History of Architecture Conservation

advertisement
History of Architecture
Conservation
แนวคิดและทฤษฏีสากลในการอนุรักษ์ สถาปั ตยกรรม
 เริ่ มต้นด้วยแนวความคิดเรื่ อง
Memorial
การอนุรักษ์ ยุคเริ่มแรก ก่ อน ค.ศ. 15
The tomb of Darious the
Great(late sixth century BC)
is one of the four
monumental tombs of
Achaemenid kings built in
rock in Naqsh-i-Rustam,
close to Persepolis. Inscribed
there is a prayer to God
Ahuramazda for blessing the
king’s good deeds, people
and land
1244 BC
 The broken right arm
and leg of a
monumental statue of
Ramses II in the Great
Temple of Abu Simbel
were repaired by order
of a successor keeping
the original fragments
in place, supported on
simple stone blocks.
 Pausanuis’s
Description
of Greece
around AD
170
ได้รวบรวมประวัติศาสตร์ของสถานที่
การทาลาย และสิ่ งต่างๆที่หายไป เช่น
the remaining wooden
pillars of the house of
Oenomaus ที่ถกู ปกป้ องและ
สงวนรักษาเป็ น memorial
 The Greek word for
‘monument’ was
related to
memory(mneme), a
memorial
Hadrian restored or
rebuilt the Pantheon
in a new form in the
second century AD, he
had an inscription
placed on the front as
if the building were
still the construction
by the first builder 150
years earlier.
The Age of Enlightenment
หลัง ค.ศ. 15 ถึง 18
Traditional Society
Modern historical
consciousness
…………………………………………….
การสะสมของโบราณเกิดขึ้นในยุคช่วงต้นของ renaissance (ค.ศ. 14-17)
สิ่ งของเหล่านี้นอกจากจะเป็ นโบราณวัตถุ ประติมากรรม ยังรวมไปถึงองค์ประกอบทาง
สถาปั ตยกรรมอย่างเช่น เสา และส่ วนประดับตกแต่งสถาปั ตยกรรมด้วย นักมนุษย์นิยม
และศิลปิ นตลอดจนคนมีฐานะตางสะสมของต่างๆไว้ในพระราชวังหรื อบ้าน เกิดความ
สนใจใคร่ รู้เรื่ องราวในอดีต ชื่นชมความงามทางศิลปะและแสวงหาของโบราณของกรี ก
และโรมัน จนต่อมาในค.ศ.16-17 จึงเริ่ มเดินทางไกลกว่าเดิม มุ่งไปยังแหล่งอารยธรรม
อื่นๆของโลกด้วย โดยเฉพาะในตะวันออกไกลและอียปิ ต์
 Vitruvius เป็ น
นักเขียน สถาปนิก
และวิศวกร ในสมัย
โรมัน บทความของ
เขากลายเป็ นพื้นฐาน
องค์ความรู้ที่ใช้
อ้างอิงในการอนุรักษ์
ในสมัย
renaissance
De architectura
 Leon Battista
Alberti(1404-72)
the first and one
of the most
influential of
Renaissance
writers on
architecture
เดินทางและศึกษาของ
โบราณในอิตาลี และอาศัย
แรงบันดาลใจจากงานใน
อดีตของ Vitruvius
เขาได้จดั ทาข้อมูลและ
เทคนิคทางด้าน
สถาปัตยกรรมต่างๆไว้ และ
ให้ความสาคัญกับการดูแล
โบราณสถาน
 Antonio Averlio
Filarete(14001469) เป็ นคนแรกที่เขียน
ตาราทางสถาปัตยกรรมเป็ น
ภาษาอิตาลี โดยพยายาม
อธิบายการวางผังและแนวคิด
ของอาคาร โดยมีความคิดว่า
อาคารมีชีวติ ตั้งแต่เกิดจนตาย
เป็ นหน้าที่สถาปนิกที่ตอ้ งดู
ความต้องการของอาคาร
เพื่อที่จะหลีกเลี่ยงความ
เสี ยหายที่จะเกิดขึ้น เขาได้
สารวจและซ่อมแซมอาคาร
ในโรมโดยการสร้างอาคาร
ให้มีความแข็งแรง เสริ ม
โครงสร้าง ซึ่งทาให้มีการเกิด
รู ปแบบอาคารสมัยใหม่รวม
กับสมัยเก่าทาให้ถูกวิจารณ์
อย่างมากในภายหลัง
 Giorgio
Martini(143
9-1501) ได้
เขียนตาราโดย
อ้างอิงจากงาน
Vitruviusได้
วัดสัดส่ วน
โครงสร้างคลาสสิ ค
และบันทึกความ
เสี ยหายที่ถูกทาลาย
มีการจินตนาการ
เพิ่มเติมถึงรู ปแบบ
อาคารที่สมบูรณ์
 ค.ศ.18 เป็ นยุคสาคัญในประวัติศาสตร์ การอนุรักษ์สถาปั ตยกรรม เพราะเป็ นจุดเริ่ มต้น
ของแนวคิดสมัยใหม่ (modern conservation) สิ่ งที่เป็ นปั จจัยทาให้เกิดการ
เปลี่ยนแปลงคือ
1. ……………………………………………………………
2. ……………………………………………………………
The Grand tours

The Grand Tour was the
traditional trip
of Europe undertaken by
mainly upperclass European young men of
means. The custom flourished
from about 1660 until the advent
of large-scale rail transit in the
1840s, and was associated with a
standard itinerary. It served as an
educational rite of passage. Though
primarily associated with
the British nobility and
wealthy landed gentry, similar trips
were made by wealthy young men
of Protestant Northern
Europeannations on the Continent,
and from the second half of the
18th century some South
American, United States and other
overseas youth joined in. The
tradition was extended to include
more of the middle class after rail
and steamship travel made the
journey less of a burden,
and Thomas Cook made the
"Cook's Tour" a byword.
 การออกแสวงหา
และสะสมของ
โบราณของยุโรป
(Antiquari
anism) และ
การเดินทางออก
นอกประเทศเพื่อ
เสาะหาวัตถุดิบ
ทรัพยากรใหม่ๆ
เพื่อตอบสนอง
ความสนใจใคร่ รู้
โดยเฉพาะโรมัน
 ……………..
 ……………..
Impact of the Grand tours
The Grand Tour
ทาให้เกิดการค้นคว้าทาง
โบราณคดี มีการขุดค้นพบ
เมืองโบราณที่สาคัญเช่น
ปอมเปอี วีซูเวียส สิ่ งที่เป็ น
สัญญาณบ่งบอกสุ นทรี ยภาพ
ของศิลปะในมุมมองใหม่ๆ
ได้แก่การเขียนภาพ
landscape ที่มีฉากหลัง
เป็ นซากโบราณสถานหรื อ
อาคารเก่าๆ มีการออกแบบ
ภูมิสถาปัตยกรรมโดยนา
โบราณวัตถุ ชิ้นส่ วน
โบราณสถานมาประดับ
ตกแต่ง ทาให้เกิดมีการ
แสวงหาวัตถุโบราณจากพื้นที่
ต่างๆมากขึ้น
Winckelmann and the restoration of aniquities
 Johann Joachim
Winckelmann (171768) เกิดในตระกูลช่างทารองเท้า ใน
stendal , Prussia มีโอกาส
ได้ศึกษางานสะสมวัตถุโบราณใน
Dresden ซึ่ งภายหลังทาให้เขาได้
พิมพ์essay on Greek art
ในปี 1755 และภายหลังเมื่อเขาได้
เดินทางไปโรมได้กลายเป็ น
บรรณารักษ์ของ Cardinal
Albani และในปี 1763 เขาได้
เลือกเป็ น the chief of
commissioner of
Antiquities ในโรม
ความสาคัญของ Winckelmann
 Ideal beauty
 Work of art
เป็ นผูท้ ี่ใช้………………………………
ในการศึกษาและให้คาจากัดความของ วัตถุโบราณ
และใช้ความเข้าใจเหล่านี้ในการประเมินในแง่
ประวัติศาสตร์และความเป็ นศิลปะ ซึ่ งด้วยงานของ
เขา และผลงานที่ตีพิมพ์ ทาให้ถกู เรี ยกว่า
Father of archaeology
Ideal beauty
 Winckelmann มีหลักการในการประเมิน work of art โดยการใช้ ideal beauty
