาคกลางในจังหวัดริย๊าด รายนีเ้ สียชีวติ แล้ ว
๑๖ มิถุนายน ๒๕๕๖
• จานวนผู้ป่วยทั่วโลกเพิ่มขึน้ เป็ น ๖๑ คน เสียชีวติ แล้ ว ๓๔
คน
• ๓ รายล่ าสุดรายงานที่ ซาอุดอิ าระเบีย
• ผู้ป่วยรายงานจากซาอุดอิ าระเบีย ๒๕ ราย เสียชีวติ แล้ ว
๑๔ ราย
Confirmed cases* of Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus (MERS-CoV) (N =55) reported as of June 7, 2013, to
the World Health Organization, and history of travel from the Arabian Peninsula or neighboring countries within 14 days of
illness onset — worldwide, 2012–2013
ผู้ป่วยยืนยันทัว่ โลก ๗๗ ราย ตาย ๔๐ ราย ๔ กค. ๕๖
•
•
•
•
•
•
•
•
ฝรั่งเศส
อิตาลี
จอร์ แดน
กาตาร์
ซาอุดิ อาระเบีย
ทูนเซีย
สหราชอาณาจักร์
สหรัฐอาหรับ เอมิเรท
ป่ วย ๒ ราย
ป่ วย ๓ ราย
ป่ วย ๒ ราย
ป่ วย ๒ ราย
ป่ วย ๖๒ ราย
ป่ วย ๒ ราย
ป่ วย ๓ ราย
ป่ วย ๑ ราย
ตาย ๑ ราย
ตาย ๐ ราย
ตาย ๒ ราย
ตาย ๐ ราย
ตาย ๓๔ ราย
ตาย ๐ ราย
ตาย ๒ ราย
ตาย ๑ ราย
วันที่ ๙ กรกฎาคม ๒๕๕๖ ๘๐ ราย ตาย ๔๕ ราย
•
•
•
•
•
•
•
•
ฝรั่งเศส
อิตาลี
จอร์ แดน
กาตาร์
ซาอุดิ อาระเบีย
ทูนีเซีย
สหราชอาณาจักร์
สหรัฐอาหรับ เอมิเรท
•
*ผู้ป่วยกาต้ าร์ รายแรกทีไ่ ปรักษาทีม่ หานครลอนดอน รายงานเมือ่ วันที่ ๓ กค.๕๖ ว่ าตายแล้ว
ป่ วย ๒ ราย
ป่ วย ๓ ราย
ป่ วย ๒ ราย
ป่ วย ๒ ราย
ป่ วย ๖๖ ราย
ป่ วย ๒ ราย
ป่ วย ๓ ราย
ป่ วย ๑ ราย
ตาย ๑ ราย
ตาย ๐ ราย
ตาย ๒ ราย
ตาย* ๑ ราย
ตาย ๓๘ ราย
ตาย ๐ ราย
ตาย ๒ ราย
ตาย ๑ ราย
๒๕ กรกฎาคม ๒๕๕๖
• ยอดผู้ป่วยทีไ่ ด้ รับการชันสู ตรยืนยันทั่วโลก
MERS-CoV ถึง ๒๕ กค.๕๖ เท่ ากับป่ วย ๙๑ ราย
ตาย ๔๖ ราย (อัตราป่ วย/ตายร้ อยละ ๕๐.๕)
• ในประเทศซาอุดิ อาระเบียประเทศเดียวมีผ้ปู ่ วย
ป่ วย ๗๑ ราย ตาย ๓๙ ราย
(อัตราป่ วย/ตายร้ อยละ ๕๔.๙)
วันที่ ๒๖
กรกฎาคม ฑ.ศ.๒๕๕๖
• Assiri A และคณะได้วิเคราะห์รายงานผูป้ วย ๔๗ รายในประทศ
ซาอุดิ อาระเบีย พิมพ์เผยแพร่ ในวารสารแลนเซ็ทวันที่ ๒๖
กรกฎาคม ๒๕๕๖ มีผลสรุ ปได้ดงั นี้คือ
•
Assiri A, Al-Tawfiq JA, Al-Rabeeah AA, Al-Rabiah FA, Al-Hajjar
S, Al-Barrak A, et al. Epidemiological, demographic, and clinical
characteristics of 47 cases of Middle East respiratory syndrome
coronavirus disease from Saudi Arabia: a descriptive study. The Lancet
Infect Dis - 26 Jul 2013. DOI: 10.1016/S1473-3099(13)70204-4. Abstract
