0 เทคนิคการสอน โดย รศ. ดร. ทิศนา แขมมณี 1 ทฤษฎีการเรียนรู้ / การสอน (THEORY) ข้ อความรู้ ที่พรรณนา/ อธิบาย/ ทานาย ปรากฏการณ์ ต่างๆ ทางการเรี ยนรู้ / การสอนที่ได้ รับการพิสูจน์ ทดสอบ และการยอมรับว่ าเชื่อถือได้ ทฤษฎีการเรียนรู้ / การสอน มักประกอบด้ วยหลักการย่ อยๆ หลายหลักการ ทฤษฎีการเรียนรู้ บางทฤษฎีเสนอทฤษฎีการสอนควบคู่ไปด้ วย ทฤษฎีการสอนส่ วนใหญ่ แปลงมาจากทฤษฎีการเรียนรู้ เพือ่ นาไปใช้ เป็ น หลักในการจัดการเรียนการสอน 2 ตัวอย่ าง ทฤษฎีการเรียนรู้ / การสอน พฤติกรรมนิยม (Behaviorism) พุทธินิยม (Cognitivism) มนุษย์ นิยม (Humanism) กระบวนการทางสมองในการประมวลข้ อมูล (Information Processing Theory) พหุปัญญา (Theory of Multiple Intelligences) การสร้ างความรู้ (Constructivism) การสร้ างสรรค์ ชิ้นงาน (Constructivism) การเรียนรู้แบบร่ วมมือ (Cooperative Learning) การทางานของสมอง (Brain Theories) ฯลฯ 3 หลักการเรียนรู้ – การสอน (PRINCIPLE) ข้ อความรู้ ย่อยๆ ทีพ ่ รรณนา/ อธิบาย/ ทานาย ปรากฏการณ์ ต่างๆ ทางการเรียนรู้ / การสอน ทีไ่ ด้ รับการพิสูจน์ ทดสอบ และการยอมรับ ว่ าเชื่อถือได้ หลักการหรือ ข้ อความรู้ ย่อยๆ หลายประการ อาจนาไปสู่ การสร้ าง ทฤษฎีได้ หลักการย่ อยๆ อาจนิรนัยมาจากทฤษฎีได้ 4 ตัวอย่ างหลักการเรียนรู้ – การสอน หลักการเรียนรู้ -การสอน - จากง่ ายไปยาก - จากรู ปธรรมไปนามธรรม - จากประสบการณ์ ตรง - โดยการฝึ กปฏิบัติ - โดยให้ เชื่อมโยงกับชีวติ จริง - โดยให้ เชื่อมโยงกับประสบการณ์ เดิม - โดยให้ สอดคล้ องกับความสนใจ และ ความต้ องการของผู้เรียน - โดยเป็ นแบบอย่ าง - แบบเน้ นตัวผู้เรียน - แบบเน้ นความรู้ ความสามารถ - แบบเน้ นประสบการณ์ - แบบเน้ นปัญหา - แบบเน้ นทักษะกระบวนการ - แบบเน้ นการเรียนรู้ ผ่านสื่ อ เทคโนโลยี ฯลฯ 5 วิธีสอน (METHOD) วิธีการต่ างๆ ทีน่ ามาใช้ ในการสอน เพือ่ ช่ วยให้ ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ วิธีแต่ ละวิธีมี วัตถุประสงค์ และลักษณะเด่ นเป็ นเอกลักษณ์ แตกต่ างกัน ลักษณะเด่ นของแต่ ละวิธี ก็คอื ลักษณะเฉพาะที่ขาดไม่ ได้ ของวิธีน้ัน หากขาดไป ก็จะทาให้ ไม่ ใช่ วธิ ีน้ันอีกต่ อไป เช่ น ลักษณะเฉพาะของวิธีสอนแบบสาธิตก็คอื การ แสดง/การทาให้ ดู หากไม่ มีการทาให้ ดู ก็จะไม่ ใช่ วธิ ีสอนแบบสาธิต วิธีแต่ ละวิธี มีวตั ถุประสงค์ เฉพาะ คือ เป็ นวิธีทจี่ ะช่ วยให้ เกิดผลเฉพาะบางประการ จากการใช้ วธิ ีน้ัน เช่ น วัตถุประสงค์ ของวิธีสอนแบบสาธิต ก็คอื การช่ วยให้ เห็นการ ปฏิบัติจริง ทาให้ เห็นภาพ ทาให้ เกิดความเข้ าใจ และจาเรื่องทีเ่ ห็นจากการสาธิตได้ ดี การเลือกใช้ วธิ ีสอน จึงต้ องพิจารณาว่ า วิธีน้ันมีวตั ถุประสงค์ คือจะช่ วยให้ เกิดผล อะไร สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ ในการสอนบทเรียนทีต่ ้ องการหรือไม่ 6 วิธีสอนแบบต่ างๆ บรรยาย (Lecture) สาธิต (Demonstration) ทัศนศึกษา (Field trip) อภิปรายกลุ่มย่ อย (Small Group Discussion) ละคร (Dramatization) บทบาทสมมติ (Role Playing) กรณีตัวอย่ าง (Case) เกม (Game) สถานการณ์ จาลอง (Simulation) นิรนัย (Deduction) อุปนัย (Induction) ศูนย์ การเรียน (Learning Center) บทเรียนแบบโปรแกรม (Programmed Instruction) ฯลฯ 7 วิธีสอนและวัตถุประสงค์ ช่วยให้ผเู ้ รี ยน ฝึ กกำรเอำชนะ จำนวนมำกเรี ยนรู ้ อุปสรรคอย่ำง เนื้อหำสำระจำนวน เห็นกำร สนุกสนำน และ มำกพร้อมกันใน ปฏิบตั ิจริ ง เวลำจำกัด ท้ำทำย ประจักษ์ชดั ด้วยตำ เห็นผลของกำร คิด กำรกระทำ ประจักษ์ชดั เรี ยนรู ้ควำมเป็ นจริ งของ สถำนกำรณ์ที่มีควำม ซับซ้อน เรี ยนรู้กำรเอำใจ เขำมำใส่ ใจเรำ ช่วยให้เข้ำใจ ควำมรู้สึกและพฤติกรรม ของตนและของผูอ้ ื่น เกม สถานการณ์ ช่วยให้เรื่ องรำว/ สำระมีชีวติ เห็น ประจักษ์ชดั ด้วยตำ ฝึ กฝนกำรเผชิญและ แก้ปัญหำ ฝึ กกำรวิเครำะห์ และเรี ยนรู้ควำมคิด และมุมมอง เรี ยนรู ้เนื้อหำ ของผูอ้ ื่น สำระต่ำงๆ ด้วยตนเอง โดยกำร ผลัดเปลี่ยนกัน เข้ำศึกษำค้นคว้ำตำม ศูนย์กำรเรี ยนต่ำงๆ จาลอง วิธีสอน อภิปราย กลุ่มย่อย ผูเ้ รี ยนรำยบุคคล เรี ยนรู ้ตำม ควำมสำมำรถ โดย อำศัยสื่ อบทเรี ยนที่ ได้รับกำรออกแบบให้ ผูเ้ รี ยนสำมำรถเรี ยนรู ้ และตรวจสอบผลกำร เรี ยนรู ้ดว้ ยตนเอง เรี ยนรู ้จำกกำรมี ส่ วนร่ วมอย่ำงทัว่ ถึง แลกเปลี่ยนควำมรู ้ และประสบกำรณ์ เรี ยนรู ้หลักกำรและ นำหลักกำรไปใช้ เรี ยนรู ้จำกตัวอย่ำง เหตุกำรณ์ยอ่ ยๆ และจับ หลักกำรของตัวอย่ำง เหล่ำนั้น เรี ยนรู ้จำก ประสบกำรณ์ตรง จำกสภำพจริ ง 8 รู ปแบบการสอน/รู ปแบบการเรียนการสอน รูปแบบการสอน/รูปแบบการเรียนการสอน (Teaching/Instructional Model) คือ แบบแผนการดาเนินการสอนที่ได้ รับการจัดเป็ นระบบ อย่ างสั มพันธ์ สอดคล้องกับทฤษฎี/ หลักการเรียนรู้หรือการสอนทีร่ ูปแบบนั้นยึดถือ และได้ รับการพิสูจน์ ทดสอบ ว่ ามี ประสิ ทธิภาพ สามารถช่ วยให้ ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตามจุดมุ่งหมายเฉพาะของรูปแบบนั้น แบบแผนการดาเนินการสอนดังกล่าว ประกอบด้ วย ทฤษฎี/หลักการทีร่ ูปแบบนั้น ยึดถือ และกระบวนการสอนทีม่ ีลกั ษณะเฉพาะ อันจะนาผู้เรียนไปสู่ จุดมุ่งหมายเฉพาะที่ รูปแบบนั้นกาหนด