แนวความคิดนี้อิงอยูบ่ นแนวคิดปรัชญาของ Neoplatonic และอยูภ่ ายใต้ความคิดของ Raphael และ
Michelangelo ในความคิดของเขางานสมบูรณ์ในรู ปแบบนี้จะพบใน Greek sculptures ‘the
highest beauty is in God, and the concept of human beauty is the
more complete the nearer and the more in agreement it can be
thought to be the highest being’ Ideal beauty แสดงออกผ่านธรรมชาติ และด้วยงาน
Greek เองWinckelmann คิดว่าเป็ นกลุ่มชนที่มีความสวยงามเป็ นพิเศษ ไม่มีการเจ็บป่ วย เป็ นอิสระทั้ง
กายและจิตวิญญาณ คนหนุ่มสาวคุน้ เคยกับการออกกาลังกาย และมักจะเปลือยในที่สาธารณะหรื อมักใส่ เสื้ อผ้าเบา
บาง จุดนี้เองทาให้ศิลปิ น มีโอกาสอันวิเศษในการเลือกและสังเกตความงามอันเป็ นหนึ่ง ซึ่งWinckelmann
กล่าวว่า ‘this is the way to universal beauty and to ideal pictures of it,
and this is the way the Greeks have choosen’ซึ่งงานศิลปะเหล่านั้นสะท้อนภาพจาก
the art of God ในศตวรรษที่ 18อ้างอิงจาก Winckelmann โอกาสคล้ายคลึงกันในการสารวจ
ดังนี้ไม่มี ดังนั้นจึงเป็ นการง่ายกว่าที่ศึกษาผ่านงานGreek master pieces มากกว่าการศึกษาจาก
ธรรมชาติโดยตรง รวมถึงเขายังเชื่อว่าการเข้าถึงความงามเหล่านี้สามารถทาได้โดยการเลียนแบบยุคเก่า
Works of art
 The History of Ancient Art
ตีพิมพ์ในปี 1764 เป็ นหนังสื อที่ให้ความเข้าใจ
ในการสังเกต classical works of art
ซึ่ งมีอิทธิพลภายหลังต่อความเข้าใจในคาว่า
restoration ที่ใช้ในงานอนุรักษ์ โดย
Winckelmann มีแนวคิดว่างานศิลปะ
Greekมีความงามในแบบสมบูรณ์เมื่อมีการ
ซ่อมแซมก็ไม่ควรนาวัสดุใหม่ๆมาใช้ให้มาก
เกินไป หรื อควรจะทิ้งไว้ในรู ปแบบนั้น
 The muscular body of
the Torso of
Belvedere was
admired by many,
including
Michelangelo and
Winckelmann. It was
one of the statues to
remain unrestored
เป็ นตัวอย่างหนึ่งในความเข้าใจเรื่ อง work of
art ของ Winckelmann
การอนุรักษ์ ในศตวรรษที่ 19
 ตะวันตกได้เข้าสู่ ยคุ ปฏิวตั ิอุตสาหกรรมเต็มตัว และมีการพัฒนาทางด้านเทคโนโลยีเต็มตัว
ในขณะที่ความก้าวหน้าทางด้านเศรษฐกิจอุตสาหกรรมกาลังเฟื่ องฟูอยูน่ ้ นั ทางด้านศาสน
จักรกลับทรุ ดโทรม เนื่องจากความเสื่ อมถอยของความเชื่อและความศรัทธาในศาสนจักร
หากนิยมความจริ งที่เป็ นเหตุเป็ นผลในทางวิทยาศาสตร์แทน
 ในช่วงเวลานี้มีการพัฒนาแนวคิดด้านการอนุรักษ์ที่มีความขัดแย้งกันสองแนวทางและ
กลายเป็ นรากฐานของงานอนุรักษ์สมัยใหม่จนถึงปั จจุบนั
Stylistic restoration(1830-1870)
 เมื่อใก้ลจะถึงครึ่ งแรกของศ.ที่ 19 ความชื่นชมความงามแบบ romantic ใน
historic monuments ถูกทาให้กระชับมากขึ้นผ่านการพัฒนามุมมองทางด้าน
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสมัยใหม่ การดูแลรักษาอาคารประวัติศาสตร์ ได้มีการ
สนับสนุนจากแนวคิดประวัติศาสตร์นิยมในสมัยนั้น มีเหตุการณ์ที่ตอ้ งพิจารณาคือในยุคนี้
มีการเพิ่มขึ้นของประเทศในแถบยุโรป(เกิดการแยกตัวออกเป็ นประเทศอิสระ) ทาให้มีการ
แสวงหาสิ่ งที่เรี ยกว่า …………………………………ซึ่ งใช้ในการแสวงหาความ
เป็ นตัวตนของชาติ ทาให้เกิดการบูรณะงานที่มีรูปแบบเหมาะสมและสามารถฉายภาพ
ความสาเร็ จของการเป็ นชาติของแต่ละประเทศ โดยมีการเริ่ มต้นจาก อังกฤษ และ
Prussia การบูรณะของอาคารยุคกลาง มีการให้เหตุผลของการบูรณะที่เรี ยกว่า
stylistic unityโดย……………………ของประเทศฝรั่งเศส
 เออแชน วียอเลต์ -เลอ-ดุค (Eugène
Viollet-le-Duc,) (27 มกราคม ค.ศ.
1814 - 17 กันยายน ค.ศ. 1879) เป็ น
สถาปนิกและนักทฤษฎีคนสาคัญชาว
ฝรั่งเศสของคริ สต์ศตวรรษที่ 19 ผูม้ ีชื่อเสี ยง
จากงานบูรณปฏิสังขรณ์สิ่งก่อสร้างจากยุค
กลาง วียอเลต์-เลอ-ดุคเป็ นสถาปนิกผูม้ ี
บทบาทสาคัญของขบวนการสถาปัตยกรรม
ฟื้ นฟูกอธิคในฝรั่งเศสที่อยูบ่ นพื้นฐานของ
ปรัชญาที่วา่ สถาปัตยกรรมควรจะเป็ นสิ่ งที่
แสดงออกอย่าง “ซื่อตรง” ที่ในที่สุดก็กลาย
มาเป็ นปรัชญาของขบวนการของการฟื้ นฟู
สถาปัตยกรรมทั้งหมดและเป็ นรากฐานของ
ลัทธิสมัยใหม่นิยมที่เริ่ มก่อตัวขึ้น
La Madeleine de
Vezelay
La Notre dame de Paris
 ลักษณะงานปฏิสังขรณ์
 เมื่อต้นคริ สต์ทศวรรษ 1830 ฝรั่งเศสก็เริ่ มทาการบูรณปฏิสังขรณ์สิ่งก่อสร้างจากยุคกลาง วี
ยอเลต์-เลอ-ดุคผูเ้ พิ่งกลับจากการเดินทางศึกษาในอิตาลีในปี ค.ศ. 1835 ได้รับการว่าจ้างโดย
นักประวัติศาสตร์และนักโบราณคดีพรอสแพร์ เมอริ มีให้ทาการ
บูรณะ…………………….ซึ่ งเป็ นจุดเริ่ มต้นของชีวิตการทาการบูรณปฏิสังขรณ์อนั
ยาวนานของวียอเลต์-เลอ-ดุค งานบูรณปฏิสังขรณ์……………………เป็ นงานที่สร้าง
ชื่อเสี ยงระดับชาติให้แก่วียอเลต์-เลอ-ดุค งานชิ้นสาคัญๆ อื่นก็ได้แก่มงต์-แซงต์-มีแชล, คาร์คา
โซน, ปราสาทโรเคอเทลเลด และ ปราสาทปิ แยร์ฟงด์
 งาน “บูรณปฏิสังขรณ์” ของวียอเลต์-เลอ-ดุคมักจะรวมความเป็ นจริ งทางประวัติศาสตร์ เข้ากับ
การเสริ มแต่งอย่างสร้างสรร เช่นภายใต้การอานวยการของวียอเลต์-เลอ-ดุคในการ
บูรณปฏิสังขรณ์มหาวิหารโนเทรอดามแห่งปารี ส ไม่แต่จะทาความสะอาดและบูรณะเท่านั้น
แต่วียอเลต์-เลอ-ดุคได้ทาการ “ปรับปรุ ง” (update) ที่ทาให้ได้รับหอเพิ่มขึ้นอีกหอหนึ่ง
(ที่มีลกั ษณะเป็ นมณฑป) นอกไปจากการเปลี่ยนแปลงเล็กๆ น้อยๆ อื่นๆ งานสาคัญอีกชิ้นหนึ่ง
ที่ทาคือการบูรณปฏิสังขรณ์เมืองล้อมด้วยกาแพงคาร์คาโซนซึ่ งวียอเลต์-เลอ-ดุคก็ใช้การ
เพิ่มเติมเปลี่ยนแปลงตามแนวเดียวกัน
 อิทธิพลต่ อการอนุรักษ์ ทางประวัติศาสตร์
 ทฤษฎีของการอนุรักษ์ทางประวัติศาสตร์ (historic preservation)
…………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………
 ข้อโต้แย้งดังกล่าวก็ยงั คงดาเนิ นต่อมาจนกระทัง่ ปั จจุบน
ั นี้เมื่อมีการกล่าวถึงการบูรณปฏิสังขรณ์
ไม่วา่ จะเป็ นสิ่ งก่อสร้างหรื อภูมิทศั น์ สิ่ งที่สูญหายไปในอดีตไม่สามารถที่จะเรี ยกกลับคืนมาได้
แต่การที่จะทิ้งให้สิ่งก่อสร้างทรุ ดโทรมลงไปตามกาลเวลาเพื่อที่จะรักษา “สถานะภาพปั จจุบนั ”
(status quo) ก็มิได้เป็ นทฤษฎีที่สะท้อนให้เห็นถึงประวัติศาสตร์เช่นกัน การลอกชั้น
ต่างๆ ของประวัติศาสตร์ออกจากสิ่ งก่อสร้าง ก็เท่ากับเป็ นการลอกข้อมูล และ คุณค่าที่ไม่สามารถ
สร้างขึ้นใหม่ได้ แต่ในขณะเดียวกันการเพิ่มเติมงานใหม่เช่นที่ทาโดยวียอเลต์-เลอ-ดุคก็เป็ นการ