available at
<http://www.thelancet.com/journals/laninf/article/PIIS1473-3099(13)70204-4/abstract>
อาการที่พบได้บ่อยผลสรุ ปในรายงาน
•
•
•
•
•
•
•
•
•
ผู้ป่วย ๔๖ ราย (๙๘%) ก็คอื มีไข้
๔๑ ราย (๘๗%)มีไข้ หนาวสั่ นหรือ rigors
๓๙ ราย ( ๘๓%) มีอาการไอ
๓๔ ราย (๗๒%) มีอาการหอบและ
๑๕ ราย (๓๒%) มีอาการปวดกล้ามเนือปวดเมื่อยตามตัว
อาการทางระบบทางเดินอาหารทีพ่ บได้ เสมอคือ
๑๒ ราย (๒๖%) มีอาการท้ องเดิน
๑๐ ราย (๒๑%) มีอาการอาเจียน และ
๘ ราย (๑๗%) มีอาการปวดท้ อง
ทุกรายมีผลการแสดงภาพรังสี ทรวงอก ที่ผดิ ปกติ และ
ผลทางห้องเวชศาสตร์ชนั สูตรผิดปกติ
ภาพรั งสี ทรวงอก ที่ผิดปกติ
• มีต้ งั แต่ความผิดปกติบา้ งเล็กน้อยจนถึงขั้นรุ นแรงอย่างกว้างขวางกล่าวคือ มีความ
ผิดปกติที่ปอดข้างเดียว หรื อ ทั้ง ๒ ข้าง
การวิเคราะห์ ทางห้ องเวชศาสตร์ ชันสู ตร์
• ๒๓ ราย (๔๙%) มีระดับเอ็นซัน?ม์ lactate dehydrogenase สู งขึ้น
• ๗ ราย (๑๕%) มีระดับเอ็นซัยม์ aspartate aminotransferase สู งขึ้น และ
• ๑๗ ราย (๓๖%) มีเกร็ ดเลือดต่า thrombocytopenia และ
• ๑๖ ราย (๓๔%) มีปริ มาณเม็ดเลือดขาวต่า lymphopenia
อายุ เพศ อัตราป่ วย/ตายโรค MERS-CoV
• ผู้ป่วย ๔๗ รายทีม่ กี ารชันสู ตรยืนยัน เป็ นผู้ใหญ่ ๔๖ ราย
เป็ นเด็กเพียงคนเดียว
• ผู้ป่วย ๓๖ ราย (๗๗%) เป็ นชาย (ช:ญ = ๓.๓:๑)
• ผู้ป่วยเสี ยชีวติ ๒๘ ราย อัตราป่ วย/ตาย เท่ ากับ ๖๐%
• อัตราตายจะเพิม่ สู งขึน้ โดยมีความสั มพันธ์ กบั อายุที่
สู งขึน้ ด้ วย
ภาวะโรคประจาตัวที่มีอยูเ่ ดิม
•
•
•
•
•
•
มีผปู้ ่ วยเพียง ๒ ราย ที่สมบรู ณ์ดีไม่มีโรคประจาตัว
ผูป้ ่ วยส่ วนมาก ๔๕ ราย (๙๖%) มีโรคประจาตัวอยูเ่ ดิม ได้แก่
ผูป้ ่ วย ๓๒ ราย (๖๘%) เป็ นเบาหวาน
ผูป้ ่ วย๑๖ ราย (๓๔%) มีแรงดันเลือดสูง
ผูป้ ่ วย๓ ราย (๒๘%) เป็ นโรคหัวใจเรื้ อรัง และ
ผูป้ ่ วย๒๓ ราย (๔๙%) เป็ นโรคไตเรื้ อรัง
บทวิจารณ์
• โรคที่ก่อโดย MERS-CoV สาแดงอาการที่กว้างขวางมาก และ
เชื่อมโยงกับอัตราตายที่สูงขึ้นตามลาดับ (หากมีหลายโรคประจาตัว ก็ยงิ่
จะตายมากขึ้นตามลาดับ)
• ยังมีองค์ความรู ้ที่เรายังขาดอยูอ่ ีกมากได้แก่ ความรู้ดา้ นวิทยาการ
ระยาด ความชุกของโรคในชุมชน และขอบข่ายของภาวะติด
เชื้อกัยการก่อโรค ก็มีความจาเป็ นจะต้องให้มีนิยามให้ชดั เจน
อย่างเร่ งด่วน ว่ าอย่ างไรจึงจะถือว่ ายังเป็ นเพียงติดเชื้อยังไม่ ถอื ว่ า
