การบริหารงานกระบวนการ ยุติธรรมทางอาญา ดร. อุทัย อาทิเวช วันพฤหัสบดีท่ี 14 สิงหาคม 2557 คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ดร.กิตติพงษ์ กิตยารักษ์ ปลัดกระทรวงยุตธิ รรม ประมวลปัญหาของกระบวนการยุติธรรมทางอาญาของไทยไว้ ต้งั แต่ปี 2544 ระบบการบริหารงานยุติธรรมไม่มีโครงสร้ างของการบริหารงานยุติธรรมใน ภาพรวม และขาดทิศทางและความร่วมมือกันระหว่างหน่วยงาน องค์กรในระบบยุ ติธรรมมีโครงสร้ างที่ใหญ่ เกินไป ขาดการกระจายอานาจ อาทิ สานักงานตารวจแห่ งชาติ มีผลต่อการทางานอย่างมีประสิท ธิภาพและ ต้ นทุนสูง มีการนาคดีเข้ าสู่ระบบยุ ติธรรมมากเกินสมควร เนื่องจากมีกฎหมายอาญา กาหนดความผิดไว้ จานวนมากเกินไป แม้ ว่าพฤติกรรมเหล่านั้นจะเป็ นเพียง การกระทาที่กฎหมายกาหนดว่าเป็ นความผิดที่ไม่ใช่เป็ นอาชญากรรมโดยแท้ ระบบการกลั่น กรองคดีขาดประสิทธิภาพ การดาเนินคดีมีความล่ าช้ า จน ก่อให้ เกิดปัญหาคดีล้นศาลและผู้ต้องขังล้ นเรือนจา สภาพปัญหากระบวนการยุติธรรมทางอาญาของไทย รศ.ประเทือง ธนิยผล 1. ระบบการบริหารงานยุติธรรมขาดเป้ าหมาย ทิศทาง โครงสร้ าง 2. ระบบการดาเนินคดีอาญา 3. ระบบการปฏิบัติต่อผู้กระทาความผิด 4. ปัญหาที่เกิดจากการปฏิบัติโดยไม่ชอบธรรมจากบุคคลในกระบวนการ ยุติธรรม อันเป็ นการล่วงละเมิดสิทธิเสรีภาพของประชาชน 5. กระบวนการยุติธรรมขาดการมีส่วนร่วมและการสนับสนุนจากประชาชน 6. กระบวนการยุติธรรมขาดองค์ความรู้และศักยภาพในการพัฒนา 7. บุคลากรในกระบวนการยุติธรรมขาดจิตสานึกและขาดทัศนคติท่ดี ีในการ ให้ บริการความยุติธรรมแก่ประชาชน ปัญหาหลักในกระบวนการยุตธิ รรมทางอาญาของไทย ศ.ดร.สุ รศักดิ์ ลิขสิ ทธิ์วฒ ั นกุล 1) ปริมาณคดีเข้ าสู่ การดาเนินคดีมาก เพราะ ก. มีการกาหนดการกระทาที่เป็ นความผิดมาก เกินไป (Overcriminalization) ข. ไม่ มีระบบการผันคดีทพี่ อเพียง (Diversion) 2) ความล่าช้ าในการดาเนินคดี เพราะ ก. แต่ ละคดีใช้ เวลานาน ข. ความยุติธรรมทีล่ ่าช้ า คือ ความอยุติธรรม Justice delayed = Justice denied 3) ความเสมอภาคในกระบวนการยุติธรรม ก. ระบบอุปถัมภ์ ในสั งคมไทย : การช่ วยเหลือ/การทุจริต ข. ฐานะทางเศรษฐกิจทีแ่ ตกต่ าง - ระบบการประกันตัวผู้ต้องหา/จาเลย - ระบบการกักขังแทนค่ าปรับ ค. ระบบการช่ วยเหลือด้ านกฎหมาย (Legal aid) 4) ทัศนคติของบุคลากรในกระบวนการยุตธิ รรม ก. ขาดความเข้ าใจบทบาทของตนเอง (ทาขาด/ทาเกิน) - พนักงานสอบสวน - พนักงานอัยการ - ศาล ข. ความซื่อสั ตย์ ต่อหน้ าที่ - คดี เชอรี่แอน ดันแคน ค. แย่ งอานาจ 5) บุคลากรขาดการปรับตัวกับภาวะโลกาภิวฒ ั น์ (Globalisation) เนื่องจากความผิดอาญาซับซ้ อนขึน้ มีคดีไม่ เฉพาะแต่ ความผิด อาญาพืน้ ฐาน แต่ รวม ก. อาชญากรรมทางเศรษฐกิจ (economic crime) Ex คดีหุ้นธนาคาร ฯลฯ ข. องค์ กรอาชญากรรม Ex ยาเสพติด/การค้ ามนุษย์ /การฟอกเงิน/การก่อการร้ าย 6) กระบวนการบังคับโทษไม่ ได้ ผล ก. การฟื้ นฟูผู้กระทาความผิด (Rehabilitation) ไม่ ได้ ผล ข. การกระทาความผิดซ้า (Recidive) 7) การขาดการประสานงานในกระบวนการยุตธิ รรมทาง อาญา ก. ขาดเอกภาพในนโยบายทางอาญา (Criminal Policy) ข. ขาดการประสานงานทีด่ ใี นกระบวนการยุตธิ รรม 8) ขาดการมีส่วนร่ วมของประชาชน การป้องกัน อาชญากรรม ก. ความร่ วมมือของพยาน ข. การมีส่วนร่ วมแก้ ไขฟื้ นฟูผู้กระทาผิด งานวิจัยเชิงนิติเศรษฐศาสตร์ ดร.สมเกียรติ ตั้งกิจวานิชย์ TDRI กระบวนการยุติธรรมทางอาญาของไทยมีขนาดใหญ่ ใช้ งบประมาณด้ านนี้ สูงถึง ๖๔,๖๔๓ ล้ านบาท ในปี พ.ศ.๒๕๔๖ คิดเป็ น ๖.๕% ของ งบประมาณรายจ่ายประจาปี ของประเทศ หรือ ๑.๒๖% ของจีดีพี (GDP – Gross Domestic Products) โดยงบประมาณรายจ่ายของตารวจ สูงถึง ๖๔% ของรายจ่ายระบบยุติธรรมทางอาญาทั้งหมด รองลงมาคื อ ศาลยุติธรรมและราชทัณฑ์ งบประมาณรายจ่ายของระบบยุติธรรมทางอาญาของไทยมีแนวโน้ มเพิ่ม ขึ้น มีอัตราขยายตัวเฉลี่ย ๖.๖% ต่อปี ทาให้ ในปี พ.ศ.๒๕๕๐ งบประมาณ ด้ า นนี้ ของไทยเพิ่ ม เป็ น ๘๑,๕๘๕ ล้ า นบาท แต่ ง บประมาณของระบบ ยุ ติ ธ รรมทางอาญาของไทยต่ อ งบประมาณรายจ่ า ยประจ าปี ของไทยมี สัดส่วนลดลงเล็กน้ อย ประมาณ ๕.