ช่วยให้ผชู ้ มงานได้มองเห็นภาพของประวัติศาตร์ที่มีชีวิตชีวาขึ้น
 วียอเลต์-เลอ-ดุคถือกันโดยผูเ้ ชี่ยวชาญหลายคนว่าเป็ นนักทฤษฎีคนแรกของสถาปั ตยกรรมสมัยใหม่ สถาปนิก
ชั้นนาชาวอังกฤษจอห์น ซัมเมอร์ซนั กล่าวว่า “ในประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรมยุโรปมีนกั ทฤษฎีผยู ้ งิ่ ใหญ่สอง
คน—ลีออน บาตติสตา อัลเบอร์ติ และ เออแชน วียอเลต์-เลอ-ดุค”[4] ทฤษฎีสถาปัตยกรรมของวียอเลต์-เลอดุคส่ วนใหญ่มีรากฐานมาจากความสัมพันธ์ระหว่างวัสดุที่ใช้กบั รู ปทรงที่เหมาะสมกับวัสดุ และการใช้รูปทรง
ดังว่านี้ในการสร้างสิ่ งก่อสร้าง หัวใจของทฤษฎีของวียอเลต์-เลอ-ดุคอยูท่ ี่การใช้วสั ดุอย่าง 'ไม่บิดเบือน'
(honestly) วียอเลต์-เลอ-ดุคเชื่อว่ารู ปลักษณ์ภายนอกของสิ่ งก่อสร้างควรจะสะท้อนให้เห็นถึงการ
ก่อสร้างอย่างมีหลักการของสิ่ งก่อสร้าง (rational construction) ใน “ข้ อคิดเกี่ยวกับ
สถาปั ตยกรรม” วียอเลต์-เลอ-ดุคสรรเสริ ญการก่อสร้างเทวสถานกรี กว่าเป็ นการก่อสร้างอันเป็ นหลักการที่เป็ น
ตัวอย่างอันดีของการก่อสร้างสถาปัตยกรรม ตามความเห็นของวียอเลต์-เลอ-ดุค “สถาปัตยกรรมกรี กคือ
ตัวอย่างของความสัมพันธ์ระหว่างโครงสร้างและรู ปลักษณ์ภายนอก”[5] แต่กม็ ีการสันนิษฐานกันว่าทฤษฎี
ดังกล่าวมีอิทธิพลโดยตรงจากบทเขียนของจอห์น รัสคินผูเ้ ป็ นผูส้ นับสนุนทฤษฎีของความเที่ยงตรงในการใช้
วัสดุที่เป็ นหนึ่งในหลักอันสาคัญเจ็ดประการของสถาปัตยกรรม
 ในโครงการสิ่ งก่อสร้างใหม่หลายโครงการที่ยงั สร้างไม่เสร็ จ วียอเลต์-เลอ-ดุคใช้ทฤษฎีที่มาจากสถาปั ตยกรรม
กอธิคโดยการใช้ระบบการก่อสร้างตามหลักการในการก่อสร้างโดยใช้วสั ดุการก่อสร้างสมัยใหม่เช่น
เหล็กหล่อ, นอกจากนั้นก็ยงั หันไปหาวัสดุธรรมชาติเช่นใบไม้ และ โครงกระดูกสัตว์ในการเป็ นแรงบันดาลใจ
โดยเฉพาะปี กค้างคาว ซึ่งเป็ นอิทธิพลที่สะท้อนให้เห็นในการก่อสร้างโครงการหอประชุม
 งานบูรณปฏิสงั ขรณ์เช่นที่ปราสาท
ปิ แยร์ฟงด์เป็ นงานที่ก่อให้เกิดความ
ขัดแย้งเป็ นอันมาก เพราะวียอเลต์เลอ-ดุคมิได้มีจุดประสงค์ในการ
สร้างใหม่ให้เที่ยงตรงต่อความเป็ น
จริ งทางประวัติศาสตร์ แต่เป็ นการ
สร้างเพื่อให้ได้สิ่งก่อสร้างที่มี
ลักษณะที่
เป็ น…………………………
………………………………
………………………………
 สถาปนิกชาวคาตาลันอันโตนี กอดี
ได้รับอิทธิพลเป็ นอันมากจาก
สถาปั ตยกรรมฟื้ นฟูกอธิคของวี
ยอเลต์-เลอ-ดุค.
งานวาดโครงเสาค้ ายันเหล็ก
(trusswork) ของวี
ยอเลต์-เลอ-ดุคเป็ นงานวาดที่ล้ า
ยุค งานออกแบบหลายอย่าง
ของวียอเลต์-เลอ-ดุคเป็ นงานที่
ต่อมามามีอิทธิพลต่อขบวนการ
อาร์ตนูโวโดยเฉพาะในงาน
ของเอ็คเตอร์ กุยมาร์ด ที่งานมา
มีอิทธิพลต่อสถาปนิกอเมริ กนั
ต่อมาที่รวมทั้งแฟรงค์ เฟอร์
เนสส์, จอห์น เวลล์บอร์น รู ท
, หลุยส์ ซัลลิแวน และแฟรงค์
ลอยด์ ไรต์
The Conception of Stylistic restoration
 ตลอดช่วงปี 1840s มีการโต้เถียงถึงหลักการของ restoration อย่างต่อเนื่อง รวมถึงว่าการทา
restoration ควรทาไปถึงขั้นไหน การอนุรักษ์ซ่อมแซมส่ วนเสี ยหายตามช่วงเวลาควรทาหรื อไม่ มี
บางส่ วนเห็นด้วยกับการอนุรักษ์ (conservation) และบางส่ วนเห็นด้วยกับการ
restoration ในระดับfull-scale ซึ่งในส่ วนนี้จะเห็นจากงานของ Viollet-le-Duc ใน
หนังสื อ Dictionnaire raisonné de l'architecture française du XIe
au XVIe siècle ที่เขาเขียนนิยามของคาว่าrestoration ดังนี้
 ‘The term Restoration and the thing itself are both modern.
To restore a building is not to preserve it, to repair, or to
rebuild it; it is to reinstate it in a condition of completeness
which may never have exited at any given time’
 Modern restoration อ้างอิงจาก Viollet-le-Duc มีการเริ่ มฝึ กหัดตั้งแต่ในช่วงแรก
ของศตวรรษที่ 19 โดยหลักการของ restoration กล่าวว่า ทุกๆอาคารและทุกๆส่ วนของอาคาร
ควรจะมีการบูรณะในรู ปแบบของตัวเอง ไม่เพียงแต่รูปร่ างภายนอกแต่ควรบูรณะไปถึงโครงสร้างของ
อาคาร
 ………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………
 Architecture, according to Viollet-le-Duc, was not
and art of imitation, but a production by man.
Forms an proportions existed in the universe, and it
was man’s task to discover them and to develop the
principles of construction according to the
requirements of this cultural context.
 The style resulted from the harmony that man’s
intellect was able to create between the forms, the
means, and the object; ‘the style is the illustration of
an ideal based on a principle’
Conservation
 รู ปแบบการอนุรักษ์แบบที่สองคือ …………………………….(1850-
1870) เกิดจากการซ่อมแซมวิหารกอธิกจานวนมากในยุโรปทาให้เกิดการเปลีย่ นแปลง
รู ปแบบของสถาปั ตยกรรมแบบเดิมไป(อันเนื่องมาจากการอนุรักษ์) จึงทาให้เกิดแนวคิด
แบบ ………………………….. ขึ้นมา โดยมีแนวคิดว่าควรเคารพโบราณสถานใน
รู ปแบบที่เป็ นอยู่ โดยเชื่อว่าโบราณสถานแม้เป็ นซากปรักหักพัง ก็ยงั มีคุณค่าอยูใ่ นตัวเอง
อีกทั้งยังเป็ นสิ่ งแสดงถึงกาลเวลาที่ส่งผ่านจากอดีตถึงปั จจุบนั ของตัวโบราณสถานเอง ทา
ให้เกิดแนวความคิดเทิดทูนบูชาโบราณสถาน การอนุรักษ์จึงควรอนุรักษ์ในรู ปแบบที่มนั
เป็ นโดยว่าการเข้าดูแลให้นอ้ ยที่สุดคือการอนุรักษ์ที่ดีที่สุด
 หัวใจของmodern conservation คือการการตระหนักถึงความเข้าใจใหม่ใน
ประวัติศาสตร์ และผลของการรับรู ้ถึงความหลากหลายทางวัฒนธรรม
Winckelmann ตระหนักถึงความสาคัญของประวัติความเก่าของ work of
art ในขณะที่ยคุ นั้นยังคิดวนเวียนอยูใ่ นเรื่ องประเพณี แนวทางอนุรักษ์สมัยใหม่เริ่ มมี
ความชัดเจนมากขึ้นอีกในยุคของ Romanticism จนมาถึงยุคของ Ruskin ที่
มุ่งตรงไปที่การวิพากษ์วิจารย์ในความนิยมการอนุรักษ์แบบ Stylistic
Restoration
John Ruskin’s conservation principles
 กลุ่มเคลื่อนไหวต่อต้านการอนุรักษ์ วิจารย์สถาปนิกด้านการอนุรักษ์วา่ ทาลายความจริ งแท้
(authenticity)ของประวัติศาสตร์อาคาร John Ruskinเป็ นหัวหอก
ของการเคลื่อนไหวเหล่านี้ และประสบความสาเร็ จในการทาให้คา
ว่า…………………ในภาษาอังกฤษมีความหมายในแง่ลบ และในภายหลังคานี้กถ็ ูก
แทนที่ดว้ ยคาว่า ……………………………..