เป็ นโรค และ เช่ นไร จึงจะถึอว่ าเป็ นโรคเป็ นต้ น
ภาวะโรคประจาตัว
• ในผูป้ ่ วย ๔๕ ราย (๙๖%) จาก ๔๗ ราย ที่ทราบว่าประวัติวา่ มีโรค
ประจาตัวอยูเ่ ดิมนั้น นาไปวิเคราะห็ได้ดงั ตารางต่อไปนี้
•
ความสัมพันธ์กบั โรคเดิมและอัตราป่ วย/ตาย
จานวนโรคทีม่ อี ยู่เดิม
จานวนผู้ทมี่ โี รค
ตาย
อัตราป่ วย/ตาย
ไม่ มีโรคเลย
มีโรคเดิม ๑ โรค
มีโรคเดิม ๒ โรค
มีโรคเดิม ๓ โรค
มีโรคเดิม ๔ โรค
มีโรคเดิม ๕ โรค
มีโรคเดิม ๖ โรค
๒
๑๑
๑๑
๑๐
๑๐
๒
๑
๐
๓
๖
๘
๘
๒
๑
๐.๐
๒๗.๓
๕๔.๕
๘๐.๐
๘๐.๐
๑๐๐.๐
๑๐๐.๐
๒๘
๖๐.๐
รวมทั้งสิ้นที่มีโรคประจาตัว ๔๗
ข้ อมูลเบือ้ งต้ นโดยสรุ ป
• ผู้ป่วยส่ วนใหญ่ เป็ นเพศชาย อายุสูงกว่ า ๔๕ ปี ขึน้ ไป และ
มีโรคประจาตัวอยู่ก่อน
• โรคในเด็กจะมีอาการอ่ อน
• ผู้ท่ เี สียชีวติ ที่มีอายุต่ากว่ า ๒๑ ปี มีน้อยราย
ข้ อมูลวันที่ ๒๖ มิถุนายน ๒๕๕๖
ข้ อมูลวันที่เริ่มมีอาการป่ วยในผู้ป่วย ๕๒ ราย
(ข้ อมูลถึง ๔ กรกฎาคม ๕๖)
ผู้ป่วย ๗๐ รายทีเ่ ริ่มรายแรกวันที่ ๑๘ มีค ๕๕ รายสุ ดท้ าย ๑๘ มิย.๕๖ มีข้อมูลวันที่เริ่มป่ วย ๔๙ ราย
สรุ ปผูป้ ่ วยรายที่ ๑๘ – รายที่ ๗๗
• ผูป้ ่ วยรายที่ ๑๘ เป็ นชายอายุ ๕๙ ปี ชาวซาอุดิอาระเบีย มีโรคประจาตัวหลายโรค
เริ่ มป่ วยวันที่ ๑๔ เมษายน ๒๕๕๖ ตายวันที่ ๑๙ เมายน ๒๕๕๖
• ผูป้ ่ วยรายที่ ๑๙ เป็ นชายอายุ ๒๔ ปี ชาวซาอุดิอาระเบีย มีโรคประจาตัวหลายโรค
ไม่ระบุวนั ที เริ่ มป่ วยตายวันที่ ๑๗ เมายน ๒๕๕๖
• ผูป้ ่ วยรายที่ ๒๐ เป็ นชายอายุ ๘๗ ปี ชาวซาอุดิอาระเบีย มีโรคประจาตังหลายโรค
เริ่ มป่ วยวันที่ ๑๗ เมษายน ๒๕๕๖ ตายวันที่ ๒๘ เมายน ๒๕๕๖
• ผูป้ ่ วยรายที่ ๒๑ เป็ นชายอายุ ๕๘ ปี ชาวซาอุดิอาระเบีย มีโรคประจาตัวหลายโรค เริ่ มป่ วยวันที่ ๒๒ เมษายน
๒๕๕๖ รอด อาการทรง
ผูป้ ่ วยรายที่ ๒๒ เป็ นชายอายุ ๙๔ ปี ชาวซาอุดิอาระเบีย มีโรคประจาตัวหลายโรค เริ่ มป่ วยวันที่ ๒๒ เมษายน
๒๕๕๖ ตายวันที่ ๒๖ เมษายน ๒๕๕๖
ผูป้ ่ วยรายที่ ๒๓ เป็ นชายอายุ ๕๖ ปี ชาวซาอุดิอาระเบีย มีโรคประจาตังหลายโรค เริ่ มป่ วยวันที่ ๒๒ เมษายน
๒๕๕๖ ตายวันที่ ๓๐ เมษายน ๒๕๕๖
ผูป้ ่ วยรายที่ ๒๔ เป็ นชายอายุ ๕๖ ปี ชาวซาอุดิอาระเบีย มีโรคประจาตัวหลายโรค เริ่ มป่ วยวันที่ ๒๒ เมษายน
๒๕๕๖ ตายวันที่ ๒๙ เมษายน ๒๕๕๖
• ผูป้ ่ วยรายที่ ๒๕ เป็ นหญิงอายุ ๕๓ ปี ชาวซาอุดิอาระเบีย มีโรคประจาตัวหลายโรค เริ่ มป่ วยวันที่ ๒๗ เมษายน
๒๕๕๖ รายนี้รอดแต่อาการอยูใ่ นขั้นวิกฤติ
•