ซึ่งผู้สอนสามารถนาไปใช้ เป็ นแบบแผนหรือแบบอย่ างในการจัดและ ดาเนินการสอนอืน่ ๆ ทีม่ ีจุดมุ่งหมายเฉพาะเช่ นเดียวกันได้ การนารูปแบบการเรียนการสอนไปใช้ คือการนากระบวนการหรือขั้นตอนที่ รูปแบบฯ กาหนด ไปจัดเป็ นกิจกรรมการเรียนรู้ในเรื่องทีส่ อน เสริมด้ วยวิธีสอน และ เทคนิคการสอนต่ างๆ ทีจ่ ะช่ วยให้ กระบวนการเรียนรู้มีความสมบูรณ์ และเกิด ประสิ ทธิภาพสู งสุ ด 9 รู ปแบบการสอนต่ างๆ รู ปแบบทีเ่ น้ นด้ านพุทธพิสัย • Concept Attainment Model • Gagne’ Model • Memory Model รู ปแบบทีเ่ น้ นด้ านจิตพิสัย • Krathwohl’s Model • Jurisprudentail Model • Role Playing Model รูปแบบทีเ่ น้ นทักษะกระบวนการ • • • • Group Investigation Model Inductive Teaching Model Creative Thinking Model Torrance’s Future Problem-Solving Model รู ปแบบทีเ่ น้ นด้ านทักษะพิสัย • Sympson’s Model • Harrow’s Model • Dave’s Model รูปแบบทีเ่ น้ นบูรณาการ • • • • Direct Instruction Model Storyline Model 4 MAT Model Cooperative Learning Model 10 เทคนิคการสอน กลวิธีต่างๆ ที่ใช้ เสริมขั้นตอนการสอน วิธีสอน หรือ การดาเนินการใดๆ เพือ่ ช่ วยให้ การสอนมีคุณภาพ และประสิ ทธิภาพมากขึน้ ตัวอย่ าง เช่ น ในการบรรยาย ผู้สอนอาจใช้ เทคนิค การยกตัวอย่ าง การ ใช้ คาถาม การใช้ สื่อประกอบ เพือ่ ช่ วยให้ การบรรยายมีคุณภาพ และ ประสิ ทธิภาพมากขึน้ 11 เทคนิคการสอนต่ างๆ การใช้ ผงั กราฟฟิ ค (Graphic Organizer) การใช้ คาถาม (Questioning) การจัดกลุ่ม (Grouping) การสร้ างแรงจูงใจ (Motivation) ฯลฯ 12 ภาษาไทย : การเขียนเรียงความ ทฤษฎี / หลัก / แนวคิด การเรียนรู้แบบนิรนัย แนว / ยุทธศาสตร์ การสอน ให้ หลักการเขียนเรียงความแก่ผู้เรียน แล้วให้ ฝึ กเขียนให้ ได้ ตามหลัก กระบวนการเรียนการสอน ขั้นตอนการเรียนการสอน 1. นาเข้ าสู่ บทเรียน 2. ครูให้ หลักการเขียนเรียงความทีด่ แี ก่ผู้เรียน 3. ผู้เรียนเลือกหัวข้ อการเขียน 4. ผู้เรียนฝึ กเขียนตามหลัก 5. ครูให้ ข้อติชม และให้ ข้อเสนอแนะ 6. ผู้เรียนปรับปรุงงานการเขียนตาม ข้ อเสนอแนะ 13 ภาษาไทย : การเขียนเรียงความ ทฤษฎี / หลัก / แนวคิด การเรียนรู้แบบนิรนัย แนว / ยุทธศาสตร์ การสอน ให้ หลักการเขียนเรียงความแก่ผู้เรียน แล้วให้ ฝึ กเขียนให้ ได้ ตามหลัก กระบวนการเรียนการสอน ขั้นตอนการเรียนการสอน 1. นาเข้ าสู่ บทเรียน 2. ครูให้ หลักการเขียนเรียงความทีด่ แี ก่ผู้เรียน 3. ผู้เรียนเลือกหัวข้ อการเขียน 4. ผู้เรียนฝึ กเขียนตามหลัก 5. ครูให้ ข้อติชม และให้ ข้อเสนอแนะ 6. ผู้เรียนปรับปรุงงานการเขียนตาม ข้ อเสนอแนะ วิธีสอน (โดยใช้ การบรรยาย) วิธีสอน (โดยการฝึ กปฏิบัต)ิ เทคนิคการสอน (ให้ ข้อติชมแบบแซนด์ วิช) ทฤษฎี / หลัก / แนวคิด การเรียนรู้แบบอุปนัย แนว / ยุทธศาสตร์ การสอน ให้ ตัวอย่ างเรียงความทีด่ ี และไม่ ดีแก่ผ้เู รียน ให้ ผู้เรียนวิเคราะห์ และสรุปเป็ นหลักการเขียน เรียงความ และฝึ กปฏิบัติการเขียน โดยใช้ หลักนั้น กระบวนการเรียนการสอน ขั้นตอนการเรียนการสอน 1. นาเข้ าสู่ บทเรียน 2. ครู ให้ ตวั อย่ างเรียงความแก่ ผ้ เู รียนทั้งที่ดี และไม่ ดี 3. ให้ ผ้ เู รียนแบ่ งกลุ่ม ช่ วยกันวิเคราะห์ ว่า เรียงความที่ตน ได้ รับมีจุดดี จุดด้ อย อย่ างไร 4. ผู้เรียนนาเสนอผลการวิเคราะห์ และสรุ ปหลักการเขียน ร่ วมกัน 5. ผู้เรียนเลือกเรื่องที่จะเขียน และฝึ กเขียน ให้ ได้ตาม หลักการที่สรุ ป 6. ครู ตรวจผลงาน ให้ ข้อติชม และข้ อเสนอแนะ 7. ผู้เรียนปรับปรุ งงานการเขียนตาม ข้ อเสนอแนะ 14 ทฤษฎี / หลัก / แนวคิด การเรียนรู้แบบอุปนัย แนว / ยุทธศาสตร์ การสอน ให้ ตัวอย่ างเรียงความทีด่ ี และไม่ ดีแก่ผ้เู รียน ให้ ผู้เรียนวิเคราะห์ และสรุปเป็ นหลักการเขียน เรียงความ และฝึ กปฏิบัติการเขียน โดยใช้ หลักนั้น กระบวนการเรียนการสอน ขั้นตอนการเรียนการสอน วิธีสอน (อภิปรายกลุ่มย่ อย) เทคนิค (ให้ ทารูบริคส์ ประเมินผลงานการเขียน) 1. นาเข้ าสู่ บทเรียน 2. ครู ให้ ตวั อย่ างเรียงความแก่ ผ้ เู รียนทั้งที่ดี และไม่ ดี 3. ให้ ผ้ เู รียนแบ่ งกลุ่ม ช่ วยกันวิเคราะห์ ว่า เรียงความที่ตน ได้ รับมีจุดดี จุดด้ อย อย่ างไร 4. ผู้เรียนนาเสนอผลการวิเคราะห์ และสรุ ปหลักการเขียน ร่ วมกัน 5. ผู้เรียนเลือกเรื่องที่จะเขียน และฝึ กเขียน ให้ ได้ตาม หลักการที่สรุ ป 6. ครู ตรวจผลงาน ให้ ข้อติชม และข้ อเสนอแนะ 7. ผู้เรียนปรับปรุ งงานการเขียนตาม ข้ อเสนอแนะ 15 16 ทฤษฎี / หลัก / แนวคิด การเรียนรู้แบบสร้ างสรรค์ คิดออกนอกกรอบ เพือ่ ไม่ ให้ ความคิดถูกจากัดอยู่ในกรอบเดิม แนว / ยุทธศาสตร์ การสอน ใช้ รูปแบบการสอน SYNNECTICS ซึ่งเป็ นรูปแบบ การสอนเขียนอย่ างสร้ างสรรค์ ที่ใช้ เทคนิคให้ ผู้เรียน คิดออกจากกรอบเดิมๆ กระบวนการเรียนการสอน ขั้นตอนการเรียนการสอน 1.การให้ ผู้เรียนทางานเขียนตามปกติ 2.การสร้ างอุปมาแบบตรง (Direct analogy) 3.การสร้ างอุปมาบุคคล (Personal analogy) 4.การสร้ างอุปมาคาคู่ขัดแย้ ง (Compressed conflict) 5.การอธิบายความหมายของคาคู่ขดั แย้ ง 6.