 John Ruskin(1819-1900)
was the leading English art
critic of the Victorian era,
also an art patron,
draughtsman,
watercolourist, a prominent
social thinker and
philanthropis เกิดในตระกูลร่ ารวย ใน
สมัยเด็กๆใช้เวลาไปกับการอ่านไบเบิล และ
สอดคล้องกับความต้องการครอบครัวที่ให้เขา
เป็ นบิชอป แต่ตอนหลังJohn Ruskin
หันไปสนใจงานเขียนและกลายเป็ นนักปรัชญา
และนักทฤษฏีที่มีชื่อเสี ยง
 งานเขียนที่มีชื่อเสี ยงของ Ruskinและมีผลกระทบต่อการอนุรักษ์สถาปั ตยกรรมในวง
กว้างคือ …………………………………….แต่งานเขียนนี้ไม่ได้เป็ นทฤษฏีการ
อนุรักษ์แต่ประการใด ในหนังสื อเล่มนี้เพียงให้หลักการในการให้คุณค่าและความสาคัญ
ของวัตถุโบราณและอาคารประวัติศาสตร์ สิ่ งที่สาคัญคือการให้คุณค่ากับอาคาร
ประวัติศาสตร์ที่Ruskin สามารถบรรยายได้อย่างชัดเจนกว่านักอนุรักษ์ทุกคนที่ผา่ น
มา ในหนังสื อเล่มนี้Ruskin ให้หลักการเจ็ดประการคือ sacrifice, ……..,
power, beauty, life, …………, and obedience
 Ruskin เชื่อว่า การบูรณะ(Restore) อาคารประวัติศาสตร์ หรื อ work of
art แม้วา่ จะมีความซื่ อสัตย์เพียงใด แต่ในทุกๆกรณี ศึกษา จะแสดงให้เห็นถึงการ
สร้างใหม่(reproduction) ของรู ปทรงแบบเก่าในวัสดุใหม่ และดังนั้นมันจึงเป็ น
การทาลายความเป็ นอันหนึ่งอันเดียวของงานที่แท้จริ ง(authentic work)
 Ruskin ได้แสดงความชัดเจนในแนวคิดไว้ในหนังสื อ The seven lamps of
Architecture ดังนี้
 การปฏิสังขรณ์คือการทาลายล้างที่รุนแรงที่สุดที่อาคารหลังหนึ่ งจะประสบได้ เป็ นการ
พังทลายที่ไม่สามารถรวบรวมเอาเศษเล็กเศษน้อยได้ เป็ นการทาลายที่ร่วมด้วยการแสดง
หลักฐานเทียมที่ถูกทาลายไป อย่าให้พวกเราหลอกตัวเองในปั ญหานี้เลย มันเป็ นไปไม่ได้ที่จะ
ฟื้ นสิ่ งที่ตายแล้ว เช่นเดียวกับการสร้างสิ่ งที่เคยเป็ นสถาปั ตยกรรมที่ยงิ่ ใหญ่หรื อสวยงามให้
กลับคืนมา วิญญาณที่ถูกสร้างโดยฝี มือและสายตาของช่างไม่สามารถที่จะเรี ยกคืนมาได้
วิญญาณอื่นอาจถูกสร้างได้โดยกาลสมัยอื่น และมันคืออาคารใหม่ แต่วิญญาณของช่างที่ตาย
แล้ว ไม่สามารถถูกเรี ยกหรื อบังคับให้คืนมาสู่ มืออื่น และสมองอื่น แม้วา่ จะเป็ นเพียงการ
ลอกเลียนแบบธรรมดาๆเพียงแต่การลอกเลียนแบบผิวนอกของอาคารที่หนาเพียงครึ่ งนิว้
ความเป็ นของแท้ของงานทั้งหมดก็คือผิวนอกครึ่ งนิ้วที่หายไปถ้าท่านพยายามปฏิสังขรณ์ผวิ
นอกเท่านั้น ท่านทาได้เพียงแต่สร้างของเทียมเท่านั้น ถึงแม้ท่านจะลอกเลียนของเก่าได้เหมือน
มันจะดีกว่าของเดิมไปได้อย่างไร คุณค่าของเส้นสายที่อ่อนโยน ที่กาลเวลาอันยาวนาน สาย
ฝน และแสงอาทิตย์ได้สร้างขึ้น ซึ่ งงานสลักใหม่อนั แข็งกระด้างไม่มีทางทาได้ อย่าให้เราพูด
ถึงวิธีการปฏิสังขรณ์เลย วิธีการนี้เป็ นวิธีการที่หลอกลวงตั้งแต่ตน้ จนจบ
 ให้ความเอาใจใส่ ที่สมควรแก่โบราณสถานแล้ว ท่านไม่ตอ้ งปฏิสงั ขรณ์มนั หมัน
่ ดูแล
กระเบื้องหิ นชนวนในที่ของมันบนหลังคา กวาดเศษใบไม้ไม่ให้อุดท่อระบายน้ า ก็จะ
รักษาหลังคาและกาแพงโบราณสถานให้รอดพ้นการเป็ นซากปรักหักพัง นับก้อนหินบน
โบราณสถาน เหมือนท่านนับเพชรบนมหามงกุฎแห่งพระราชา เฝ้ าระวังมันเหมือนกับ
ระวังประตูเมืองที่ถูกศัตรู ปิดล้อม ที่ใดที่มนั หลุดแยกยึดมันเข้าด้วยเหล็กหรื อไม้ อย่ากังวล
กับรอยซ่อมที่จะต้องปรากฏ ไม้เท้าย่อมดีกว่าแขนขาที่ขาดหาย แต่จงทาอย่างนิ่มนวล
เคารพต่อเนื่อง และสม่าเสมอ และมันจะอยูใ่ ห้ร่มเงาแก่มวลมนุษย์ที่เกิดและตายจาก
Ruskin มีความกลัวว่าอุตสาหกรรมจะทาให้มนุษย์แปลกแยกจากความสุ ขในงาน
และผลของมันทาให้งานเกิดความว่างเปล่า ไร้ชีวิตชีวา และไม่มีความเสี ยสละทุ่มเทใน
งาน
Development of conservation policies in England
 Ruskin นาเสนอสมาคมและสมาชิกที่คอยรายงานภาวะของอาคารประวัติศาสตร์ ท้ งั
ประเทศ และเงินทุนสาหรับดูแลที่ดินเหล่านั้น หรื อคอยช่วยและให้คาปรึ กษาเจ้าของใน
การดูแลรักษา โดยในตอนเริ่ มต้นRuskin ให้เงินจานวน 25 ปอนด์ในการเริ่ มต้น
และเป็ นจุดเริ่ มต้นของ ……………………………………….ที่ได้รับการ
ช่วยเหลือก่อตั้งภายหลังโดย William Morris
 สิ่ งหนึ่งที่ตอ้ งคานึงถึงคือ ใช่วา่ ทุกคนจะเห็นด้วยกับหลักการของRuskinดังเช่นในปี
1854 ที่ Henry Dryden ที่ได้โต้แย้งว่า แม้วา่ เขาจะเห็นด้วยกับแนวคิดของ
Ruskin หากแต่โบสถ์หรื ออาคารบางหลังยังเป็ นโบราณสถานที่ยงั มีชีวิต(living
monument) ซึ่ งยังมีการใช้งานอยูใ่ นปั จจุบนั ซึ่ งต้องมีการพัฒนาปรับปรุ งอาคาร
ซึ่ งจุดนี้ทาให้Drydenแย้งว่าหลักการของ Ruskin ไม่สามารถนามาใช้ได้กบั
อาคารประเภทนี้
William Morris and SPAB
 The Society for the
Protection of
Ancient Buildings ได้
ก่อตั้งขึ้นในปี 1877 ซึ่ งมีผรู ้ ่ วม
ก่อตั้งที่สาคัญหลายคนในจานวน
นั้นคือ John Ruskin และ
Morris ที่ถูกเลือกขึ้นเป็ นเลขา
ของสมาคม ซึ่ งสมาคมมีบทบาท
สาคัญในการรวมพลังต่อต้านการ
บูรณะที่ขาดความรู ้แจ้ง
(conjectural
restoration) สนับสนุนการ
บารุ งรักษา และดูแลอนุรักษ์
 สิ่ งหนึ่งที่ควรตระหนักคือความสาคัญ
ของ The Grand Tour ที่มีต่อ
การอนุรักษ์ในอังกฤษ เพราะทั้ง
Ruskin และ Morris ได้ผา่ นการ
เดินทางในลักษณะนี้และต่างลุ่มหลงใน
งานศิลปะและโบราณสถาน โดย
Ruskin ใช้เวลาในวัยหนุ่มไปกับการ
เดินทางท่องเที่ยวItaly และ
Morris ท่องเที่ยวใน เบลเยีย่ มรวมถึง
เดินทางไปศึกษาสถาปัตยกรรมกอธิก
ในทางเหนือของฝรั่งเศส
 William Morris (24 March 1834 – 3 October 1896) was an
English textile designer, artist, writer, and socialist associated with
the Pre-Raphaelite Brotherhood and the English Arts and Crafts
Movement. He founded a design firm in partnership with the
artist Edward Burne-Jones, and the poet and artistDante Gabriel
Rossetti which profoundly influenced the decoration of churches
and houses into the early 20th century. As an author, illustrator
andmedievalist, he is considered an important writer of the
British Romantic movement, helping to establish the
modern fantasy genre; and a direct influence onpostwar authors
such as J. R. R. Tolkien. He was also a major contributor to reviving
traditional textile arts and methods of production, and one of the
founders of the Society for the Protection of Ancient Buildings, now
a statutory element in the preservation of historic buildings in the
UK.