ผูป้ ่ วยรายที่ ๒๖ เป็ นชายอายุ ๔๐ ปี ชาวซาอุดิอาระเบีย มีโรคประจาตัวหลายโรค เริ่ มป่ วยวันที่ ๓๐ เมษายน ๒๕๕๖ รายนี้รอด
อาการอยูใ่ นขั้นดีข้ ึน
•
ผูป้ ่ วยรายที่ ๒๗ เป็ นชายอายุ ๓๓ ปี ชาวซาอุดิอาระเบีย มีโรคประจาตัวหลายโรค เริ่ มป่ วยวันที่ ๒๘ เมษายน ๒๕๕๖ รายนี้รอด
อาการดดีข้ ึนอาการอยูใ่ นขั้น
•
ผูป้ ่ วยรายที่ ๒๘ เป็ นหญิงอายุ ๖๒ ปี ชาวซาอุดิอาระเบีย มีโรคประจาตัวหลายโรค เริ่ มป่ วยวันที่ ๑๙ เมษายน ๒๕๕๖ ตายวันที่ ๓
พฤษภาคม ๒๕๕๖
•
ผูป้ ่ วยรายที่ ๒๙ เป็ นชายอายุ ๗๑ ปี ชาวซาอุดิอาระเบีย มีโรคประจาตัวหลายโรค เริ่ มป่ วยวันที่ ๑๕ เมษายน ๒๕๕๖ ตายวันที่ ๓
พฤษภาคม ๒๕๕๖
•
ผูป้ ่ วยรายที่๓๐ เป็ นหญิงอายุ ๕๘ ปี ชาวซาอุดิอาระเบีย มีโรคประจาตัวหลายโรค เริ่ มป่ วยวันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๕๖ รายนี้ยงั
รอดแต่อาการอยูใ่ นขั้นวิกฤติ
• ผูป้ ่ วยรายที่ ๓๑ เป็ นชายอายุ ๖๕ ปี เดินทางไปทัศนาจรสหรัฐอาหรับเอมิเรท มีโรคประจาตัวหลายโรค เริ่ มป่ วยวันที่
๒๓ เมษายน ๒๕๕๖ รายนี้เป็ นชาวฝรั่งเศส ตายในฝรั่งเศส
• ผูป้ ่ วยรายที่ ๓๒ เป็ นชายอายุ ๔๘ ปี ชาวซาอุดิอาระเบีย มีโรคประจาตัวหลายโรค เริ่ มป่ วยวันที่ ๒๙ เมษายน ๒๕๕๖
รายนี้สถานภาพ ทรงตัว
• ผูป้ ่ วยรายที่ ๓๓ เป็ นชายอายุ ๕๘ ปี ชาวซาอุดิอาระเบีย มีโรคประจาตัวหลายโรค เริ่ มป่ วยวันที่ ๖ เมษายน ๒๕๕๖
รายนี้รอด ฟื้ นจากโรคและหาย
• ผูป้ ่ วยรายที่ ๓๔ เป็ นชายอายุ ๕๐ ปี ชาวฝร่ งเศส มีโรคประจาตัว เป็ นผูป้ ่ วยอยูร่ ่ วมห้องกับรายที่ ๓๑
• ผูป้ ่ วยรายที่ ๓๕ เป็ นหญิงอายุ ๖๙ ปี ชาวซาอุดิอาระเบีย มีโรคประจาตัวหลายโรค เริ่ มป่ วยวันที่ ๒๕ เมษายน
๒๕๕๖ รายนี้ตายแต่ไม่ระบุวนั ที่ตาย
•
ผูป้ ่ วยรายที่ ๓๖ เป็ นชายอายุ ๔๘ ปี ชาวซาอุดิอาระเบีย มีโรคประจาตัวหลายโรค เริ่ มป่ วยวันที่ ๒๔ เมษายน ๒๕๕๖ รายนี้รอดแต่อาการอยูใ่ น
ขั้นวิกฤติ
•
ผูป้ ่ วยรายที่ ๓๗ เป็ นชายอายุ ๘๑ ปี ชาวซาอุดิอาระเบีย มีโรคประจาตัวหลายโรค เริ่ มป่ วยวันที่ ๒๖ เมษายน ๒๕๕๖ อาการอยูใ่ นขั้นวิกฤติ ตาย
ไม่ระบุวนั ที่
•
ผูป้ ่ วยรายที่ ๓๘ เป็ นชายอายุ ๕๖ ปี ชาวซาอุดิอาระเบีย มีโรคประจาตัวหลายโรค เริ่ มป่ วยวันที่ ๗ พฤษภาคม ๒๕๕๖ รายนี้ไม่ทราบสถานภาพ
•
ผูป้ ่ วยรายที่ ๓๙ เป็ นชายอายุ ๔๕ ปี ชาวซาอุดิอาระเบีย บุคลากรทางการแพทย์ มีโรคประจาตัวหลายโรค เริ่ มป่ วยวันที่ ๒ พฤษภาคม ๒๕๕๖ ราย