๒% ในปี พ.ศ.๒๕๕๐ เมื่ อ เทีย บกับ ประเทศพั ฒ นาแล้ ว ไทยมี ข นาดของระบบยุ ติ ธ รรมทาง อาญาค่อนข้ างใหญ่ งบประมาณด้ านระบบยุติธรรมทางอาญาของไทยอยู่ ที่ ๑.๒๖% ซึ่งถือว่าสูงกว่าประเทศพัฒนาแล้ ว เช่น ฝรั่งเศส เยอรมนี สวีเดน เดนมาร์ก มีแต่สหรัฐเท่านั้นที่มีสดั ส่วนสูงกว่าไทย (๑.๓๘%) จานวนบุคลากรในระบบยุติธรรมทางอาญาของไทยเทียบกับต่างประเทศ พบว่ า ประเทศที่ มี สั ด ส่ ว นบุ ค ลากรในระบบยุ ติ ธ รรมทางอาญาต่ อ ประชากรสูงสุดคือ ประเทศฝรั่งเศส ซึ่งมีจานวนบุคลากร ๖๒๐ คนต่ อ ประชากรแสนคน รองลงมาคือ สหรัฐอเมริกา ออสเตรีย เยอรมนี และ ไทย โดยไทยมีสดั ส่วนดังกล่าวเท่ากับ ๓๙๗ คนต่อประชากรแสนคน บุคลากรในระบบยุติธรรมทางอาญาของไทยส่วนใหญ่คือตารวจ โดยในปี พ.ศ.๒๕๔๘ ไทยมีตารวจ ๒๒๑,๒๑๕ คน บุคลากรด้ านศาลยุ ติธรรม ประมาณ ๑๓,๕๙๔ คน บุ คลากรทางด้ านอัยการ ๔,๕๓๙ คน และมี เจ้ าหน้ าที่ด้านราชทัณฑ์ ๑๐,๙๗๘ คน ข้อสรุปของ ดร.สมเกียรติ ตัง้ กิจวานิชย์ 1. การใช้ กระบวนการทางอาญาเป็ นหลักในการระงับข้ อพิ พาท ระบบกฎหมายและระบบยุ ติธรรมของไทยให้ น้าหนักต่ อการใช้ กระบวนการทางอาญาเป็ นหลักในการระงับข้ อพิพาทมากเกินไป เมื่อเปรียบเทียบกับทางเลือกอื่นดังจะเห็นได้ จากการที่ - ประเทศไทยมีกฎหมายซึ่งมีบทลงโทษทางอาญามากกว่ า 350 ฉบับ โดยส่วนหนึ่งครอบคลุมถึงข้ อพิพาทระหว่างเอกชนด้ วยกัน ซึ่งไม่มีผลกระทบต่อสังคมโดยตรง มากนัก - ในกรณีท่ีกฎหมายมี บ ทลงโทษทั้งในทางแพ่ งและอาญา เมื่ อ ผู้เสียหายฟ้ องทั้งในคดีแพ่ งและคดีอาญา ศาลที่จะพิพากษาคดี ส่วนแพ่ งมักรอฟั งผลของคดีส่วนอาญา ซึ่งทาให้ การพิ จารณาคดี ทางอาญากลายเป็ น กระบวนการหลัก ประการที่ 2 คือ การกาหนดโทษปรับต่าเกินกว่าระดับที่เหมาะสม มาก จนแทบจะไม่มีผลในการป้ องปรามการกระทาความผิด การ ที่โ ทษปรั บ ถู ก กาหนดให้ อ ยู่ ท่ีต่ า เกิน กว่ า ระดับ ที่เ หมาะสมมาก น่าจะมีสาเหตุต่างๆ ดังนี้ - การกาหนดโทษปรับสูงสุดในกฎหมายไม่ได้ คานึงถึงเงินเฟ้ อ ทา ให้ โ ทษปรั บ ที่ แท้ จริ งเมื่อปรั บ ด้ วยเงิน เฟ้ อแล้ วของกฎหมายที่ บังคับใช้ มาเป็ นเวลานานมีค่าลดลงตามอัตราเงินเฟ้ อ เช่ น ประมวลกฎหมายอาญา (พ.ศ. 2499) ควรได้ รับการเพิ่ม โทษปรั บ สู ง สุ ด ขึ้ น 8 เท่ า เพื่ อ ให้ มี ค่ า ปรั บ ที่ แ ท้ จ ริ ง เท่ า กั บ ค่าปรับในปี พ.ศ.2499 เช่น โทษฐานลักทรัพย์ ควรเพิ่มค่ าปรับ จาก 6,000 บาท เป็ น 48,142 บาท โทษฐานทาร้ ายร่างกายควร เพิ่มค่าปรับจาก 4,000 บาท เป็ น 32,094 บาท เป็ นต้ น ประการที่ 3 ศาลมักลงโทษผู้กระทาความผิดด้ วยการจาคุก จากการศึกษาตัวอย่างคาพิพากษาของศาลฎีกาพบว่าศาลมักจะลงโทษ จาเลยด้ วยการจาคุกเกือบทุกกรณี โทษปรับจะลงต่อเมื่อศาลให้ รอการ ลงโทษ การใช้ โทษจาคุกน่าจะเป็ นเพราะศาลเชื่อว่าการจาคุกน่าจะมี ประสิทธิผล มากกว่าการปรับ หรือโทษปรับสูงสุดที่กาหนดไว้ ต่าเกินไปไม่สามารถ ป้ องปรามการฝ่ าฝื นกฎหมายได้ จึงไม่มีทางเลือกอื่นนอกจากโทษจาคุก โทษจาคุกมีต้นทุนสูง และผู้ถูกจาคุกต้ องสูญเสียเสรีภ าพและโอกาสใน การประกอบอาชีพ ทั้งที่หลายกรณีความผิดที่กระทาไม่ร้ายแรง การออกแบบระบบยุติธรรมของไทยมีผลทาให้ ระบบความยุติธรรมทาง อาญามีข นาดใหญ่ แ ละใช้ ทรั พยากรมาก เช่ น งบประมาณรายจ่ า ยที่ เกี่ยวข้ อง กฎหมายระหว่ างประเทศ สิ ทธิมนุษยชน โลกาภิวฒ ั น์ ปัจจัยภายนอก • ระบบวิอาญา • ทฤษฎีอาญา • อาชญาวิทยา การบริหารงานกระบวนการยุติธรรมทางอาญา ปัจจัยภายใน วิถีชีวติ , ศาสนา และระบอบการเมือง นโยบายของรัฐบาล, ความมัน่ คงภายใน ความรุนแรงของอาชญากรรม, องค์ กรอาชญากรรม, อาชญากรรมข้ ามชาติ เทคโนโลยี สารสนเทศ และการสื่ อสาร ระบบวิธีพจิ ารณาคดีอาญา 1. ระบบกล่ าวหา (Accusatorial system) 2. ระบบไต่ สวน (Inquisitorial system) 3. ระบบผสม (Mixed system) ระบบกล่าวหา (Accusatorial system) • เปิ ดเผย • เป็ นปฏิปักษ์ • ไม่ มีลายลักษณ์ อักษร ******************** • ใกล้ เคียงกับการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน • ขาดประสิทธิภาพในการดาเนินคดี Criminal