 จากการก่อตั้ง SPAB Morris ร่ างกฎสมาคมที่เรี ยกว่า ……………………
ซึ่ งมีการกล่าวหาการบูรณะสมัยใหม่วา่ เป็ นการทาตามอาเภอใจของสถาปนิก และใน
ร่ างมีใจความถึงอาคารโบราณสถาน โบราณวัตถุมีคุณค่าสู งเกินกว่าการที่เหล่าผูม้ ี
การศึกษาทางศิลปะจะสามารถมาโต้แย้งได้ ดังนั้นจึงเป็ นหน้าที่ที่ตอ้ งปกป้ องและ
อนุรักษ์ กายภาย รวมถึงส่ งต่อสู่ คนรุ่ นหลังด้วยการสอนสัง่ และเคารพ
 ซึ่ งภายหลัง …………………… กลายเป็ น พื้นฐานหลักการของmodern
conservation มีสองสิ่ งที่ตอ้ งพิจารณาในหลักการการอนุรักษ์สมัยใหม่
…………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………
 The leading principles of SPAB were ‘conservative
repair’ and ‘to save off decay by daily care’
Influence of SPAB abroad
 นอกจากอังกฤษแล้ว SPAB มีอิทธิพล
ออกไปสู่ พ้นื ที่อื่นๆ ในการกระตุน้ ให้เกิด
สามารถในลักษณะเดียวกันและยัง
สนับสนุนการเข้าแทรกแซงโดยตรงของ
สมาคมในการอนุรักษ์โบราณสถาน ตัว
Morris เองมีส่วนสาคัญอย่างมากใน
การพัฒนาการออกแบบสมัยใหม่ควบคู่ไป
กับการอนุรักษ์ สมาชิกของ SPAB ได้รับ
ความร่ วมมือจากหลายๆประเทศ รวมถึงการ
ออกมาต่อต้านการrestoration ที่
กาลังได้รับการนิยมในขณะนั้น กรณี ศึกษาที่
น่าสนใจคือ San Marco ในเวนิซ ซึ่ ง
ได้รับการต่อต้านโดย Morrisซึ่ งยืน่
เสนอlist รายชื่อผูต้ ่อต้านนับพันรายชื่อ
ท้ายสุ ดก็ได้รับการตอบสนองจากรัฐบาล
อิตาลี และหยุดการบูรณะแต่ให้คานึงถึงการ
ดูแลรักษาอนุรักษ์แทน
Restauro filologico
 Philological restoration แนวคิดนี้ เริ่ มมา
จากคาจากัดความในภาษาลาตินต่อคาว่าmonument
ว่าเป็ น คาอธิบายหรื อ เอกสาร monument ใน
ความหมายนี้ ถูกสร้างเพื่อส่ งสาร หรื อข้อความ และตัว
ข้อความนั้น เป็ นข้อมูลสาหรับพิสูจน์ความจริ งใน
ประวัติศาสตร์ ซึ่ งจะต้องไม่ถูกบิดเบือน หลังจากแนวคิดนี้
ได้เริ่ มมีการจดจา แนวความคิดเรื่ องข้อความ ได้ขยาย
ออกไปนอกเหนือจากคาจากัดความแค้คาอธิบายออกสู่
โครงสร้างทางกายภาพที่สัมพันธ์กบั คุณค่าทาง
ประวัติศาสตร์ โดยแนวความคิดนี้มีการพัฒนาในมิลาน
ประเทศอิตาลี และถูกทาให้ชดั เจนขึ้นโดย
…………………………………………………
……………………………..
 Boito เป็ นชาวโรมันโดยกาเนิ ดแต่ภายหลังได้มาเป็ นศาตราจารย์ในAcademy of
fine Arts ในมิลาน ในการศึกษาด้านการอนุรักษ์ Boito ผ่านการฝึ กในแบบStylistic
restoration ดังนั้นในช่วงต้นแนวความคิดของBoitoจะมีความสัมพันธ์กบั
ประสบการณ์ดา้ นการอนุรักษ์แบบฝรั่งเศส ในปี 1879 มีการนาเสนอแนวทางการอนุรักษ์ใน
อิตาลี โดยเป้ าหมายเพื่อสนับสนุนระเบียบการอนุรักษ์ที่มีการแปลความหมายโดยใช้ความรู ้ดา้ น
ประวัติศาสตร์โบราณสถาน หลีกเลี่ยงการทาลายและความผิดพลาดที่ไม่จาเป็ น การเปลี่ยนแปลง
โบราณสถานจะอิงอยูบ่ นการตัดสิ นวิเคราะห์วา่ สิ่ งใดควรอนุรักษ์ และสิ่ งใดควรเอาออกไป การ
บูรณะหรื อการสร้างใหม่ของส่ วนที่สูญหายหรื อเสี ยหาย จะยอมรับได้ในกรณี ที่มีหลักฐานถึงรู ป
แบบเดิมอย่างชัดเจน หรื อถูกพิสูจน์โดยความจาเป็ นของความแข็งแรงทางด้านโครงสร้าง และใน
ปี 1883Boitoได้นาเสนอข้อพิจารณาสาหรับการอนุรักษ์ ว่าควรหรื อไม่ที่การบูรณะควร
เลียนแบบสถาปั ตยกรรมดั้งเดิม หรื อควรที่แสดงให้ชดั เจนว่าส่ วนใดมีการเพิ่มเติม ซึ่ งจากเอกสาร
ใหม่น้ ี Boitoได้แสดงแนวทางร่ วมของการบรู ณะแบบใหม่ โดยนาเสนอเกณฑ์สาหรับการเข้า
แทรกแซงการอนุรักษ์โบราณสถาน โดยหลักการนี้ได้กลายเป็ นส่ วนหนึ่งของหลักการการ
อนุรักษ์แบบ ………………………………………
 แนวคิดที่ Boito แสดงไว้ในปี 1883 มี 4 ข้อดังนี้คือ
……………………………………………………..
2. ……………………………………………………..
3. ……………………………………………………..
4. ……………………………………………………..
1.
หลักที่ใช้ ในข้ อบัญญัติในการบูรณะอาคารในอิตาลี ปี 1902
 วิธีการปฏิบตั ิ 8 ประการ คือ
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
……………………………………………………..
……………………………………………………..
……………………………………………………..
……………………………………………………..
……………………………………………………..
……………………………………………………..
……………………………………………………..
……………………………………………………..
 อย่างไรก็ตามแม้แนวคิดในเรื่ องนี้เกิดขึ้น แต่ยงั ขาดเงินทุน สถาปนิก นักโบราณคดี
ตลอดจนคนทางานที่มีทกั ษะ สิ่ งที่ทาได้คือการแทรกแซงอาคารให้นอ้ ยที่สุด ในช่วง
ศตวรรษนี้ แม้แนวคิดนี้จะเกิดขึ้น และต่อต้านแนวคิดที่เน้นความงาม หรื อความเป็ นหนึ่ง
เดียวของอาคาร แต่ยงั ไม่ได้รับการยอมรับมากนัก เพราะทาได้ยากในทางปฏิบตั ิ อีกทั้งยัง
ไม่มีวิธีการปฏิบตั ิที่ขดั เจนว่าทาอย่างไรจึงจะถูกต้อง ทาให้ในช่วงเวลานั้นหลักการ
ดังกล่าวยังไม่เป็ นที่นิยม จนมีการนามาพัฒนาในศตวรรษที่ 20 ที่เป็ นแนวทางของการ
อนุรักษ์สมัยใหม่ในปั จจุบนั
Modern conservation in 20th Century
 ระหว่างสงครามโลกครั้งที1 (1914-
1918) โบราณสถานและเมือง
ประวัติศาสตร์ที่สาคัญถูกทาลาย
มากมาย เมืองประวัติศาสตร์หลายแห่ง
กลายเป็ นสถานที่สู้รบ จิตสานึ กการ
อนุรักษ์โบราณสถานระหว่างส่ งคราม
เกิดขึ้น ด้วยเกรงว่าโบราณสถานจะถูก
ทาลายไปในระหว่างนี้ เช่น การประชุม
นานาชาติของสถาปนิกครั้งที่ 6 ปี
ค.ศ.1904 ที่เมือง Madrid การ
ประชุมครั้งนี้ได้แบ่งโบราณสถาน
ออกเป็ น2 ประเภทได้แก่
…………………….ให้
ปฏิสังขรณ์โดยยึดเอกภาพของรู ปแบบ
อาคารเป็ นสาคัญ และ
………………………ให้สงวน
รักษาตามแบบดั้งเดิมอย่างเคร่ งครัด
 หลังการสิ้ นสุ ดสงครามโลกมีการตั้งสันนิบาตโลก การจัดระเบียบองค์การเพื่อความ
ร่ วมมือระหว่างชาติ พร้อมทั้งมีการประชุมหลายแห่งที่กรุ งเจนีวา ต่อมาจึงได้จดั ตั้ง
องค์กรว่าด้วยความร่ วมมือทางปั ญญาขึ้นในปี 1922 ทั้งนี้เพื่อพิจารณางานที่วา่ ด้วย
วัฒนธรรม ส่ งผลก่อให้เกิดสานักงานพิพิธภัณฑ์และการอนุรักษ์ศิลปกรรม ในปี 1931
มีการจัดประขุมเพื่ออภิปรายปั ญหาต่างๆที่เกิดขึ้นที่เกี่ยวกับการอนุรักษ์สถาปัตยกรรม
มีตวั แทน 120 คนจาก 23 ประเทศ โดยทาให้เกิดกฎบัตรเกี่ยวกับการอนุรักษ์ที่สาคัญ
คือ …………………………..