การนาความคิดมาสร้ างสรรค์งาน รูปแบบการเรียนการสอน (Synnectics Model) 17 เทคนิคการสอนต่ างๆ การใช้ ผงั กราฟฟิ ค (Graphic Organizer) การใช้ คาถาม (Questioning) การจัดกลุ่ม (Grouping) การสร้ างแรงจูงใจ (Motivation) ฯลฯ 18 CO-OP LEARNING TECHNIQUES THINK-PAIR-SHARE : คิด-จับคู่ –แลกเปลีย่ น FORMULATE-SHARE-LISTEN-CREATE: คิดหำคำตอบเป็ นรำยบุคคล เล่ำให้เพื่อนฟัง เพื่อนรับฟัง อภิปรำยหำคำตอบร่ วมกัน SAY AND SWITCH คนที่1 แสดงควำมคิดเห็น คนที่2 รับฟัง แล้วตอบสนองต่อควำมคิดเห็นของ คนที่1 ต่อไปจึงแสดงควำม คิดเห็นของตน คนที่1 รับฟัง แล้วตอบสนองต่อควำมคิดเห็นของ คนที่2 ต่อไปจึงแสดงควำม คิดเห็นของตน 19 CO-OP LEARNING TECHNIQUES ROUND TABLE (ต่ อ) คนที่1 เริ่ มเขียนให้ขอ้ มูล หรื อแสดงควำมคิดเห็นในกระดำษ แล้วส่ งให้ คนที่2 ด้ำนซ้ำยมือ คนที่2 เขียนต่อจำกคนที่ 1 ใช้ปำกกำสี อื่น แล้วส่ งต่อไปเรื่ อยๆ จนครบทุกคน ROUND ROBIN เหมือนกับ ROUND TABLE แต่ ใช้ การพูดแทนการเขียน คนที่ 1 นำเสนอข้อมูล/ ควำมคิดเห็น ด้วยวำจำ แก่ คนที่ 2 ซึ่งอยูถ่ ดั ไป คนที่ 2 แสดงควำมเห็น/ ให้ขอ้ มูล ต่อจำกคนที่ 1 แต่คนที่ 3 ซึ่งอยูถ่ ดั ไป ทำต่อกัน ไปเรื่ อยๆ จนครบทุกคน หรื อ เมื่อเห็นว่ำ ได้ขอ้ มูลเพียงพอ 20 CO-OP LEARNING TECHNIQUES (ต่ อ) CORNERS - ครู กำหนดประเด็นอภิปรำยที่แตกต่ำงกันในหัวข้อเรื่ องเดียวกัน ติดไว้ที่มุมต่ำงๆ ควำมเหมำะสม โดยอำจมีคำถำมเสริ มเพื่อช่วยให้ผเู ้ รี ยนคิดค้นได้รวดเร็ วยิง่ ขึ้น - ผูเ้ รี ยนเลือกเข้ำมุมอภิปรำยที่ตนสนใจ - ผูเ้ รี ยนจับคู่อภิปรำย และร่ วมกันตอบคำถำมเสริ ม ซึ่งครู จดั ไว้ให้ตำมมุม - ครู สุ่มสมำชิกจำกมุมต่ำงๆ มำรำยงำนผล GRAFFITI - แบ่งกลุ่มย่อย - สมำชิกกลุ่มย่อยได้รับกระดำษ และปำกกำเมจิก - ครู ให้คำถำมที่แตกต่ำงกันแต่ละกลุ่ม - สมำชิกกลุ่มย่อยช่วยกันเขียนคำตอบ แล้วส่ งกระดำษคำตอบให้กลุ่มอื่นทำต่อ เวียนไปจนครบทุกกลุ่ม 21 CO-OP LEARNING TECHNIQUES JIGSAW FISH BOWL - COOPERATIVE GROUP (HOME GROUP) แจกงำนและสื่ ออุปกรณ์ - EXPERT GROUP ศึกษำ - COOPERATIVE GROUP (HOME GROUP) สอนและตรวจสอบ (ต่ อ) - จัดกลุ่มให้นงั่ เป็ นวงกลม 2 วงซ้อน จำนวนสมำชิกเท่ำกัน - ให้คนวงนอกจับคู่สงั เกตคนวงใน - ให้วงในอภิปรำยแสดงควำมคิดเห็น คนวงนอก สังเกตและบันทึก ควำมคิดเห็นและ พฤติกรรมของคู่ที่ตนสังเกต - เมื่อวงในอภิปรำยเสร็ จ ให้เปลี่ยนที่ให้คนวงนอกเข้ำมำนัง่ แทน - คนวงนอกที่เข้ำมำเป็ นคนวงใน ให้ขอ้ สังเกตและแสดงควำมคิดเห็นต่อกำรอภิปรำย ของคนที่ตนสังเกต - ต่อไป กลุ่มวงในอภิปรำย โดยกลุ่มวงนอกสังเกต - เมื่อกลุ่มวงในอภิปรำยเสร็ จ กลุ่มวงนอกรำยงำนผลกำรสังเกต และแสดงควำมคิดเห็น 22 เทคนิคการจัดกลุ่มอภิปราย แบบสั มมนา (seminar) แบบซิมโปเซียม (symposium) แบบปฏิบัติ (workshop) แบบนอมินัล (nominal group) แบบปุจฉา-วิสัชนา (questioning-answering) แบบเป็ นคณะ (panel) แบบกันเอง (informal) แบบจับเข่ าคุยกัน (knee group) แบบโต๊ ะกลม (round table) แบบระดมสมอง (brainstorming) แบบซินดิเคท (syndicate) แบบฟิ ลลิป 66 หรือ กลุ่มหึ่ง (Phillip 66 or Buzz group) แบบเวียนรอบวง (circular response) แบบกลุ่มซ้ อน/ ปลาทองในอ่ างแก้ ว (fishbowl) ฯลฯ 23 เทคนิคการรวบรวมข้ อมูล เทคนิค CARD SORTING – ให้ ข้อมูล – แจก CARD ให้ แต่ ละคนเขียนว่ า เห็นด้ วย ไม่ เห็นด้ วยกับข้ อมูลเพราะอะไร – รวบรวม CARD – อ่าน CARD – จัดกลุ่ม CARD ที่มีความเห็นคล้ายกันไว้ ด้วยกัน แล้วประมวลเหตุผล 24 เทคนิคการรวบรวมข้ อมูล (ต่ อ) เทคนิค POST BOX – ตั้งกล่องเรียงไว้ ตามจานวนคาถาม – ให้ คาถาม แจกกระดาษจานวนแผ่ นเท่ าจานวนคาถาม – แต่ ละคนเขียนตอบคาถามในกระดาษ 1 แผ่ น ต่ อคาถาม – นากระดาษคาตอบไปใส่ กล่องประจาคาถามนั้น – มอบกล่องคาถาม-คาตอบ ให้ ผู้เรียนแต่ ละกลุ่มไปช่ วยกันพิจารณาแล้ว สรุปคาตอบ เทคนิคสั ญญาณเงียบ (THE QUIET SIGNAL) Hands up! (stop talking, stop doing) Look Listen Signal others ฯลฯ 25 ผังกราฟิ ก (GRAPHIC ORGANIZER) ผังกราฟิ ก เป็ นแผนผังที่ใช้ เส้ น เครื่องหมาย สั ญญาลักษณ์ รู ปทรงเรขาคณิต ภาพ สี ตัวเลข อักษร คา ข้ อความ แสดงความเชื่อมโยงของสาระ/ความคิด ต่ างๆ ที่ต้องการสื่ อ ผังกราฟิ ก เป็ นเครื่องมือทางการคิด ช่ วยทาให้ ความคิดที่เป็ นนามธรรมอยู่ใน สมอง สามารถแสดงออกมาให้ เห็นเป็ นรู ปธรรม และเกิดความชัดเจนขึน้ ผังกราฟิ ก เป็ นเครื่องมือที่ช่วยประมวลและจัดข้ อมูล/ความคิดให้ เป็ นระบบ ระเบียบ สามารถอธิบายให้ ผู้อนื่ เข้ าใจได้ ง่าย 26 27 ผังกราฟิ กแบบต่ างๆ ผังความคิด (mind map) ผังมโนทัศน์ (concept map) ผังแมงมุม (spider map) ผังก้างปลา (fishbone map) ผังลาดับขั้นตอน (sequential map) ผังวัฏจักร (circle/ cyclical map) ผังวงกลมซ้ อน หรือ เว็นน์ ไดอะแกรม(Venn diagram) ผังวีไดอะแกรม (Vee diagram) ผังพล็อตไดอะแกรม (Plot diagram) ฯลฯ ผังความคิด (MIND MAP) ผังแสดงความสั มพันธ์ ของสาระหรือความคิดต่ างๆ ให้ เห็นเป็ นโครงสร้ างในภาพรวม โดยใช้ เส้ น ลูกศร เครื่องหมาย สั ญลักษณ์ รู ปทรงเรขาคณิต ภาพ สี คา ข้ อความ แสดงความหมาย และความเชื่อมโยงของความคิด/ สาระนั้นๆ ตัวอย่ างผังความคิด 28 29 ผังมโนทัศน์ (CONCEPT MAP) ผังแสดงความสั มพันธ์ ระหว่ างมโนทัศน์ หรือความคิดรวบยอดใหญ่ และมโนทัศน์ ย่อยๆ อย่างเป็ นลาดับขั้น โดยใช้ เส้ นเชื่อมโยง ตัวอย่ างมโนทัศน์ สั ตว์ (animal) สั ตว์เลือ้ ยคลาน (reptile) สุ นัข สั ตว์ เลีย้ งลูกด้ วยนม (mammal) แมลง (insect) (dog) หมี (bear) ปลาวาฬ หมีดา หมีโพลา หมึกริชลี่ (bear) (polar bear) แผนภาพผังมโนทัศน์ เรื่องสั ตว์ (whale) (grizzly bear) 30 ผังแมงมุม (SPIDER MAP) ผังแสดงมโนทัศน์ ซึ่งมีลกั ษณะคล้ ายใยแมงมุม ตัวอย่ างผังแมงมุม ความยาว ปริมาตร การชั่ง การวัด เงิน ทิศ แผนผัง และเวลา การตวง รู ป รู ปทรง พืน้ ที่ แผนภาพผังแมงมุมเรื่องการวัด 31 ผังก้างปลา (FISHBONE MAP) ผังแสดงปัญหา และสาเหตุทที่ าให้ เกิดปัญหา ทั้งสาเหตุหลักและสาเหตุย่อย มีลกั ษณะ คล้ายหัวปลาและก้างปลา ตัวอย่ างผังก้ างปลา พ่อ-แม่ ยากจน ระเบียบของโรงเรียน ตามใจลูก สอนลูกไม่ ได้ ระเบียบมากเกินไป หยุมหยิม ระเบียบล้าสมัย ไม่ มเี วลาดูแล ถูกเพือ่ นยุ ตามเพือ่ น นักเรียน อยู่กบั คนอืน่ ไม่ ลงโทษจริงๆ ตักเตือนไม่ สมา่ เสมอ ธรรมชาติของเด็กย่ างเข้ าวัยรุ่น บางคนเข้ มงวดบางคนละเลย ไม่ เข้ มงวด มีความสุ ขทีท่ าผิด ครู แผนภาพผังก้ างปลาหาสาเหตุของการประพฤติผดิ ระเบียบวินัยของนักเรียน นักเรียนประพฤติผิด ระเบียบวินัย 32 ผังวัฏจักร (CIRCLE/ CYCLICAL MAP) ผังแสดงลาดับขั้นตอนที่ต่อเนื่องกันเป็ นวงจร ไม่ มที สี่ ิ้นสุ ด ตัวอย่ างผังวัฏจักร ประสบการณ์ รู ปธรรม ความคิด/หลักการที่จะนาไป ทดสอบ/ ใช้ ในสถานการณ์ ใหม่ การสั งเกต การสะท้ อน การคิดการสื บสอบ การสร้ างแนวคิด มโนทัศน์ หรือหลักการ แผนภาพผังวัฏจักรการเรียนรู้แบบเน้ นประสบการณ์ (Experiential Learning Cycle) ของจอห์ นสั นและจอห์ นสั น และปรับโดย แอเร็นด์ (Arends, 1989:56) 33 ผังวงกลมซ้ อน (VENN DIAGRAM) ผังวงกลม 2 วงหรือมากกว่ าทีม่ สี ่ วนหนึ่งซ้ อนทับกันอยู่ ทาให้ เห็นส่ วนทีเ่ ป็ นความ เหมือน และความแตกต่ างกัน ตัวอย่ างผังวงกลมซ้ อน ด้ านความรู้ (Cognitive) ด้ านเจตคติ (Affective) ด้ านทักษะ (Psychomotor) แผนภาพผังแสดงความสั มพันธ์ ของวัตถุประสงค์ 3 ด้ าน ของแบรี่และคิง (Barry & King, 1992: 15) 34 ผังวีไดอะแกรม (VEE DIAGRAM) ผังรู ปตัว V แสดงความสั มพันธ์ ระหว่ างทฤษฎีกบั วิธีการ ในการศึกษาความรู้ ทางวิทยาศาสตร์ ตัวอย่ างผังวีเว็นน์ ไดอะแกรม ความคิด วิธีการที่ทาให้ ได้ มาซึ่งความรู้ (Conceptual) ทฤษฎี: (Theory) (Methodological) คาถามสาคัญ (Focus Questions) ข้ อความรู้ที่ได้ : (Knowledge Claims) หลักการ การแปลงข้ อมูลหรือการจัดกระทาข้ อมูล มโนทัศน์ การบันทึกข้ อมูล (Principle) (Transformation) (Concepts) (Records) เหตุการณ์ และ/หรือวัตถุ (Events/ Objects) แผนภาพโครงสร้ างของแผนผังรู ปตัววี ของโกวิน (Novok and Gowin, 1984: 3) ผังพล็อตไดอะแกรม (PLOT DIAGRAM) ผังแสดงการดาเนินเรื่อง จากการเริ่มต้ น ไปสู่ จุดยอด (CLIMAX) ของเรื่อง และ คลีค่ ลายไปสู่ บทสรุ ปของเรื่อง เป็ นผังทีช่ ่ วยในการอ่ าน ตัวอย่ างผังพล็อตไดอะแกรม จุดยอด บทนา บทสรุป แผนภาพผังพล็อตไดอะแกรม (Plot Diagram) 35 36 เทคนิคการนาเสนอข้ อมูล การนาเสนอข้ อมูลในรู ปตาราง การนาเสนอข้ อมูลในรู ปแผนภูมิภาพ การนาเสนอข้ อมูลในรู ปแผนภูมิวงกลม การนาเสนอข้ อมูลในรู ปแผนภูมิแท่ ง การนาเสนอข้ อมูลในรู ปกราฟเส้ น เทคนิคหมวกคิด 6 ใบ (SIX THINKING HATS) เทคนิคในการช่ วยให้ บุคคลคิดอย่ างรอบคอบ ในหลายๆ ด้ าน หมวกขาว แทนข้ อเท็จจริง ข้ อมูล ที่เป็ นที่จริงและเป็ นที่ยอมรับ หมวกแดง แทนอารมณ์ ความรู้สึกต่ างๆ เช่ น ชอบ-ไม่ ชอบ พอใจ-ไม่ พอใจ สงสั ย กลัว หมวกดา แทนความคิดทางลบ จุดด้ วย จุดบกพร่ อง ข้ อผิดพลาด ผลเสี ย หมวกเหลือง แทนสิ่ งดี สิ่ งถูกต้ อง สิ่ งที่เป็ นประโยชน์ มีคุณค่ า สร้ างสรรค์ หมวกเขียว แทนความคิดใหม่ ๆ ที่อาจสร้ างความเจริญ ความก้ าวหน้ าและการเปลีย่ นแปลง ไปในทางที่ดขี นึ้ ความคิดที่มีความเป็ นไปได้ และเป็ นประโยชน์ หมวกนา้ เงิน แทนการดูแลควบคุมการทางานร่ วมกัน 37 38 เทคนิคการคิดไตร่ ตรอง Self Questioning ถามตนเอง Self Talk พูดกับตนเอง Learning Log – บันทึกการเรียนรู้ – บันทึกส่ วนตัว – บันทึกสาระเฉพาะ – บันทึกแลกเปลีย่ นข้ อมูล – บันทึกบันทึกสองทาง 39 เทคนิคการคิดสร้ างสรรค์ การมองต่ างมุม ต่ างมิติ (มองภำพแนวนอน-แนวตั้ง) การมองมุมตรงกันข้ าม (คิดจำก มี-ไม่มี ซ้ำย-ขวำ ดำ-ขำว) คิดเชื่อมโยงกับสิ่ งทีไ่ ม่ คุ้นเคย (หมอนหนุน-หมอนใส่ ของ) การคิดหาทางลัด (สู่ เป้ ำหมำย) การขยายขอบเขตความเป็ นไปได้ (น.ส.พ.