Law / Court • The two Adversaries/opponents are: • “The Crown”, crown prosecutor or the “queen” who would be prosecuting the case or placing the charge • Versus the accused, the “Defendant” What is the Adversarial system? • The system of dispute resolution used in UK and Common Wealth countries. • Resolution of conflict • Relies on an impartial third party • Trial is a contest between two parties. History • Established in England • Most used in countries settled by British. • These countries known as common law countries. Aims of the Adversary system Provide an impartial third party Assumption of “innocent until proven guilty” The search for the truth To provide a just, timely and affordable means of dispute resolution Advantages? • The judge/ jury are an impartial third party. Non-bias. • Each of the parties has access to legal representation • Strict rules in relation to evidence • Rules of procedureequality More advantages • Role of the partiesresponsibility to build the best case possible • Every person is treated equally , until a claim is proven Disadvantages? • Parties may not exercise rights due to costs of case • Jury may not have any or little education/training • Expertise of judge wasted More disadvantages • The cost may deter legal action • Proceedings may take a significant time • All evidence does not have to be presented in court • Witnesses must only answer asked questions • Search for the truth becomes secondary to the will to win Adversarial Problems Thus… A trial becomes a “strategic contest” between highly expert legal representatives for whom winning is more important that disclosing the truth HOW the adversarial system works!! Each side argues it’s own case. Decides what to present (witnesses, evidence, cross-examining, etc.) MUST be prepared! Decision is based on what is presented only! Judge decides what “Rules of Law” apply USUALLY Judge/jury does not ask questions. ระบบไต่ สวน (Inquisitorial system) ลับ ไม่ เป็ นปฏิปักษ์ มีลายลักษณ์ อักษร ******************** เน้ นการค้ นหาความจริง ไม่ คานึงถึงสิทธิมนุษยชน มีประสิทธิภาพในการดาเนินคดี What is it? A system of trial where the court is actively involved in determining the facts and conduct of trial. – 1000 year Roman law Variations of this system used in Europe, Asia and South American countries. Originated 1. The role of the parties Due to judges having more control, parties have a reduced role. Required to respond to the directions of the court Can reduce the effect of inequalities between the parties Places control in the hands of the third party 2 The role of the Judge Judge takes a more active role Includes: investigating issues, Defining the issues to be resolved Gathering evidence (together with police) France – Juge d’instruction (investigating magistrate) Conducts the investigation, supervises the police work, finds and questions witnesses and suspects, orders searches and finds evidence Finding the truth The objective is to find the truth of the matter How? By finding both incriminating and exonerating evidence. Compiles a documentary record establishing facts of the case called a (dossier) Why are they given so much power? Can call witnesses/question Not restricted to issues at question in the trial Even raise matter that are considered irrelevant by the parties. ‘The effective operation of the legal system is of benefit to society as a whole. Therefore it is the responsibility of the state to ensure that the relevant information is brought out and the truth is reached.’ 3. The role of legal representation Lesser role due to judges active role Assist judge with finding out the truth This may include further questioning of witnesses 4. Burden and Standard of proof No formal burden or standard is set Judge is personally responsible for bringing evidence and finding out the truth. 5. Rule of Evidence and Procedure Emphasis on finding out truth Less reliance on strict rules of evidence and procedure Many of exclusionary rules for evidence do not apply Extensive use of written evidence and witnesses are able to tell their side of the story, uninterrupted and in discursive form rather then answering to questions Could also include character evidence and prior convictions Advantages 1. 2. 3. 4. 5. 6. Decision maker more active role Witnesses are mostly called by decision maker Less reliance on legal rep The decision maker controls the production of evidence Cost of inquisitorial system is mainly born by the state Use of mainly written statements reduces costs Advantages of the Inquisitorial System Better expertise in evidence gathering – in the adversarial system parties will only present evidence that will advantage their case Timely resolution due to ability of inquisitor to compel evidence Reduced manipulation of evidence and rules because parties have little control of proceedings All law is codified – there is almost no equivalent to Common Law developed by judges. This reduces judicial discretion Disadvantages 1. 2. 3. 4. 5. The judge is less impartial The parties may feel at the mercy of the investigating judge Parties not able to call own experts Greater reliance on written evidence Judge is aware of character reports and past records Judges & Lawyers In the Adversarial System… judges are high status professionals because of their impartiality and law-making ability. Lawyers are very highly paid because they hold expert knowledge necessary for success In the Inquisitorial System… judges are respected because of their central role but they lack the status of judges in adversarial systems. Lawyers have a much less prominent place because the parties don’t present their own case Adversarial v Inquisitorial The Adversarial system is said to the “Rolls Royce” of legal systems… It is expensive It is based on established tradition and heritage It delivers sound justice according to the principles of natural justice Adversarial v Inquisitorial The Inquisitorial system is said to be the “Volkswagen” of legal systems… It is cheaper It works adequately in achieving its goals – justice according to the principles of natural justice ระบบผสม (Mixed system) ระบบกล่าวหาบริ สทุ ธิ์และไต่สวนบริ สทุ ธิ์ไม่มีอยูอ่ ีกต่อไป แก้ ไขจุดบกพร่ องของแต่ละระบบจนใกล้ เคียงกัน การรับเอาส่วนที่ดีของแต่ละระบบมาใช้ วิวฒ ั นาการด้ านการคุ้มครองสิทธิของผู้ถกู กล่าวหา ความเสมอภาค ในการต่อสู้คดี ประเทศฝรั่งเศสเป็ นต้ นแบบ - การมีศาลลูกขุนในการพิจารณาคดีความผิดอุกฤษฏ์โทษ - การสืบพยานในชันพิ ้ จารณาที่เป็ นปฏิปักษ์ กนั - การนาเอามาตรการต่อรองคารับสารภาพมาใช้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ สานักอาชญาวิทยา School of Criminology สานักอาชญาวิทยาดั้งเดิม (Classical school of Criminology) สานักอาชญาวิทยากึง่ ดั้งเดิม (Neo-Classical school of Criminology) สานักอาชญาวิทยาปฏิฐานนิยม (Positive School) ทฤษฎีป้องกันสั งคมใหม่ (New Social