Athens Charter
1.
2.
3.
4.
5.
6.
……………………………………………………..
……………………………………………………..
……………………………………………………..
……………………………………………………..
……………………………………………………..
……………………………………………………..
การอนุรักษ์สากลในแนวทางสมัยใหม่ได้รับการยอมรับตั้งแต่ในการประชุมครั้งนี้
เป็ นต้นมา ซึ่ งนับว่าเป็ นเอกสารระหว่างชาติครั้งแรกเพื่อส่ งเสริ มการอนุรักษ์
สมัยใหม่
Restauro Scientifico
 Scientific Restoration เป็ น
แนวคิดการอนุรักษ์ที่เริ่ มต้นโดย
Gustavo Giovannoni โดยเขาได้
นาเสนอหลักการนี้ในการประขุมนานาชาติที่
Athens ในปี 1931 และภายหลังเขา
กลับมาที่โรมก็ได้จดั ทาItalian
Charter และตีพิมพ์อย่างเป็ นทางการใน
ปี 1932 ซึ่งหลักการในกฎบัตรนั้นก็คือ
Restauro Scientifico ซึ่งหาก
เปรี ยบเทียบกับหลักการของ Boito ที่
โบราณสถานถูกให้ความสาคัญเหมือน
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
Giovannoni ได้นาเสนอแนวทางที่
กว้างกว่า ที่ครอบคลุมไปถึงสถาปัตยกรรม
บริ บททางประวัติศาสตร์ สภาพแวดล้อม และ
การใช้สอยอาคาร
 Giovannoni มองโบราณสถานรวมถึงองค์ประกอบต่างๆของโบราณสถานว่าเป็ น
หลักฐานที่สาคัญยิง่ องค์ประกอบหรื อชิ้นส่ วนทุกๆชิ้นของอาคารต้องได้รับการศึกษาและ
อนุรักษ์ไว้ เพราะเป็ นสิ่ งที่ผา่ นกาลเวลาโดยให้ความรู ้ต่างๆในอดีต การอนุรักษ์น้ นั จึง
จาเป็ นต้องศึกษาทุกแง่มุมอย่างละเอียดและอนุรักษ์ทุกชิ้นส่ วนให้คงเท่าที่มนั เคยถูกทาลาย
ลง โดยไม่ได้มองว่าชิ้นส่ วนต่างๆที่พงั ทลายลงนั้นจะทาให้คุณค่าทางความงามของอาคาร
ลดลงหรื อไม่
The church of Alexander, Warsaw
 ภายหลังสงครามสงครามโลกครั้งที่สอง หลักการScientific Restoration
ไม่ได้การยอมรับ เนื่องจากโบราณสถานและเมืองต่างๆในยุโรปภายหลังสงครามโลกครั้ง
ที่สองถูกทาลายลง หากอนุรักษ์ไว้โดยคงสภาพเดิมดังที่เคยถูกทาลายนั้นจะทาให้เมือง
และโบราณสถานนั้นกลายเป็ นซากปรักหักพัง และไม่สามารถใช้ประโยชน์ได้อีก อีกทั้ง
แนวคิดนี้ไม่ให้ความสาคัญกับการคืนสู่ สภาพเดิมและความงามซึ่ งไม่เป็ นที่ยอมรับของ
ชาวเมือง
Dresden, Germany เมืองมรดกโลก แต่ภายหลังถูกถอนออกเนื่องจากมีการสร้างสะพาน
ข้ามเมืองตามความต้องการของชาวเมืองเพื่อข้ามมาทางานในเขตเมือง
Critical Restoration
 สงครามโลกครั้งที่สอง(1935-1943)ทาให้โบราณสถานถูกทาลายโดยสงครามอีกครั้งหนึ่ง
เมืองประวัติศาสตร์ที่สาคัญหลายแห่งถูกทาลาย รวมถึงสภาพแวดล้อม ชุมชนที่มี
ผลกระทบไปด้วย ทาให้เกิดกระแสการอนุรักษ์ที่ไม่เพียงคิดถึงแต่โบราณสถานเช่นแต่
ก่อน แต่รวมถึงการคานึงถึงความเหมาะสมของสิ่ งแวดล้อม และชุมชนต่อโบราณสถาน
และยังเกิดการถกเถียงถึงรู ปแบบการอนุรักษ์ที่สาคัญ 2 แบบคือ
1. …………………………………………………………………
2. …………………………………………………………………
Cisare Brandi’s theory of restoration
 Brandi สอนประวัติศาสตร์ ทฤษฏีและการอนุรักษ์ ในมหาวิทยาลัย Palermo ใน
โรม หลังปี 1948เขาได้มีโอกาสได้ทางานอนุรักษ์ในหลายๆโปรเจ็คของ UNESCO
ซึ่ งภายหลังทฤษฏีของBrandiมีอิทธิพลต่อการอนุรักษ์สมัยใหม่ในศ.20
 Brandi มีแนวคิดที่น่าสนใจในการนาเรื่ องสุ นทรี ยภาพในการมองงานศิลปะมาใช้ คือ
การมองศิลปกรรมชิ้นหนึ่งต้องมองเอกภาพหรื อภาพรวมทั้งหมดของงาน
……………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………
Cesare Brandi (Siena, 8
April 1906 – Vignano, 19
January 1988) was an art
critic and historian, specialist
in conservation
restoration theory.
Cisare Brandi’s theory of restoration
 นอกจากนั้น Brandi ยังมองว่ายุคสมัยที่เราควรจะซ่ อมแซมคือ
……………………………………………………..
2. ……………………………………………………..
3. ……………………………………………………..
ซึ่ งเขาคิดว่าควรนาแบบอย่างที่เราเห็นในยุคที่ 3 หรื อในนาทีที่เรามองงานศิลปกรรมนั้น
อยูพ่ ิจารณาในการบูรณะอาคาร เพราะนาทีน้ นั เป็ นยุคสุ ดท้ายที่เรามองเห็น ซึ่ งสามารถ
อนุรักษ์หลักฐานที่เหลืออยูไ่ ด้มากที่สุด โดยไม่เกี่ยวข้องกับอัตวิสยั ในการเลือกยุคสมัย
ใดๆในการบูรณะ อย่างไรก็ตาม เขาก็ยงั ให้โอกาสในการพิจารณาทางด้านสุ นทรี ยภาพ
มากกว่าทางประวัติศาสตร์ หากบางส่ วนนั้นเป็ นการต่อเติมขึ้นมาและไม่สร้างความเป็ น
เอกภาพในงาน และเป็ นการทาลายคุณค่าที่เกิดขึ้นอย่างร้ายแรง
1.
การเกิดของVenice Charter
 Athens Charter ได้รับการยอมรับในที่ประชุมนานาชาติในปี 1931 ใน the first
international Congress of Architects and Technicians of Historic
Monuments ในเอเธน จุดหลักของกฏบัตรนี้เน้นที่ความจาเป็ นในการสร้างองการณ์นานาชาติสาหรับ
การบูรณะโบราณสถาน รวมถึงการเข้าจัดการและป้ องกัน โบราณสถานที่ได้รับผลกระทบจากสงคราม การใช้
งานกฎบัตรนี้ในช่วงแรกจากัดอยูแ่ ต่ในทวีปยุโรป
 อย่างไรก็ตามกฏบัตรเอเธนได้รับการตอบสนองเป็ นอย่างดีทาให้มีการพัฒนากฏบัตรอย่างต่อเนื่อง ทาให้หลัง
สงครามโลกครั้งที่สอง ได้มีความพยายามในการจัดตั้งองกรณ์อนุรักษ์โดยให้ความสนใจไม่เพียงแต่ในระดับ
ท้องถิ่นแต่รวมถึงในระดับนานาชาติ ผลที่ตามมาคือ ในปี 1946 มีการจัดตั้ง UNESCO ตามมาด้วย the
international Council of Museums(ICOM)ในปี เดียวกัน ในการประชุมครั้งที่ 9 ของ
UNESCO ในปี 1956 ,มีการตัดสิ นใจในการจัดตั้ง The international Centre for the
Study of the Restoration and Preservation of Cultural Property
(ICCROM) และอิตาลีได้ยอมรับการเป็ นสานักงานใหญ่ในอีกสามปี ถัดจากนั้น และ
International Council on Monuments and Sites(ICOMOS) มีการตั้งขึ้น
มาในปี เดียวกับที่มีการยอมรับ ……………………………………………………..