นี้ยงั รอดแต่อาการอยูใ่ นขั้นวิกฤติ
•
ผูป้ ่ วยรายที่ ๔๐ เป็ นหญิงอายุ ๔๓ ปี ชาวซาอุดิอาระเบีย มีโรคประจาตัวหลายโรค เริ่ มป่ วยวันที่ ๘ พฤษภาคม ๒๕๕๖ รายนี้รอด อาการทรงตัว
• ผูป้ ่ วยรายที่ ๔๑ เป็ นหญิงอายุ ๘๑ ปี ชาวซาอุดิอาระเบีย มีโรคประจาตัวหลายโรค เริ่ มป่ วยวันที่ ๒๘ เมษายน
๒๕๕๖ รายนี้ตาย ไม่ระบุวนั ที่
• ผูป้ ่ วยรายที่ ๔๒ เป็ นหญิงอายุ ๓๕ ปี ชาวทูนีเซีย พี่สาวของรายที่ ๔๓ เดินทางไปแสวงบุญ ณ เม็กกะ เริ่ มป่ วยวันที่
๒๗ เมษายน ๒๕๕๖ รายนี้รอด หาย
• ผูป้ ่ วยรายที่ ๔๓ เป็ นชายอายุ ๓๔ ปี ชาวทูนีเซีย น้องขายรายที่ ๔๒
• ผูป้ ่ วยรายที่ ๔๔ เป็ นชายอายุ ๖๓ ปี ชาวซาอุดิอาระเบีย มีโรคประจาตัวหลายโรค เริ่ มป่ วยวันที่ ๑๕ พฤษภาคม
๒๕๕๖ ตายวันที่ ๒๐ พฤษภาคม ๒๕๕๖
• ป่ วยรายที่ ๔๕ เป็ นชายอายุ ๕๖ ปี ชาวซาอุดิอาระเบีย มีโรคประจาตัวหลายโรค เริ่ มป่ วยวันที่ ๑๒ พฤษภาคม
๒๕๕๖ ตายวันที่ ๒๐ พฤษภาคม ๒๕๕๖
•
ผูป้ ่ วยรายที่ ๔๖ เป็ นหญิงอายุ ๘๕ ปี ชาวซาอุดิอาระเบีย มีโรคประจาตัวหลายโรค เริ่ มป่ วยวันที่ ๑๗ พฤษภาคม ๒๕๕๖ ขณะ
รายงานอาการยังอยูใ่ นขั้นวิกฤติ
•
ผูป้ ่ วยรายที่ ๔๗ เป็ นหญิงอายุ ๗๖ ปี ชาวซาอุดิอาระเบีย มีโรคประจาตัวหลายโรค เริ่ มป่ วยวันที่ ๒๔ พฤษภาคม ๒๕๕๖ หาย
กลับบ้านได้วนั ที่ ๒๗ พฤษภาคม ๒๕๕๖
•
ผูป้ ่ วยรายที่ ๔๘ เป็ นชายอายุ ๗๗ ปี ชาวซาอุดิอาระเบีย มีโรคประจาตัวหลายโรค เริ่ มป่ วยวันที่ ๑๙ พฤษภาคม ๒๕๕๖ ตายวันที่
๒๖ พฤษภาคม ๒๕๕๖
•
ผูป้ ่ วยรายที่ ๒๘ เป็ นหญิงอายุ ๖๒ ปี ชาวซาอุดิอาระเบีย มีโรคประจาตัวหลายโรค เริ่ มป่ วยวันที่ ๑๙ เมษายน ๒๕๕๖ ตายวันที่ ๓
พฤษภาคม ๒๕๕๖
•
ผูป้ ่ วยรายที่ ๕๐ เป็ นชายอายุ ๖๑ ปี ชาวซาอุดิอาระเบีย มีโรคประจาตัวหลายโรค เริ่ มป่ วยวันที่ไม่ระบุและไม่มีขอ้ มูลอื่นๆ อีก
• ผูป้ ่ วยรายที่ ๕๑ เป็ นชายอายุ ๔๕ ปี ?ชาวอิตาลี เดินทางไปทัศนาจรประเทศจอร์แดน เริ่ มป่ วยวันที่ ๑๙ พฤษภาคม
๒๕๕๖ อยูใ่ นโรงพยาบาล อาการดี
• ผูป้ ่ วยรายที่ ๕๒ เป็ นเด็กอายุ ๑.๕ ปี ?ชาวอิตาลี หลานของรายที่ ๕๑ และสัมผัศกับรายนี้ ยังอยูใ่ นโรงพยาบาล
อาการดี
• ผูป้ ่ วยรายที่ ๕๓ เป็ นหญิงอายุ ๔๐ ปี ?ชาวอิตาลี เพื่อนร่ วมงานรายที่ ๕๑
• ผูป้ ่ วยรายที่ ๕๔ เป็ นเด็กชายอายุ ๑๔ ปี ชาวซาอุดิอาระเบีย แต่ไม่ใช่รายที่เป็ นคลัสเตอร์ที่โรงพยาบาล - AlAhsa hospital, Saudi Arabia