Defense) สานักอาชญาวิทยาดั้งเดิม (Classical school of Criminology) ซีซาร์ เบคคาเรีย (Cesar Beccaria) Milan 1738 - 1794 Des délits et des peines Crimes and punishments อาชญากรรมและการลงโทษ เจอรามี เบ็นแธม (Jeremy Bentham) London 1748 - 1832 ซีซาร์ เบ็คคาเรีย (CESARE BECCARIA) แนวคิดของ CLASSICAL SCHOOL มีรากฐานมาจากทฤษฎีสญ ั ญาประชาคม (Social Contact Theory) ของ Jean Jacque Roussau) ซึง่ มีสมมติฐานว่าสังคมของ มนุ ษ ย์ร อดอยู่ ไ ด้ เพราะประชาชนทุ ก คนยอมรับ อ านาจในการ ปกครอง หากปราศจากการยอมรับในอานาจแล้ว สังคมจะต้อง สลายไปในที่สุด ซึ่งจะเป็ นเหตุให้ทุกคนในสังคมจะต้องสูก้ นั เองใน ทุกด้าน ในที่สุดอาชญากรรมก็จะเกิดขึ้นและเป็ นตัวบ่อนทาลาย สังคม ดังนัน้ เป็ นหน้าทีข่ องทุกคนในสังคมต้องช่วยกันแก้ไขปั ญหา สังคม โดยต้องยอมเสียสละสิทธิเสรีภาพส่วนบุคคลบางส่ว นเพื่อให้ ได้มาซึง่ ความสงบสุขและความปลอดภัยของส่วนรวม แนวคิดของ CLASSICAL SCHOOL เปลี่ยนจากความเชื่อที่วา่ อาชญากรรมเกิดจากอานาจลึกลับเหนือ การควบคุ ม ของมนุ ษ ย์ ม าเป็ นความเชื่ อ ที่ ว่ า พฤติ ก รรม อาชญากรรมมีมูลเหตุมาจากตัวมนุษย์เอง มีหลักว่า มนุ ษย์เป็ นผูค ้ วบคุมหรือกาหนดพฤติกรรมของตนเอง และการเลือกพฤติกรรมนี้จะเกิดจากกระบวนคิดอย่างมีเหตุ มีผล รวมทัง้ การชัง่ ใจของบุคคลว่าจะเลือกประกอบอาชญากรรมหรือไม่ เรียกว่า “เจตจานงเสรี” (Free will) หากบุ ค คลมี ค วามคิ ด ว่า เมื่ อ ประกอบอาชญากรรมแล้ว จะเกิ ด ผลเสี ย กับ ตนเองมากกว่า ผลดี ที่ จ ะได้ร ับ ก็ มี แ นวโน้ม ที่ จ ะไม่ ประกอบอาชญากรรม แนวคิดของ CLASSICAL SCHOOL มี ห ลัก ปรัช ญาว่ า การป้ องกัน ไม่ ใ ห้ม นุ ษ ย์ ก ระท า ผิ ด กฎหมาย บทลงโทษของกฎหมายจะต้อ งมี ล ัก ษณะที่ มี ประสิทธิภาพ แน่นอนและรวดเร็ว เพื่อทาให้มนุษย์เชือ่ หรือ มองเห็ น ผลเสี ย ว่ า ผลที่ จ ะได้ร ับ จากการกระท าผิ ด มี มากกว่าผลประโยชน์ จึงเลือกทีจ่ ะไม่กระทาผิด กระบวนการยุ ติ ธ รรมที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพในการลงโทษ ผู ก้ ระท าผิ ด กฎหมาย สามารถป้ องกัน และปราบปราม อาชญากรรมได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด และทาให้สงั คม มีความสงบสุขต่อไป DES DÉLITS ET DES PEINES CRIMES AND PUNISHMENTS Beccaria วางหลักความเสมอภาคของบุคคลตามกฎหมายขึ้น โดยเห็นว่า บุคคลทุกคนมีสทิ ธิเท่าเทียมกันภายใต้กฎหมาย ฉะนัน้ ไม่ว่าผูใ้ ดกระทาผิด ในลักษณะเดียวกันจะต้องได้รบั โทษเช่นเดียวกัน ดังนัน้ เพื่อให้บุคคลทุกคน ทราบว่าพฤติกรรมประเภทใดเป็ นความผิดและมีบทกาหนดโทษ กฎหมาย จะต้องเขียนเป็ นลายลักษณ์อกั ษรทีแ่ จ้งชัดและเข้าใจได้ เบ็คคาเรียได้ตอ ่ ต้านวิธีการพิจารณาคดีอย่างป่ าเถื่อนปราศจากกฎเกณฑ์ โดยเบ็คคาเรียได้ตาหนิผูพ้ ิพากษาในยุคสมัยนัน้ ว่ามีอานาจมากเกินไปเป็ น เหตุให้ดาเนินคดีและลงโทษผูก้ ระทาความผิดโดยปราศจากความยุ ติธรรม และผิดหลักมนุษยธรรมอยูบ่ ่อย ๆ เขามีความเห็นว่าประเทศต่างๆ ควร เลิกใช้ระบบการลงโทษที่โหดร้ายทารุณและการพิจารณาโทษจะต้องเป็ น ธรรม โดยคานึงถึงการป้ องกันอาชญากรรมให้มากกว่าการลงโทษ BECCARIA, “DES DÉLITS ET DES PEINES” เบ็คคาเรียต่อต้านการลงโทษที่รุนแรงเนื่องจากเห็นว่าการ ลงโทษที่รุนแรงนอกจากจะมิใช่วธิ ีที่จะยับยัง้ ไม่ให้บุคคลกระทาผิด แล้ว ยังขัดกับความยุติธรรมและลักษณะของสัญญาประชาคม สาหรับเบ็คคาเรีย การลงโทษจะได้ผลดีต่อเมื่อการลงโทษนัน้ ได้ สัดส่วน สมเหตุสมผล รวดเร็ว และไม่ขดั กับหลักมนุ ษยธรรม ดังนัน้ เหตุผลของการลงโทษจึงเป็ นเพียงแค่การป้ องกัน สังคมและ ยับยัง้ ผูอ้ ื่นมิให้ก่ออาชญากรรมเท่านัน้ การลงโทษด้วยวิธีการที่ รุนแรงมีผลปลุกเร้าให้มนุษย์กระทาความผิดอย่างรุนแรงมากกว่า การป้ องกัน นายโฮร์แบร์-ฟรองซัวส์ ดามียง ROBERT-FRANCOIS DAMIENS (1715-1757) KING LOUIS XV OF FRANCE อิทธิพลของสานักอาชญาวิทยาดัง้ เดิม ต่อกระบวนการยุติธรรมและทัณฑวิทยา การยกเลิกโทษประหารชีวติ ของประเทศต่างๆ ในยุโรป ่ี ีลกั ษณะของการทรมานและทารุณ การยกเลิกวิธีพิจารณาคดีทม โหดร้ายในยุโรป ่ งของการกาหนดความผิดทีต่ อ้ งชัดเจน และ หลักกฎหมายอาญาในเรือ การลงโทษทีไ่ ด้สดั ส่วน และบทสันนิษฐานความบริสุทธิ์ของผูถ้ ูกกล่าวหา ประกาศ/ปฏิญญาว่าด้วยสิทธิมนุษยชนและพลเมือง ค.