ใช้ประดิษฐ์อะไรได้) การทาของเก่ าให้ เป็ นของใหม่ (ใช้ checklist ของ Osborn: ดัดแปลง เปลี่ยน เพิม่ /ขยำย ลด/หด ทดแทน จัดใหม่ สลับ ผสม) การมองมุมกลับ (ร้ำนอำหำรไม่มีเมนู/ ให้อำหำรฟรี / ไม่มีอำหำรขำย) 40 เทคนิคการคิดสร้ างสรรค์ การสร้ างภาพ/ จินตนาการ ที่ไม่ เคยคิด/ทา จากัดเวลาคิด ให้ คดิ เร็วๆ เทคนิค Gordon – การเปรียบเทียบสิ่ งหนึ่งกับอีกสิ่ งหนึ่ง (direct analogy) – การเปรียบเทียบตนเองกับสิ่ งอืน ่ (personal analogy) – การหาคาคู่ขัดแย้ ง (compressed conflict) – การจับคู่ตรงกันข้ าม เพือ่ หักมุม (ข่ าวดี-ข่ าวร้ าย) (ต่ อ) เทคนิคการสั งเกต SCUMPS Size สั งเกตขนาด Color สั งเกตสี Use สั งเกตการใช้ ประโยชน์ Materials สั งเกตวัสดุ Parts สั งเกตส่ วนประกอบ Shape สั งเกตรู ปร่ างสั ณฐาน 41 เทคนิคการสั งเกต BLACK BOX เอาของใส่ กล่ องดา มองไม่ เห็นสิ่ งของทีอ่ ยู่ข้างใน ให้ ยกกล่ อง แล้ วทายว่ ามีอะไรในกล่ อง 42 43 เทคนิคการใช้ คาถามกระตุ้นการคิด 44 Taxonomic Thinking: Bloom’s Taxonomy Bloom's Original Taxonomy (1956) Anderson' Revised Taxonomy (1999) Knowledge Remembering Comprehension Understanding Application Applying Analysis Analyzing Synthesis Evaluation Evaluation Creating 45 The Revised Bloom’s Taxonomy Remembering Recognize, list, describe, identify, retrieve, name ... Can the student RECALL information? Understanding Interpret, exemplify, summarise, infer, paraphrase … Can the student EXPLAIN ideas or concepts? Applying Implement, carry out, use … Can the student USE the new knowledge in another familiar situation? Analyzing Compare, attribute, organize, deconstruct … Can the student DIFFERENTIATE between constituent parts? Evaluation Check, critique, judge, hypothesise… Can the student JUSTIFY a decision or course of action? Creating Design, construct, plan, produce… Can the student GENERATE new products, ideas or ways of viewing things? 46 Taxonomic Thinking: Revised Bloom’s Taxonomy Description Remembering (Recall) Understanding (Explanation) Applying (Use) Analyzing (Differentiate) Evaluation (Justification) Creating (Generate) Recognize Describe Retrieve List Identify Name Interpret Summarise Paraphrase Exemplify Deduce Conceptualise Implement Use Trial Carry out Employ Experiment Compare Attribute Deconstruct Infer Organize Dissect Check Judge Assess Critique Hypothesise Review Design Plan Invent Construct Produce Initiate 47 Socratic Questioning Type of Questioning Generic Example Support questioning Can you give us more information to support your idea or proposal? Source questioning Could there be other more appropriate and useful sources of information? Conflict questioning How might people who do not support your idea or proposal influence the outcome? Consequence questioning What might be the consequences of your idea or proposal now and in the future? 48 Directed thinking Why YES? Why NO? Why WAIT? ? What are the good points of an idea, regardless of how you might feel about it? What are the negative aspects of the idea, regardless of how you may feel about it? What other alternatives and possibilities are there to be discovered? What ELSE? What other information might be needed before we judge an idea? Way to GO! How might you chosen idea or course of action? 49 Posing Questions at Different Levels of Sophistication (From Melvin Freestone) Level of Sophistication Illustrative examples – Posing Questions Focus on factual material Engaging in explicit tasks, making observations from direct experience, and trying things out. Where did you get that from? Why do you like….? What is happening to …? What will our design look like? What should we do …? How can we put it together? What do we need to do…? Focus on making simple connections Discovering links, ‘arguing; about simple ideas, devising whys to fine out more, carrying out orderly investigations, recording data, and discovering ways to use ideas and information. What is involved here? What can we do to investigate this…? How many different things are affected by…? What steps do we need to take? Which of these effects…? Why is … important? Can we explain how and why…? What does… think about…? Focus on searching for explanations Considering future implications, showing concern about consequences, gathering information systematically, planning investigations, and using different thinking ‘tools’ appropriately. What is needed here and why? How are we going to do this…? Which way is best to investigate…? What are the critical elements in this situation…? Can we come up with a ‘theory’ to explain…? Who has a stake or interest in…? Is it logical? What is the most appropriate plan of attack? What kind of research skills will we need to use or develop here? Focus on searching for different combinations Balancing options and possibilities, defining choices and particular courses of action, showing concern for the quality of information, seeking to control variable, identifying assumptions and exploring how particular disciplines and real-life contexts inform