หรื อที่เรี ยกกันว่า The Venice Charter ในปี 1964 ใน the second
international Congress of Architects and Technicians of Historic
Monuments ที่เวนิส โดยกฏบัตรนี้เป็ นการพัฒนาต่อจากกฏบัตรเอเธน
หลักการVenice Charter
 มีสาระสาคัญ 7 ประการคือ
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
……………………………………………………..
……………………………………………………..
……………………………………………………..
……………………………………………………..
……………………………………………………..
……………………………………………………..
……………………………………………………..
 The Venice Charter ถูกเชื่อว่าเป็ นฉบับแก้ไขของ กฎบัตรเอเธนในปี 1931
และมีพ้นื ฐานจารี ตโดยเฉพาะของอีตาลีโดย Giorvannoni รวมถึงยังสะท้อนการ
โต้เถียงกันระหว่าง การอนุรักษ์และการบูรณะ และมีบางส่ วนที่นาแนวคิดของงานของ
Brandi ที่ตีพิมพ์ในปี ก่อนหน้ามาใช้อีกด้วย แม้วา่ the Venice Charter จะ
ยังให้ความสนใจหลักในการอนุรักษ์ที่ตวั อาคาร แนวคิดของ historic
monument ได้ขยายครอบคลุมไปถึง เมืองประวัติศาสตร์และพื้นที่รอบนอกเมือง
การอ้างอิงถึงคาว่า Dead และ living ถูกพิจารณาในกฎบัตรนี้วา่ ไม่เหมาะสม ใน
การประชุมให้ความสนใจอย่างชัดเจน ทั้งการมองด้านความสาคัญของสุ นทรี ยศาสตร์
และความสาคัญในแง่ของหลักฐานข้อมูล ท้ายที่สุดกฏบัตรเวนิสได้เป็ นที่ยอมรับในระดับ
สากล โดยกฏบัตรได้กาหนดไว้วา่ สามารถปรับได้ตามวัฒนธรรมที่แตกต่างไปในแต่ละ
ประเทศ ซึ่ งเป็ นข้อปฏิบตั ิที่มีอิทธิพลต่อแนวคิดและการปฏิบตั ิอนุรักษ์โบราณสถานทัว่
โลกรวมถึงประเทศไทยด้วย
 1931
……………………
 1964
……………………
……………………
……………………
……………………
 1979
 1994
 2003
 ในภายหลังthe Venice Charter ได้กลายเป็ นหลักการที่นาไปใช้กบั การ
อนุรักษ์โบราณสถานทัว่ โลก รวมถึงเป็ นหลักพื้นฐานในการใช้ประเมินพืน้ ที่มรดก
วัฒนธรรม ที่จะถูกขึ้นทะเบียนโดยUNESCOใน World Heritage list
หนึ่งในกฏบัตรที่มีชื่อเสี ยงและได้แรงบันดาลใจจากVenice Charter คือ
Burra Charter ซึ่ งร่ างโดย Australia ICOMOS ในปี 1979 และ
ตีพิมพ์ในปี 1981, 1988, และ 1999 ตามลาดับ แต่แม้วา่ จะอิงหลักการหลักบนกฎ
บัตรเวนิส the Burra Charter ได้นาเสนอแนวคิดของ place แทนที่
monument and site กฎบัตรนี้เน้นที่ส่วนที่จบั ต้องไม่ได้
(intangible) ของวัฒนธรรม การรวมกลุ่ม และความหมายของสถานที่ต่อผูค้ น
และความต้องการในการมีส่วนร่ วมของผูค้ นในขบวนการตัดสิ นใจ
Venice Charter to Burra Charter and Nara document
 ภายหลังThe Venice Charter ได้รับการยอมรับจากนานาประเทศ และ
กลายเป็ นเป็ นแนวทางหลักใน heritage conservation หนึ่งในมุมมองที่
สาคัญของCharter ฉบับนี้ได้ให้ความสาคัญใน the heritage
professionals ซึ่ งมีความรับผิดชอบในการดูแลรักษา มรดกวัฒนธรรมสาหรับ คน
รุ่ นต่อไปในอนาคต และ มีการย้าว่า ‘it is our duty to hand them on
in the full richness of their authenticity’ ซึ่ งในจุดนี้เป็ นการ
เน้นย้าถึงความสาคัญของการปกปั กรักษา heritage โดยกลุ่มผูเ้ ชี่ยวชาญด้านการ
อนุรักษ์ เพื่อส่ งต่อคุณค่าและการใช้งาน(ที่ยงั สมบูรณ์)ให้คนรุ่ นต่อไปในอนาคต โดย
ชุมชนหรื อผูค้ นที่อยูร่ อบheritage ไม่ได้รวมอยูใ่ นความรับผิดชอบในการดูแลรักษา
หรื อปกป้ องheritage อีกทั้งในบางแง่มุมชุมชนเหล่านั้นอาจถูกมองในด้านลบ และ
เป็ นผูท้ าลายหรื อมีความรับผิดชอบต่อความเสี ยหายของ heritage
 ในthe Venice Charter นี้เองที่คาว่า ……………………….ถูกนาเอามาใช้เป็ นครั้งแรก ใน
บริ บทนานาชาติ แต่อยางไรก็ตามการหยิบยกมาใช้กบั ไม่ได้ให้คาอธิบายทางด้านทฤษฏีหรื อหลักการใดๆในทั้ง
16 articles ใน Venice Charter(Michael s.Falser)
 ………………….ในVenice Charter ซึ่ งเน้นย้าถึงความจริ งแท้ทางกายภาพของ heritage
กลายเป็ นจุดหมายของการอนุรักษ์ในยุโรป และภายหลังรวมถึงแทบทุกประเทศในโลกที่ยอมรับVenice
Charter เป็ นหลักในการอนุรักษ์heritage โดยเฉพาะเมื่อผูเ้ ชี่ยวชาญด้านการอนุรักษ์ได้รับการศึกษา
และฝึ ก จากตะวันตก แนวคิดของ ………………… ที่ให้ความหมายทางคุณค่าของ heritage ได้ถูก
เน้นย้าออกไปอีกใน the Operational Guidelines for the Implementation of
the World Heritage Convention in 1972 ซึ่งจะเห็นว่า guidelinesนี้ได้รับ
อิทธิพลไม่มากก็นอ้ ยจาก scientific conservation trend รวมถึง the Venice
Charter โดยมีการพยายามให้ความหมายในระดับสากล หนึ่งในนั้นคือการนิยามคาว่า The
Outstanding Universal value ซึ่งเป็ นหลักการสาคัญในการให้สถานะของการเป็ น
World Heritage รวมถึงการให้criteria สาหรับในการประเมินไว้ สี่ ดา้ นคือ criteria of
design, materials, workmanship and setting.ซึ่งในการrevision of the
guidelines ในภายหลัง ควบคู่กบั การเพิม่ ขึ้นของ specializing Charters ได้มีการreexamination ในระดับ globalized รวมถึงการให้คานิยามใหม่ๆสาหรับ…………………อีก
ด้วย
 ซึ่ งประเด็นของการให้นิยาม the outstanding universal value นี้ได้
ถูกพิจารณาว่า เป็ นมุมมองสาคัญของ ‘the Authorised Heritage
Discourse’ ซึ่ ง ภายใต้วาทกรรมนี้ ได้มีการเน้นย้าที่ กายภาพและ tangible ซึ่ ง
ถูกให้นิยามและ ทาให้ถูกกฏหมาย โดยรัฐชาติ รวมถึง ‘ justifies the
prominence of expertise’ ผลที่ตามมาคือ authorized
heritage discourse ให้คุณค่า สถานะพิเศษ แก่ ผูเ้ ชี่ยวชาญ และกันคนอื่นใน
ที่น้ ีรวมถึงชุมชน คนท้องถิ่น ออกเป็ น passive visitors หรื อผูใ้ ช้งาน
 การเป็ นส่ วนหนึ่งของ the World Heritage ต้องให้ความสาคัญกับ
authenticity ซึ่ งเป็ นส่ วนสาคัญของ Outstanding universal
value ซึ่ งทาให้เกิดการแบ่งแยกระหว่าง heritage และ ชุมชน หรื อคนในชุมชน ที่
ซึ่ ง กิจกรรมทางประเพณี หรื อศาสนา ที่เกี่ยวข้องกับ heritage(เช่นการซ่อมบารุ ง
โบสถ์ เจดีย ์ วิหาร) ไม่ได้รับการอนุญาติจากผูเ้ ชี่ยวชาญเนื่องจากความกลัวว่ากิจกรรม
เหล่านั้นอาจคุกคามต่อauthenticity ของ heritage ซึ่ งทาให้ผอู้ ื่น(นอกจากผุ ้
เชี่ยวชาญ)กลายเป็ นคนนอกต่อ heritage อย่างเต็มตัว และถูกอนุญาติเพียงดู หรื อ
ศึกษาheritage หากการสัมผัสหรื อใก้ลชิดจะเป็ นสิ ทธิพิเศษของผูเ้ กี่ยวข้องหรื ออีก
นัยหนึ่ง ผูเ้ ชี่ยวชาญเท่านั้น
Burra Charter and the Aboriginal
 จากการตระหนักถึงปั ญหาของกรอบการอนุรักษ์ ผูเ้ ชี่ยวชาญด้านการอนุรักษ์ในท้องถิน
่ ได้เกิดคาถาม
ถึงความสามารถของกรอบการอนุรักษ์แบบตะวันตกในบริ บทท้องถิ่น ซึ่ งทาให้เกิดความพยายามใน
การชี้ให้เห็นถึง การไม่ครอบคลุมของกรอบการอนุรักษ์แบบนานาชาติ โดยเฉพาะ the Venice
Charter ความพยายามเหล่านี้ได้แสดงออก ผ่านการรับรองใน The Australian
ICOMOS Charter for the Conservation of places of Cultural
Significance in 1979(revised 1999) หรื อที่เรี ยกว่า The Burra
Charter โดยชี้ให้เห็นจากประสบการณ์การอนุรักษ์ใน Australia ในการทางานร่ วมกันของ
Aboriginal people on heritage conservation ใน The Burra
Charter ได้ตระหนักถึง การให้ความสาคัญของ Tangible and intangible
heritage aspects ที่สมั พันธ์กบั การใช้งานในheritage places รวมถึงการให้
ความหมายของ places นอกจากนั้นยังมีการตระหนักถึงความจาเป็ นในการพิจารณาถึง ขบวนการ
ตัดสิ นใจของกลุ่มคนหลายๆกลุ่ม โดยเฉพาะผูท้ ี่มีความสัมพันธ์กบั place ไม่วา่ คนเหล่านั้นจะเป็ น
ใครก็ตาม เช่น อาจเป็ น patrons of the corner store, workers in a
factory, community guardians of places of special value or
indigenous or European origin(The Burra Charter,1999).