ศ.1789 ของ ฝรัง่ เศส และกติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการ เมือง (ICCPR) ข้ อวิจารณ์ CLASSICAL SCHOOL หลักการของสานักอาชญาวิทยาดัง้ เดิมน่าจะเป็ นหลักฐาน พื้นฐานสาหรับการดาเนิ นการกระบวนการยุติธรรมทาง อาญาของรัฐ มากกว่า ที่ จ ะเป็ นทฤษฎี ท างอาชญาวิท ยา (Vold & Bernard, 1986) เจอรามี เบ็นแธม (JEREMY BENTHAM, 1742-1832) เจอรามี เบ็นแธม (JEREMY BENTHAM, 1742-1832) นักปรัชญาชาวอังกฤษ แต่งหนังสือชื่อ “หลักเบื้องต้นเกี่ยวกับศีลธรรมและการ บัญญัติกฎหมาย” (An Introduction to Principles of Morals and Legislation) ยึดถือหลักเจตจานงอิสระของเบ็คคาเรียว่าด้วยพฤติกรรม ของมนุษย์ แนวคิดของ BENTHAM 1. ลัทธิประโยชน์นิยม (Utilitarian) เชือ่ ว่า พฤติกรรมของมนุษย์ ถูกควบคุมโดยหลักธรรมชาติสองประการคือ ก. ความพอใจ (Pleasure) ข. ความทุกข์ทรมาน (Pain) ก่อนจะมีพฤติกรรมใด มนุ ษ ย์จะชัง่ นา้ หนักระหว่างสองหลัก การจะประกอบอาชญากรรมก็เช่นกัน หากชัง่ แล้วผลที่จะได้รบั จะท าให้เ กิ ด ความพอใจมากกว่ า ก็ จ ะเลื อ กที่ จ ะประกอบ อาชญากรรม เป็ นไปตามหลักเจตจานงเสรี แนวคิดของ BENTHAM (Law and Punishment) ่ ตี อ้ งสามารถป้ องกันไม่ให้เกิดความชัว่ ร้ายในสังคมได้ กฎหมายทีด การออกกฎหมายจะต้อ งท าให้บุ ค คลที่ จ ะกระท าผิ ด คิ ด ว่า หาก กระท าผิดแล้ว ผลที่จะได้รบั คือการทุกข์ท รมานมากกว่าความ พอใจ ดังนัน้ การลงโทษจึงมีวตั ถุประสงค์เพื่อป้ องกันไม่ให้บุคคล กระทาผิดกฎหมายเท่านัน้ Bentham ไม่เห็นด้วยกับโทษประหารชีวต ิ และเรียกร้องให้มีการ ปรับปรุงเรือนจาเพื่อให้นกั โทษได้รบั สิทธิการเป็ นมนุษย์มากยิ่งขึ้น กฎหมายกับการลงโทษ DESCRIPTION PANOPTICON.JPG PLAN OF THE PANOPTICON DATE 1843 (ORIGINALLY 1791) SOURCE THE WORKS OF JEREMY BENTHAM VOL. IV, 172-3 AUTHOR JEREMY BENTHAM (1748–1832) DESCRIPTION PRESIDIO-MODELO2.JPG INSIDE ONE OF THE PRISON BUILDINGS AT PRESIDIO MODELO, ISLA DE LA JUVENTUD, CUBA. DATE 23 DECEMBER 2005(2005-12-23) อิทธิพลของสานักอาชญาวิทยาดัง้ เดิม ต่อทฤษฎีอาชญาวิทยาปั จจุบนั (Deterrence Theories) มี ห ลัก คื อ อาชญากรจะไม่ ก ระท าผิ ด หากมี ก ารบัง คับ ใช้ กฎหมายอย่างเข้มงวด กฎหมายมีบทลงโทษรุนแรง หรือ เห็นว่าโอกาสในการกระทาผิดสาเร็จมีนอ้ ย มี ร ากฐานเดี ย วกับ ส านัก อาชญาวิท ยาดัง้ เดิ ม คื อ “เน้น ความรุนแรง ความรวดเร็ว และความแน่นอนในการลงโทษ ซึง่ เป็ นหัวใจสาคัญของการป้ องกันอาชญากรรม” ทฤษฎีป้องกัน อิทธิพลของสานักอาชญาวิทยาดัง้ เดิม ต่อทฤษฎีอาชญาวิทยาปั จจุบนั ทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์ (Economies Theories) ได้รบ ั อิทธิพลจากสานักอาชญาวิทยาดัง้ เดิมเช่นกัน แต่มีมุมมอง ต่อสาเหตุของอาชญากรรมในมิติทางเศรษฐกิจ และยังมีรากฐาน มาจากลัทธิแสวงหาประโยชน์นิยม (Utilitarian Philosophy) ทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์จะอ้างอิงกับผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจใน การอธิบายสาเหตุของพฤติกรรมอาชญากรรม ในขณะที่ทฤษฎี ป้ องกันจะอ้างอิงกับตัวบทกฎหมาย สานักอาชญาวิทยากึง่ ดัง้ เดิม (NEO-CLASSICAL SCHOOL OF CRIMINOLOGY) Free will ของสานักงานอาชญาวิทยา ดัง้ เดิมแข็งกระด้าง เกินไป ควรมีขอ้ ยกเว้น เนื่องจากบุคคล บางประเภทไม่สามารถใช้เหตุผลในการตัดสินใจประกอบ อาชญากรรม อันเนื่องมาจากปั จจัยทางจิตใจหรือกายภาพ เช่น เป็ นบุคคลโรคจิต ปั ญญาอ่อน หรือเป็ นเด็กหรือเยาวชน ดังนัน้ กระบวนการยุตธิ รรมต้องคานึงถึงข้อยกเว้นของบุคคล เหล่านี้ดว้ ย หลักเจตจานงเสรี แนวคิดของ NEO-CLASSICAL SCHOOL ควรน าพฤติการณ์แห่งคดีมาใช้ป ระกอบการพิ จ ารณาคดี เพื่อให้ ความสาคัญกับสถานการณ์และสภาพแวดล้อมของธรรมชาติและ สังคมทีผ่ กู ้ ระทาผิดประสบอยู่ ควรพิจารณาประวัตแิ ละภูมิหลังของผูก้ ระทาผิด กระบวนยุติธรรมควรรับฟั งผูเ้ ชี่ยวชาญในสาขาต่างๆ เช่น แพทย์ นักจิตเวช นักนิตเิ วช เพื่อประกอบการพิจารณาคดี ควรคานึงถึงลักษณะเฉพาะส่วนบุ คคลซึ่งแตกต่างกัน อันทาให้ไม่ สามารถมีเจตจานงเสรีได้เท่าเทียมกับผูอ้ น่ื เพื่อเป็ นข้อยกเว้นหรือ ผ่อนปรนในการลงโทษให้แก่บุคคลเหล่านี้ สานักอาชญาวิทยาปฏิฐานนิยม (Positive School) ออกัสต์ กองต์ (Auguste Comte) 1798-1857 ซีซาร์ ลอมโบรโซ (Cesare Lombroso) Verone 1835 - 1909 เอ็นริโก เฟอรรี่ (Enrico Ferri) 1856-1934 ราฟฟาเอล กาโรฟาโล (Raffaele Garofalo) 1852-1934 สานักอาชญาวิทยาปฏิฐานนิยม (Positive School) ซีซาร์ ลอมโบรโซ (Cesare Lombroso) Verone 1835 - 1909 ภาพซีซาร์ ลอมโบรโซ (CESARE LOMBROSO, VERONE 1835 – 1909) ซีซาร์ ลอมโบรโซ (CESARE LOMBROSO, VERONE 1835 - 1909 เป็ นทัง้ แพทย์และนักวิทยาศาสตร์ชาวอิตาลีเชื้อสายยิว เป็ นผูร้ ิเริ่มนา หลัก การศึ ก ษาทางวิ ท ยาศาสตร์ม าใช้ใ นการศึ ก ษาสาเหตุ ข อง พฤติกรรมอาชญากรรม ลอมโบรโซมีความเชือ่ แตกต่างไปจากสานัก อาชญาวิทยาดัง้ เดิม โดยเชื่อว่าอาชญากรรมมีสาเหตุมาจากความ ผิดปกติภายในร่างกายของบุคคล เมื่อได้ทางานเป็ นแพทย์ทหารในกองทัพอิตาลี จึงได้สงั เกตและเก็บ รวบรวมข้อ มู ล ของคนไข้ที่มี พ ฤติก รรมผิด ปกติ แล้ว น ามาเขี ย น หนังสืออธิบายสาเหตุของอาชญากรรม ซีซาร์ ลอมโบรโซ (CESARE LOMBROSO, VERONE 1835 – 1909) ่ ีชอื่ เสียงโด่งดังมาจากหนังสือเรื่อง “อาชญากร” หนังสือทีม (The Criminal man, 1876) การเก็บข้อมูลทางชีวภาค (Physical Characteristics) เช่น ศีรษะ รูปหน้า ร่างกาย แขน ขา หรือผิวหนัง ฯลฯ ของนักโทษ ชาวอิตาลี เปรียบเทียบกับทหารชาวอิตาลีและบุ คคลอาชี พอื่น ผลสรุ ป ลอมโบรโซเชื่อว่าอาชญากรจะมีความแตกต่างทางชีว ภาคเมื่อเปรียบเทียบกับประชาชนทัว่ ไป แนวคิดของสานักปฏิฐานนิยม ่ ว่า สานักปฏิฐานนิยมมีความเชือ มนุษย์ไม่สามารถควบคุมพฤติกรรม ตนเองได้อย่างเด็ดขาด โดยเฉพาะพฤติกรรมอาชญากรรม จึงอธิบาย ว่า อาชญากรรมเกิ ด จากความผิ ด ปกติ ห รื อ ความบกพร่ อ งด้า น ร่างกายหรือจิตใจของมนุษย์ โดยปั จจัยด้านกายภาคเป็ นสาเหตุของ พฤติกรรมหรือเบี่ยงเบน แม้จ ะมี ผู ไ้ ม่ เ ห็ น ด้ว ยกับ แนวคิ ด นี้ โดยเห็ น ว่า ปั จ จั ย ด้า นกายภาค ประการเดียวไม่ได้ทาให้มนุ ษย์ประกอบอาชญากรรม จาเป็ นต้องมี ปั จจัยด้านอื่นมาสนับสนุน อย่างไรก็ตามในปั จจุบนั เมื่อองค์ความรู ้ ทางวิทยาศาสตร์ได้พฒ ั นาไปมาก โดยเฉพาะเรื่อง DNA ทาให้มีผู ้ กลับมาสนใจทฤษฎีของสานักนี้มากขึ้น ภาพซีซาร์ ลอมโบรโซ (CESARE LOMBROSO, VERONE 1835 – 1909) ภาพซีซาร์ ลอมโบรโซ (CESARE LOMBROSO, VERONE 1835 – 1909) ซีซาร์ ลอมโบรโซ (CESARE LOMBROSO, 1835 – 1909) อย่ า งไรก็ ต าม ต่อ มาภายหลัง ลอมโบรโซได้ต ระหนัก ว่า สิ่ง แวดล้อ มมี อิ ท ธิ พ ลส าคัญ มากกว่า ปั จ จัย ทางด้า นชี ว วิท ยา ในการท าให้บุ คคลมี พฤติกรรมอาชญากรรม ไม่ว่าจะเป็ น ภูมิอากาศ ฝน เพศ การแต่งงาน กฎหมายอาญา การธนาคาร ภาษี โครงสร้า งรัฐ บาล โครงสร้า งและ หลักการของศาสนา ลอมโบรโซได้รบ ั การยกย่องว่าเป็ นบิดาแห่งวิชาอาชญาวิทยา เพราะเป็ นผู ้ ริ เ ริ่ ม น าเอาหลัก การศึ ก ษาวิจ ัย แบบวิ ท ยาศาสตร์ม าใช้ใ นการศึ ก ษา พฤติกรรมของมนุษย์ รวมทัง้ จาแนกประเภทของอาชญากร โดยนาเอาหลัก ทางสถิ ติม าใช้ใ นการวิเ คราะห์ข อ้ มู ล ท าให้ส ะดวกแก่ ก ารศึ ก ษาค้น คว้า นักวิชาการในยุคต่อมาได้ยดึ ถือเป็ นแนวทาง การจาแนกประเภทของอาชญากร 4 ประเภท คือ 1. อาชญากรโดยกาเนิด (Born Criminals) 2. อาชญากรจิตวิปริต (Insane Criminals) 3. อาชญากรที่กระทาผิดเพราะความกดดันทางอารมณ์ (Criminaloids) 4. อาชญากรที่กระทาผิดเป็ นครัง้ คราว (Occasional Criminals) ลอมโบรโซได้จาแนกอาชญากรเป็ น อาชญากรโดยกาเนิด (BORN CRIMINALS) เรียกบุคคลประเภทนี้วา่ Atavistic มี ล ก ั ษณะของการพัฒนาทางร่างกายล้าหลังหรือช้า กว่า มนุษย์ปกติธรรมดา ด้อยกว่าบุคคลธรรมดา มี พ ฤติ ก รรมโหดร้า ยป่ าเถื่ อ น ชอบรัง