thinking. Are the questions sufficiently targeted for focused investigation…? What is the primary question here and how does it relate to other questions that could be asked? What is the order of priority here? Can we predict likely consequences from the information we have? What implications does that have…? Which of the possible actions is most desirable? What’s the best way to ‘brainstorm’ the questions we could ask…? Focus on exploring interrelationships Examining assumptions, dealing with complex problems and challenges, understanding and using ideas and strategies derived from ‘disciplines’ of knowledge and experience, making balanced judgements, and designing multi-faceted investigations. Which question(s) is likely to generate a comprehensive investigation? What processes will we use to generate questions? What factors and angles do our questions need to encompass? In what ways can the questions we raised be investigated…? What criteria shall we use to determine what is relevant and what is irrelevant? What is the variety of interpretations of these questions…? Dose everyone see it the same way…? 50 Scaffolding learning (From Melina Freestone) Strategic Direction What is it like? FROM How is it like it is? CONNECTION Generative Question IN WHAT WAYS CAN OUR COMMUNITY BE IMPROVED? Examining PARTS Envisaging WHOLES What’s needed to improve or develop community relations? What priorities and future directions are being considered? How could things be done differently to the benefit of all? Investigating COMPLEXITIES Extracting SIMPLICITIES In what ways might the community be improved? Who will benefit? Are there any vested interests and how do they operate? Who has the power and how do they use it? What are the views of different stakeholders? How has the community operated in the part? How does the power and people dynamics operate? How do the decision-making processes and structures work? In what ways can and do people participate in activities? Is action needed to deal with issues that are blocking progress? 51 Empathically Intelligent Thinking (From Roselyn Arnold, Melvin Freestone) Aspects Of Empathically Intelligent Thinking Generative Questions A cognitively focused In what ways could the proposed housing development affect the ecosystem in these wetlands? A feeling focused How might the feelings of families and children be affected by the loss of bird life from the wetland areas? An emotion focused In what ways are different interest groups and stakeholders using the emotions among the local community to advance their arguments? An empathy focused How could we sympathise with and support the concerns of individuals and groups within the local community? An ethically focused How should the main players for and against the proposal exercise their right to prote3st and influence the outcome? 52 Different Types of Thinking Through The Six Thinking Hats (From Edward De Bono, Melvin Freestone) Description Focus White hat FACTS Virgin white, pure facts, figures and information Red hat EMOTIONS Black hat JUDGEMENT Yellow hat OPTIMISM Green hat CREATIVITY Blue hat REFLECTIVE Features Seeing red, emotions and feelings, hunches and intuitions Devil’s advocate, negative judgement, why it will not work Sunshine, brightness and optimism, positive, constructive Fertile, cre3ative, plants springing from seeds, movement and provocation Cool and controlled, orchestration, thinking about thinking Distinguishing parts Focusing questions Proving facts Establishing authenticity Exploring feelings Contemplating emotions Being personal Escaping logic Examining fit Pursuing errors Investigating limitations Identifying faults Seeing value Considering benefits Generating proposals Seeking opportunities Exploring alternatives Challenging ideas Moving forward Postponing judgement Defining problems Monitoring processes Sequencing actions Summarising situations Overview Fact quest Emotions quest Judegement quest Optimism quest Creativity quest Reflection quest 53 The SCAMPER for Solving Problems (From Edward De Bono’s CoRT Skills) Strategy Description Some Indicative Questions S Substitute Substitute something different into the system Could you replace something with something else? C Combine Bring together and blend different components or aspects Could you combine things in different ways? A Adapt Adjust to another set of conditions or a different purpose Could you alter something to better meet your purposes? M Modify Change, magnify, reduce to enhance attributes Could you transform something to improve it? P Put to use Use for different purpose or in a different context Could you put it to another use or use it in a different way? E Eliminate Remove particular components and aspects Could you take something out to make it work better? R Reverse Change the order, sequence, layout or scheme Could you change the order of things or chain of events? 