The Burra charter process
Nara document
 ภายหลังจากสามสิ บปี หลังจากthe Venice Charter, the term of authenticity ได้ถูกนามา
วิเคราะห์และให้ความหมายอย่างจริ งจังใน the Nara conference และได้รับรอง The Nara
document on Authenticityในปี 1994 ซึ่ งในเอกสารฉบับนี้ได้มีเป้ าหมาย ในปัญหาของ
authenticity in relation to the World Heritage Convention และ ความหลากหลาย
ของ immaterial aspects of ‘authenticity’ ที่ซ่ ึ ง played a central role in the
Nara conferenceในพารากราฟที่13ของเอกสารฉบับนี้ ได้เน้นที่ an important paradigmatic
turn that corrected the elitist search of an all-uniting authenticity
concept and instead moved towards a global respect for cultural diversity
with increased flexibility for regional interpretations of
authenticity(Michael s.Falser). รวมถึงได้ในแสดงเอกสารฉบับนี้วา่
 All judgements about values attributed to cultural properties…may
differ from culture to culture, and even within the same culture. It is
thus not possible to base judgements of values and authenticity within
fixed criteria. On the contrary, the respect due to all cultures requires
that heritage properties must be considered and judged within the
cultural contexts to which they belong.
 นาราชาร์เตอร์ ได้แสดงนัย
ว่า local criterian
จะต้องมีการสร้างหรื อวาง
กรอบก่อน เมื่อมีการ
ตัดสิ นคุณค่าของ
heritage แนว
ทางการอนุรักษ์แบบสากล
ได้พุ่งไปยังกรอบเฉพาะ
ในแต่ละบริ บท และการ
เพิ่มบทบาทของคน
ท้องถิ่น และความ
หลากหลายของชุมชน ใน
การปกปั กรักษา
Naiku shrine อยูใ่ นอิเสะทุกๆยีส่ ิ บปี จะมีประเพณี การสร้างใหม่ใน heritage
พื้นที่เดิมโดยสร้างในรู ปแบบเดิม ทาให้ศาลเจ้าเก่าแห่งนี้ถูกรักษาไว้ในสภาพ
เดิมมากว่า1300ปี
 ในปี 2003 มีการร่ างประกาศเฉพาะบริ บท สาหรับ Asian historic districts ภายใต้ชื่อว่า the Hoi
An declaration on Conservation of Historic Districts of Asia ซึ่งมีให้
รายละเอียดถึง ผูอ้ าศัยและผูใ้ ช้งาน ใน ย่านประวัติศาสตร์ ว่าเป็ น ผูเ้ ป็ นกุญแจหลักในความพยายามในการอนุรักษ์
บทบาทของเขาเหล่านั้นจะต้องถูกรวมเข้าไปในการวางแผน การปฏิบตั ิ และ the review phases ของ
ขบวนการอนุรักษ์ อีกทั้ง ควรมีการสนับสนุนเจ้าของและผูใ้ ช้ยา่ นประวัติศาสตร์ ในการใช้ความรู ้ทางด้านประเพณี
และingenuity สาหรับการให้ความต่อเนื่องในการดูแลรักษาของอาคาร และย่านประวัติศาสตร์ รวมถึงใน
declaration ฉบับนี้ได้เน้นย้าถึงการให้ความร่ วมมือของอาสาสมัคร และ proactive
participants of inhabitants รวมถึงองการความร่ วมมือของรัฐบาล จะต้องได้รับการส่ งเสริ มและ
สนับสนุน
 ในเวลาเดียวกัน the Hoi An Protocal for Best Conservation Practice in Aisa
ซึ่งถูกร่ างโดย UNESCO ใน November 2003 ได้ตระหนักว่าในเอเชีย การอนุรักษ์มรดกวัฒนธรรม
จะต้องมีการต่อรองการแก้ปัญหา รวมถึงมีการรวมกันระหว่างคุณค่าที่แตกต่างของแต่ละกลุ่มผูม้ ีส่วนได้เสี ย ดังนั้น
จึงมีความจาเป็ นที่จะต้องมี regional protocals เพื่อที่จะให้เกิดความแน่ใจถึงการทางานการอนุรักษ์ให้
ได้ผลดีที่สุด ซึ่งภายใต้แนวคิดนี้ local ICOMOS offices ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ได้มีการร่ าง
Charters ของตนเอง เพื่อที่จะรองรับการอนุรักษ์ที่เหมาะสมกับบริ บทของพื้นที่
 หนึ่งในCharter ที่สะท้อนถึงการให้ความสาคัญต่อการมีส่วนร่ วมของท้องถิ่นคือthe ICOMOS
Charter for the Interpretation and Presentation of Cultural
Heritage sites หรื อ Ename Charter ซึ่งได้ถูกนาเสนอที่ the ICOMOS
General Assembly for ratification in 2008 ในชาร์เตอร์ฉบับนี้ได้สะท้อน ถึงการให้
ความระมัดระวังในระดับสู ง ของ ผูเ้ ชี่ยวชาญด้านมรดก ในการทางานร่ วมกับ public and local
communities รวมถึงการยอมรับ ในคุณค่าของ tangible and intangible values of
cultural heritage sites และให้การสนับสนุน public understanding of, and
participation in, ongoing conservation efforts, and encourage
‘…inclusiveness in the interpretation of cultural heritage sites, by
facilitating the involvement of stakeholders and associated
communities in the development and implementation of
interpretive programmes…’ ในCharter ฉบับนี้ได้แสดงให้เห็นถึงตัวอย่าง ของการ
ตระหนักของผูเ้ ชี่ยวชาญด้านมรดกทัว่ โลกที่สนับสนุนthe public ในการเข้าเป็ นส่ วนหนึ่งในการปกปก
รักษามรดกทางวัฒนธรรมของตนเอง รวมถึงการให้ความสนใจในการสื่ อสารกับthe public เพื่อที่จะ
สร้างความเข้าใจซึ่งกันและกัน มีการตระหนักถึงการอนุรักษ์ intangibleว่าเป็ นส่ วนหนึ่งของ
heritage รวมถึงการตระหนักคุณค่าท้องถิ่น และความสาคัญของheritage ก็ถูกรวมอยูด่ ว้ ย
 การอนุรักษ์ในระดับนานาชาติขณะนี้ จึงหันเหความสนใจเข้าสู่ ระดับท้องถิ่น ซึ่ งแสดงให้เห็นจากการให้
โปรแกรมการฝึ ก และสนับสนุน ในช่วงหลายๆปี ที่ผา่ นมานี้ โดย สถาบัน และองค์การระดับนานาชาติ
และในระดับ ภาค เช่น UNESCO, ICCROM รวมถึง the Getty Conservation
Institute and SEAMEO-SPAFA เร็ วๆนี้ UNESCO ได้ให้รางวัล the
Cultural Heritage Conservation Award แก่วดั ปงสนุก ในจังหวัดลาปางของ
ประเทศไทย สาหรับความสาเร็ จในการอนุรักษ์โดยผ่านความร่ วมมือแบบ community-based
conservation และ the Living Heritage Sites Program(LHSP)ซึ่ งมี
การจัดการโดย ICCROM collaborating with SPAFA under the
framework of UNESCO World Heritage program โดยเน้นบนมิติของ
ความมีชีวิตของการอนุรักษ์มรดกในเอเชีย ซึ่ งมีศึกษามาโดยตลอดสองทศวรรตที่ผา่ น ซึ่ งมีpilot
studies in Asian countries ประกอบด้วย Luang Prabang in Lao
PDR, Ta Nei in Ankor, Phrae in Thailand, and the Mekong
River Project (including five countries in Southeast Asia).
Download