แก เบี ย ดเบี ย น รวมทัง้ ชอบฆ่าหรือสังหารชีวติ ของบุคคลอืน่ ลอมโบรโซเชื่อว่า อาชญากรประเภทนี้มีอยู่ 1 ใน 3 ของ อาชญากรทัง้ หมด ลอมโบรโซ ทฤษฎีป้องกันสั งคมใหม่ (New Social Defense) มาร์ ค อังเซล Marc Ancel มาร์ ค อังเซล Marc Ancel ทฤษฎีป้องกันสังคมใหม่ (LA DÉFENSE SOCIALE NOUVELLE) ปรัชญาของแนวคิดนี้ ตงั้ อยู่บนพื้ นฐานของหลักอาชญาวิ ทยาและ หลักมนุษยธรรมในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา โดยเห็นว่าการสร้าง และพัฒนาระบบกลับคืนเข้าสู่สงั คมของผูก้ ระทาความผิดจะบรรลุผลได้ก็ ต่อเมื่อได้มีการพัฒนาความมีมนุษยธรรมในกระบวนยุติธรรมอาญาโดย ตัง้ อยู่บ นพื้ น ฐานของวิท ยาศาสตร์ก ารศึ ก ษาการกระท าความผิ ด และ ลักษณะเฉพาะของผูก้ ระทาความผิด แนวคิดตามทฤษฎีป้องกันสังคมใหม่ จึ ง หลี ก เลี่ ย งการ ลงโทษจ าคุ ก แต่ พ ยายามหามาตรการลงโทษที่ หลากหลายเพื่ อ ให้เ หมาะสมกับ พฤติ ก รรมและลัก ษณะของผู ก้ ระท า ความผิดให้มากทีส่ ุดเท่าทีจ่ ะทาได้ Prof. Feurebach ศาสตราจารย์กฎหมายชาวเยอรมัน นโยบายทางอาญา เป็ นเรื่องของกระบวนการปราบปราม ทัง้ หมดของรัฐซึ่งใช้ในการต่อสูก้ บั อาชญากรรม Prof. Marc Ancel ความหมายของนโยบายทางอาญาไม่ได้จากัด อยู่แต่เฉพาะ การบั ง คั บ ใช้ก ฎหมายอาญาแต่ เ พี ย งอย่ า งเดี ย ว แต่ หมายความรวมถึง การตอบโต้ของส่วนรวมหรือสังคมต่อ กิจกรรมที่ตอ้ งห้ามตามกฎหมาย การเบี่ยงเบน หรือการ ต่อต้านสังคมด้วย ความหมายของ “นโยบายทางอาญา” Prof. Mireille Delmas-Marty เห็นว่าเป็ น ความหมายที่แคบไป ต้องพิจารณาดูปัจจัยอืน่ ๆ และ สภาพสัง คมประกอบในการก าหนดนโยบายทาง อาญา จะต้องคานึงถึงการมีส่วนร่วมของภาคประชา สังคม และการแก้ไขเยียวยาผูก้ ระทาความผิดด้วย ชือ่ เรียก “นโยบายทางอาญา” นโยบายด้านอาชญากรรมของชาติ นโยบายด้านการป้องกันและปราบปรามอาชญากรรม นโยบายด้านการปฏิบตั ิต่อผูก้ ระทาความผิด นโยบายด้านการลดปริมาณคดีข้ น ึ สู่ศาล นโยบายด้านการราชทัณฑ์ ่ ประสิทธิภาพในการดาเนินคดี นโยบายด้านการเพิม ปั จจัยที่เป็ นตัวกาหนดนโยบายทางอาญา ศาสตราจารย์ ดร. ปุระชัย เปี่ ยมสมบูรณ์ สถานการณ์ อาชญากรรม สถานการณ์ ยาเสพติด สถานการณ์ การ อานวยความยุติธรรม นโยบายด้ าน อาชญากรรม สถานการณ์ ด้ านอุบัติภัย สถานการณ์ การควบคุม และฟื้ นฟูผู้ต้องขัง พฤติกรรมที่เบีย่ งเบน ่ งเบนซึง่ ถือเป็ นความผิด พฤติกรรมเบีย ่ งเบนทีไ่ ม่ถึงขนาดเป็ นความผิด พฤติกรรมเบีย แนวความคิดทางการเมือง สานักเสรีนิยม (Le courant libéral) สานักเสมอภาคนิยม (Le courant égalitaire) สานักเผด็จการนิยม (Le courant totalitaire) สานักเสมอภาคนิยม (LE COURANT ÉGALITAIRE) แนวคิดของกลุม่ อนาธิปไตย (Le mouvement anarchiste) แนวคิดของมาร์กและเลนิน (Le Marxisme-Léninisme) สานักเผด็จการนิยม (LE COURANT TOTALITAIRE) ฟาสซิสต์ (Fascisme) พวกหัวรุนแรงทางศาสนา (Intégrisme) กฎหมายระหว่ างประเทศ ด้ านการควบคุมอาชญากรรม ด้ านการคุ้มครองสิ ทธิมนุษยชน อนุสัญญา UN เพือ่ ต่ อต้ านการค้ ายาเสพติด และ วัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท ค.ศ. 1988 กติการะหว่ างประเทศว่ าด้ วยสิ ทธิพลเมือง และสิ ทธิทางการเมือง ค.ศ. 1966 อนุสัญญา UN เพือ่ ต่ อต้ าน องค์ กรอาชญากรรมข้ ามชาติ ค.ศ. 2000 อนุสัญญาว่ าด้ วยสิ ทธิเด็ก ค.ศ. 1989 อนุสัญญา UN เพือ่ ต่ อต้ าน การทุจริต ค.ศ. 2003 อนุสัญญาต่ อต้ านการทรมาน และการปฏิบตั ิ หรือ การลงโทษอืน่ ทีโ่ หดร้ าย ไร้ มนุษยธรรม หรือ ยา่ ยีศักดิ์ศรี อนุสัญญาระหว่ างประเทศ ต่ อต้ านการก่ อการร้ ายอีก 13 ฉบับ ความมัน่ คงภายในราชอาณาจักรไทย พระราชกาหนดบริหารราชการใน สถานการณ์ ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548 พระราชบัญญัตกิ ารรักษาความมัน่ คงภายใน ราชอาณาจักร พ.ศ. 2551 เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่ อสาร อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ คดีทรัพย์สินทางปัญญาและการค้ า ระหว่ าง ป.วิอาญา มาตรา 87/1 ป.วิอาญา มาตรา 172 ป.วิอาญา มาตรา 230/1