54 CAMPER Asking Critical Questions (From Michael Pohl) Strategy Some Indicative Questions C Consequences Consistency What are the consequences of believing this? How consistent is the information? A Assumptions Accuracy What assumptions have been made here? How accurate is the date/information? Meaning M Main Points What is the meaning of this? What is the main point here? P Prejudice Point of view What prejudices are being shown here? What other points of view could be expressed? E Evidence Examples What evidence is given to support the claims? What examples are given to back up claims? R Relevance Reliability How relevant are the claims? How reliable is the source, writer, information? 55 Tactics of Undertaking Tasks and Actions (From Melvin Freestone) Understand emotions Emotions are involved in all our thinking and often determine how we act. How are emotions involved here? What’s dominating the atmosphere? To what extent are your emotions involved? Are there any games being played? How can the emotions be managed? Try it out Trail and error enables you to translate ideas into actions. Backtrack to go forward When you know what you want sometimes you have to backtrack to work out how to get there. What’s the idea you want to trial? Is it best-modelled in theory or in practice? What needs to be tested? How well does it work? What refinements can you make? Does it work better now? Where’s your ‘big idea’? Can you fill in the gaps between your ‘big idea’ and where you are now? Can you identify stages for realising your ‘big idea’? Are there any uncertainties in this plan? Are the risks worth taking? Get organised Good organisation aids efficiency and prevents confusion. What could be grouped and what need to be kept separate? Are there alternative groupings available to you? Can you organise this systematically? Is anything causing difficulties? How can you provide and ongoing system for managing it? Have clear purposes Purpose gives direction to projects and activities. What need to be done? How can this be translated into action statements? Can an order of importance be established for the action statements? Are the purposes sufficiently different from each other? Find new combinations Combining two or more ideas often creates new things. What can you combine? What is the likely result of this combination? How does what happens differ from what is expected? How useful is it? Could you combine the ideas in other ways? 56 Tactics for Devising Alternatives and Innovations (From Melvin Freestone) Explore other views No two people view a situation the same What views do other people hold? way. How are they different from your own? Why do they view the situation differently? What values and ideas are affecting their viewpoints? Is there any common ground? Generate ‘crazy’ ideas Bringing in completely unconnected material is often the springboard to innovation. What would be an outrageous suggestion here? What is triggered by this input? Can you look at this idea from other angles? How can the ‘crazy’ idea help you in the situation you are facing? Challenge ideas Ideas need to be challenged to see how well they will work.. Can you find ways to challenge these ideas? Will modifying them improve them? Must it be done this way? Are there better alternatives? Do they meet expectations? Avoid blind alleys People are seldom wrong on purpose but What’s making you feel uneasy? sometimes find themselves up a blind Have false generalizations been made? alley. Are the facts wrong, mistaken or misinterpreted? Are fixed ideas causing a blind spot? What’s misleading you? Search for alternatives There are many ways to accomplish something. Are there other options worth pursuing? Where might they lead? Could it be done in a completely different way? Which options are likely to be useful or effective? Have you ‘left any stone unturned’? Do it better Ideas and actions can always be refined and improved. What can you target for improvement? What variables are involved? How can you determine their effects? What are the possibilities for improvement? How can this be achieved? 