• ผูป้ ่ วยรายที่ ๕๕ เป็ นชายอายุ ๘๓ ปี มีโรคประจาตัวหลายโรค ชาวซาอุดิอาระเบีย ไม่มีขอ้ มูลอื่นๆ
โรคอุบตั ิชุกทีอ่ ัล-อาห์ ซ่า
* ๕ มิถุนายน ๕๖
• ผูป้ ่ วยรายที่ ๕๖ เป็ นหญิงอายุ ๖๓ ปี ชาวซาอุดิอาระเบีย ขณะนี้อยูใ่ นโรงพยาบาล อาการทรงตัว
ไม่มีรายละเอียดอื่นๆ
• ผูป้ ่ วยรายที่ ๕๗ เป็ นชาย อายุ ๗๕ปี ชาวซาอุดิอาระเบีย ยยังรักษาอยูใ่ นโรงพยาบาล ไม่มี
รายละเอียดอื่นๆ
•
ผูป้ ่ วยรายที่ ๕๘ เป็ นชาย อายุ ๒๑ ปี ชาวซาอุดิอาระเบีย ตายแล้วในสัปดาห์น้ ี ไม่มีรายละเอียด
อื่นๆ
• ผูป้ ่ วยรายที่ ๕๙ เป็ นชาย อายุ ๖๕ปี ชาวซาอุดิอาระเบีย ยังรักษาอยูใ่ นไอซี ยโู รงพยาบาล ไม่มี
รายละเอียดอื่นๆ
• ผูป้ ่ วยรายที่ ๖๐ เป็ นหญิง อายุ ๖๘ปี ชาวซาอุดิอาระเบีย ได้รับการรักษาอยูใ่ นไอซียโู รงพยาบาล
ตายแล้ว ไม่มีรายละเอียดอื่นๆ
• ผูป้ ่ วยรายที่ ๖๑ ไม่ระบุเพศ อายุ ๔๖ ปี ชาวซาอุดิอาระเบียตายแล้ว ไม่มีรายละเอียด
• ผูป้ ่ วยรายที่ ๖๒ เป็ นชาย อายุ ๔๒ ปี จากจังหวัดทางภาคตะวันออกไม่มีรายละเอียด
• ผูป้ ่ วยรายที่ ๖๓ เป็ นหญิง อายุ ๖๓ ปี ชาวซาอุดิอาระเบีย จากจังหวัดริ ยาด ไม่มีรายละเอียด
• ผูป้ ่ วยรายที่ ๖๔ เป็ นเด็กอายุ ๒ ขวบ ไม่ระบุเพศ จากเมืองจ็ดดะ จังหวัดเม็กกะ
ไม่มีรายละเอียดอื่นๆ
• ผูป้ ่ วยรายที่ ๖๕ เป็ นหญิงอายุ ๔๒ ปี ชาวซาอุดิอาระเบียจังหวัดทางภาคตะวันออก ไม่มี
รายละเอียดอื่นๆ
•
• ผูป้ ่ วย ๓ รายต่อไปนี้ เป็ นหญิง ชีพบุคลากรทางแพทย์ (?
พยาบาล) ทุกรายอยูท่ ี่ Taif, Mecca province - KSA
•
•
•
•
รายที่ ๖๖ อายุ ๔๕ ปี ,
รายที่ ๖๗ อายุ ๓๙ ปี
รายที่ ๖๘ อายุ ๒๙ ปี
ยังไม่มีรายละเอียดใดๆเลยสักราย
• ผูป้ ่ วยรายที่ ๖๙ เป็ นหญิงอายุ ๔๑ ปี จากริ ยาด
• ผูป้ ่ วยรายที่ ๗๐ อายุ ๓๒ ปี ไม่ระบุเพศ
เป็ นผูป้ ่ วยโรคมะร็ ง อยูท่ ีขงั หวัดทางภาคตะวันออก ตายแล้ว
• ผูป้ ่ วยรายที่ ๗๑-๗๗ ยังไม่มีขอ้ มูล เป็ นรายที่ทางการเพ่งจะประกาศใหม่
อีก ๗ ราย อายุระหว่าง ๗-๑๕ ปี และอีก ๑ รายอายุ ๕๐ ปี จากจังหวัด
ทางภาคตะวันออก ของประเทศซาอุดิอาระเบีย
• ๖ ราย อาจจะเป็ นผูท้ ี่ติดเชื้อไม่ปรากฎอาการด้วยซ้ าไป
๙ ประเทศที่รายงานยืนยันผูป้ ่ วยโรค
MERS-CoV
ข้ อมูลถึงกรกฎาคม ๒๕๕๖
Confirmed cases* of Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus (MERS-CoV) (N =55) reported as of June 7, 2013, to
the World Health Organization, and history of travel from the Arabian Peninsula or neighboring countries within 14 days of