57 Tactics for Seeking Opportunities and Possibilities (From Melvin Freestone) Bridge the gap The best way to bridge the gap maybe to create stepping-stone. What ideas and actions have potential? How can they be developed to bridge the gap? Do they allow you to move on? Are there other ways for getting there? Which stepping-stone are you going to use? Identify opportunities Most of situations have opportunities for people to engage in enterprising activities. What are the opportunities here? Where might they lead to? Which is the best opportunity? How can you make the most of these opportunities? What ‘good’ can be achieved from doing this? Brainstorm for inspiration Sometimes instant inspiration is needed to make the most of a situation or to remove blockages. Consider all angles Examining things from every angle helps you find workable ideas. What is the challenge? What ideas come into your mind immediately? Can you think up a range of options for exploration? Which ones deal with the challenge? Which ones are worth pursuing? Which ones could be used to produce solutions? What is positive here? What is negative here? What else have possibilities? Can you translate the possibilities into workable ideas? Have all the implications been explored? Find unlimited possibilities You often need to suspend judgement in order to generate new ideas. What judgement need to be suspended? What new ideas could be used here? Which ones are worth trying out? Which of these possibilities is likely to work well? Can you decide which one you will use? Guess the solution If ideas and information are incomplete sometimes you have to guess. Can you guess what you can do or what will happen? Does it work? Is there anything else you can do? Do you need to make a better guess? Do you need to start somewhere else? 58 Tactics for Addressing Difficulties and Conflicts (From Melvin Freestone) Make it work You can adjust things to make them work.. Unearth the blockage Some things stop people from thinking clearly and deflect their thoughts in unproductive ways. Get it right You need to know when something is right and then leave it alone. Determine its worth It is useful to pinpoint the worth of an idea or action. Assess contradictions Contradictions in ideas and actions often reveal areas for modification, improvement and re-development. Resolve conflicts Sometimes people have conflicting ideas about how to do things or negative feelings about their role. How well are you ideas and actions working? What needs to be improved? How could you achieve this? Is the result satisfactory? Is a completely different approach needed? Can you detect any blockages? What are they? Are any stereotypes, clichés, prejudices or ‘official’ opinions getting in the way? What needs to be done to eliminate the blockage? What benefits are likely to accrue? How well is it working? Does it need more work? What do others think? Is there value in future improvements? Should you leave it alone? What are the ideas or actions intended to do? How well do they meet specified requirements? What is their appeal? Are they efficient, effective and reliable? What things don’t seem to be right? Do they have and opposite effect to what is intended? How significant is this effect? Can it be removed or transformed? What are the possibilities for changing it? Are there any conflicts? What are they about? What are the ideas, issues and emotions involved? Who are the key players? How can you encourage collaboration and negotiation? What’s needed to create a ‘win-win’ outcome? 59 ข้ อพึงระวังในการถาม มีเป้าหมายที่ชัดเจนในการถาม รู้ Direction/ Strategy ในการนาผู้เรียนไปสู่ เป้าหมาย ข้ อคาถามไม่ กว้ างเกินไป ให้ เวลาในการคิดตอบคาถาม ไม่ ถามเอง ตอบเอง ฟังคาตอบตรวจสอบความเข้ าใจ ไม่ ด่วนตัดสิ นคาตอบ ปรับคาถามให้ เหมาะสมกับระดับของผู้เรียน เปิ ดโอกาสให้ ผู้เรียนถาม สั งเกตผู้เรียนทั้งด้ านวาจา พฤติกรรม และสี หน้ าท่ าทาง ให้ เกียรติผู้เรียน ไม่ แสดงกิริยาวาจาดูถูกดูหมิน่ ผู้เรียน