illness onset — worldwide, 2012–2013
๒๕๕๕- กรกฎาคม ๒๕๕๖
เส้ นทางที่โรคแพร่ ออกไปจากตะวันออกกลาง
คลัสเตอร์ หรือมีผ้ ูป่วยเป็ นกระจุก เป็ นกลุ่ม
• หากมีผ้ ูป่วยเกิดขึ้นในเวลาใกล้ เคียงกัน ในสถานที่
เดียวกัน และมีผ้ ูป่วย ๒ รายขึ้นไป ถือว่ ามีคลัสเตอร์ อุบัติ
ขึ้นแล้ ว และอาจเป็ นการติดต่ อ จาก-คน-สู่คนก็ได้ จนถึง
วันที่ ๓ พฤษภาคม ๒๕๕๖ มีคลัสเตอร์ เกิดขึ้นแล้ ว ๘ คลัส
เตอร์
การเกิดคลัสเตอร์
ปัจจุบนั ยืนยันว่ามี ๘ คลัสเตอร์
๑ จอร์แดน, ๒ ซาอุ, ๓ ยูเค, ๔ ๕ ๖ ฝรั่งเศส, ๗ ทูนีเซี ย, ๘ อิตาลี
ได้ เสมอ
คลัสเตอร์ที่ ๑
• อุบตั ิเมื่อเดือนเมษายน ๒๕๕๕ ในประเทศจอร์แดน
• มีผปู ้ ่ วย ๒ รายด้วยกัน รายแรกเป็ นหญิงอายุ ๔๕ ปี รายที่ ๒ เป็ นชายอายุ
๒๕ ปี เป็ นนัองชายของรายแรก ทั้งคู่เป็ นเจ้าหน้าที่ในโรงพยาบาล ไม่
แน่ใจว่าติดกันเองหรื อติดจากผูป้ ่ วย
คลัสเตอร์ที่ ๑
• อุบตั ิเมื่อเดือนเมษายน ๒๕๕๕ ในประเทศจอร์แดน
• มีผปู ้ ่ วย ๒ รายด้วยกัน รายแรกเป็ นหญิงอายุ ๔๕ ปี รายที่ ๒ เป็ นชายอายุ
๒๕ ปี เป็ นนัองชายของรายแรก ทั้งคู่เป็ นเจ้าหน้าที่ในโรงพยาบาล ไม่
แน่ใจว่าติดกันเองหรื อติดจากผูป้ ่ วย
คลัสเตอร์ที่ ๒
• ประเทศซาอุดิอาระเบีย
• อุบตั ิเมื่อเดือนพฤศจิกายน ๒๕๕๕ ในประเทศซาอุดิอาระเบีย
• เมื่อปลายเดือนตุลาคม ๒๕๕๕ มีผปู ้ ่ วยชาย ๓ รายอยูใ่ นครอบครัว
เดียวกัน
• ชายรายแรก อายุ ๓๙ ปี ส่ วนรายที่ ๒ ก็อยูใ่ นวัย ๓๐ ปี เศษ เป็ นน้องชาย
ของรายแรก
• รายที่ ๓ เป็ นชายอายุ ๗๐ ปี รายที่มีอายุ ๓๙ ปี และ ๗๐ ปี เสี ยชีวิต และ
รายที่มีอายุ ๗๐ ปี เป็ นบิดาของผูป้ ่ วย๒ รายแรก
คลัสเตอร์ที่ ๓
• ประเทศสหราชอาณาจักร
• เป็ นคลัสเตอร์ในประเทศสหราชอาณาจักร อุบตั ิข้ ึนเมื่อเดือนมกราคม
๒๕๕๖ มีผปู ้ ่ วยอยู่ ๓ รายด้วยกันดังที่ได้เคยบรรยายมาก่อนแล้ว
คลัสเตอร์ที่ ๔
•
ประเทศซาอุดิอาระเบีย
• อุบตั ิเมื่อเดือนมีนาคม ๒๕๕๖ ในประเทศซาอุดิอาระเบีย
• มีผปู ้ ่ วย ๒ รายด้วยกัน รายแรกเป็ นชายไม่ทราบอายุ เสี ยชีวิตเมื่อวันที่๓
มีนาคมและ รายที่ ๒ เป็ นชายอายุ ๓๙ ปี รายนี้ฟ้ื นโรคและหาย
คลัสเตอร์ ที่ ๕ ประเทศซาอุดอิ าระเบีย
• อุบัติเมื่อเดือนเมษายน ๒๕๕๖ ในประเทศซาอุดิอาระเบีย
แต่ รายงานเมื่อวันที่ ๓ ๓ พฤษภาคม ๒๕๕๖
• มีผู้ป่วย ๓ รายด้ วยกัน
• รายแรกเป็ นหญิงอายุ ๕๓ ปี เริ่มป่ วยเมื่อวันที่ ๒๗ เมษายน ๒๕๕๖ ?
น่ าจะเสี ยชีวติ (ไม่ แน่ ชัด)
• รายที่ ๒ เป็ นชายอายุ ๕๐ ปี เริ่มมีอาการป่ วย เมื่อวันที่ ๓๐ เมษายน
๒๕๕๖
• รายที่ ๓ เป็ นชายอายุ ๓๓ ปี เริ่มมีอาการป่ วย เมื่อวันที่ ๒๘ เมษายน
๒๕๕๖
คลัสเตอร์ที่ ๖
• ประเทศ ฝรั่งเศส
• อุบตั ิเมื่อเดือนพฤษภาคม ๒๕๕๖ ในประเทศ ฝรั่งเศส เป็ นการติดเชื้อใน
การร่ วมห้องในหอผูป้ ่ วยที่โรงพยาบาลประมาณ ๑๐ชัว่ โมง
• คลัสเตอร์น้ ีมีผปู ้ ่ วย ๒ รายด้วยกัน
• รายแรกเป็ นชายอายุ ๖๕ ปี
• รายที่ ๒ เป็ นชายอายุ ๓๑ ปี
คลัสเตอร์ที่ ๗
• ประเทศทูนีเซีย
• อุบตั ิเมื่อปลายเดือน พฤษภาคม ๒๕๕๖ ในประเทศทูนีเซีย มีผตู ้ ิดเชื้อ ๓
รายด้วยกัน ที่ได้รับการชันสูตรยืนยันว่าติดเชื้อ MERS-CoV
• รายแรกเป็ นชาย อายุ ๖๖ ปี เสี ยชีวิตเมื่อวันที่ ๑๐ พฤษภาคม ๒๕๕๖
• รายที่ ๒ เป็ นหญิงอายุ ๓๕ ปี เป็ นบุตรสาวของรายแรก ป่ วยมีอาการ
อ่อนๆ และหายจากโรค
• รายที่ ๓ เป็ นชายอายุ ๓๔ ปี บุตรชายของรายแรก ไม่มีอาการป่ วยแต่
ชันสูตรยืนยันว่าติดเชื้อ MERS-CoV เหมือนสองรายแรก
คลัสเตอร์ที่ ๘
•
•
•
•
ประเทศอิตาลี ๓ ราย
ผูป้ ่ วยรายดัชนี
หลานสาวอายุ ๒ ขวบ
เพื่อนร่ วมงานอายู ๔๐ ปี เศษ
คาแนะนาขององค์การอนามัยโลกสาหรับผูท้ ี่ไปแสวงบุญ
• Actions to take before Umra or Hajj
Countries should advise pilgrims that pre-existing major
medical
conditions (for example, chronic diseases such as
diabetes, chronic
lung disease, immunodeficiency) can increase the
likelihood of
illness, including MERS-CoV infection, during travel;
thus, pilgrims
should consult a health care provider before travelling to
review the
risk and assess whether making the pilgrimage is
advisable.
•
- washing hands often with soap and water. When hands
are not visibly
dirty, a hand rub can be used;
- adhering to good food-safety practices, such as
avoiding undercooked
meat or food prepared under unsanitary conditions, and
properly
washing fruits and vegetables before eating them;
- maintaining good personal hygiene;
- avoiding unnecessary contact with farm, domestic, and
wild animals.
• Health advice should be made available to
all departing travellers to
Umra or Hajj by working with the travel
and tourism sectors and
placing such materials at strategic
locations (for example, travel
agent offices or points of departure in
airports).
Actions to take during Umra or Hajj
• Travellers who develop a significant acute respiratory illness with
fever and cough (severe enough to interfere with usual daily
activities) should be advised to:
- minimize their contact with others to keep from infecting them;
- cover their mouth and nose with a tissue when coughing or
sneezing
and discard the tissue in the trash after use, and wash hands
afterwards, or, if this is not possible, to cough or sneeze into upper
sleeves of their clothing, but not their hands;
- report to the medical staff accompanying the group or to the local
health services.
Actions to take after Umra or Hajj
•
Returning pilgrims should be advised that if they
develop a
significant acute respiratory illness with fever
and cough (severe
enough to interfere with usual daily activities)
during the 2 weeks
after their return, they should seek medical
attention and immediately
notify their local health authority.
• Persons who have had close contact with
a pilgrim or traveller with a
significant acute respiratory illness with
fever and cough (severe
enough to interfere with usual daily
activities) and who themselves
develop such an illness should be advised
to report to local health
authorities to be monitored for MERS-CoV.
• Practitioners and facilities should be
alerted to the possibility of
MERS-CoV infection in returning pilgrims
with acute respiratory
illness, especially those with fever and
cough and pulmonary
parenchymal disease (for example,
pneumonia or the acute respiratory
distress syndrome).
• If clinical presentation suggests the diagnosis of
MERS-CoV, laboratory testing, (5, 6) in accordance with
WHO's case
definition (7) should be done and infection prevention
and control
measures implemented. Clinicians should also be
alerted to the
possibility of atypical presentations in patients who are
immunocompromised.
Measures at borders and for conveyances
WHO does not recommend the application of any
travel or trade
restrictions or entry screening.
WHO encourages countries to raise awareness
of this travel advice to
reduce the risk of MERS-CoV infection among
pilgrims and those
associated with their travel, including transport
operators and ground
staff, and about self-reporting of illness by
travellers.
•
As required by the IHR, countries should ensure that routine
measures
are in place for assessing ill travellers detected on board
conveyances (such as planes and ships) and at points of entry, as
well
as measures for safe transportation of symptomatic travellers to
hospitals or designated facilities for clinical assessment and
treatment.
If a sick traveller is on board a plane, a passenger locator form (8)
can be used. This form is useful for collecting contact information
for passengers, which can be used for follow-up if necessary.
ได้ เสมอ
Download