ระบบอวัยวะของร่ างกายมนุษย์ ระบบย่ อยอาหาร (Digestive System) • อวัยวะที่เป็ นทางเดินอาหารประกอบด้ วยอวัยวะ ต่ างๆ ได้ แก่ • ปาก ลิน้ คอหอย หลอดอาหาร กระเพาะอาหาร ลาไส้ เล็ก ลาไส้ ใหญ่ ไส้ ตรง และ ทวารหนัก • ระบบย่อยอาหารมีหน้ าที่ยอ่ ยอาหารให้ ละเอียด แล้ วดูดซึมผ่านเข้ าสูก่ ระแส เลือดเพื่อไปเลี ้ยงส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย การย่อยอาหาร (Digestion) หมายถึง กระบวนการสลายอนุภาคอาหารให้ มีขนาดเล็กสุด จนสามารถดูดซึมเข้ าไปในเซลล์ได้ เมื่อมนุษย์รับประทานอาหารเข้ าสูร่ ่างกาย จะผ่านระบบต่าง ๆ ดังนี ้ – ปาก – หลอดอาหาร – กระเพาะอาหาร – ลาไส้ เล็ก – ลาไส้ ใหญ่ – ของเสียออกทางทวารหนัก ความสาคัญของการย่ อยอาหาร • อาหารที่สิ่งมีชีวิตบริโภคเข้ าไป ไม่วา่ จะเป็ นชนิดใดก็ตาม จะนาเข้ าสูเ่ ซลล์ได้ ก็ตอ่ เมื่ออยู่ในรูปของสารอาหารที่มี โมเลกุลขนาดเล็ก คือ • กรดอะมิโน • น ้าตาลโมเลกุลเดี่ยว • กลีเซอรอล และกรดไขมัน นัน่ ก็คือ อาหาร โมเลกุลใหญ่ที่สิ่งมีชีวิตรับประทาน เข้ าไป จาเป็ นต้ องแปรสภาพให้ มีขนาดเล็กลง • การแปรสภาพของอาหารดังกล่าวเกิดจากปฏิกิริยา เคมีที่อาศัยการทางานของเอนไซม์ยอ่ ยอาหาร โดยทัว่ ไปเรี ยกว่า นา้ ย่ อย • จากนันโมเลกุ ้ ลของสารอาหารจะถูกดูดซึมเข้ าสู่เซลล์ • กระบวนการแปรสภาพอาหารที่มีโมเลกุลใหญ่ให้ มี โมเลกุลเล็กลง เรี ยกว่า การย่ อยอาหาร (Digestion) • เอนไซม์ กับการย่ อยอาหาร เอนไซม์มีโครงสร้ างที่ประกอบขึ ้นด้ วยกรดอะมิโน แต่มีคณ ุ สมบัติตา่ งจาก โปรตีนตรงที่ เอนไซม์สามารถเร่งปฏิกิริยาทางเคมีในเซลล์ได้ โดยที่สารที่จะเป็ นเอนไซม์ได้ ต้ องมีคณ ุ สมบัติ ดังนี ้ 1.สามารถเร่งปฏิกิริยาเคมีภายในเซลล์ได้ 2.เมื่อเกิดปฏิกิริยาแล้ วเอนไซม์จะไม่มีการเปลี่ยนแปลงรูปร่ างและจานวน ในขณะที่สารเริ่มต้ นถูกเปลี่ยนไปเป็ นสารผลิตภัณฑ์ 3.อุณหภูมิมีผลต่อการทางานของเอนไซม์ ซึง่ จะทางานได้ ดีในช่วง 25 40 องศาเซลเซียส 4.สภาพความเป็ นกรด-ด่างมีผลต่อการทางานของเอนไซม์ โดยขึ ้นอยู่กบั ชนิดของเอนไซม์นนๆ ั้ ขั้นตอนการย่อยอาหาร • การย่อยอาหารมี 2 ขันตอน ้ • การย่ อยเชิงกล (Mechanical digestion) เป็ นกระบวนการทาให้ อาหารมีขนาดเล็กลง เพื่อสะดวกต่อการเคลื่อนที่และการเกิดปฏิกิริยาเคมีตอ่ ไป โดยการบดเคี ้ยว รวมทังการบี ้ บตัวของทางเดินอาหาร ยังไม่สามารถทาให้ อาหารมีขนาดเล็กสุด จึงไม่สามารถดูดซึมเข้ าเซลล์ได้ • การย่ อยทางเคมี (Chemical digestion) เป็ นการย่อยอาหารให้ มี ขนาดเล็กที่สดุ โดยการเกิดปฏิกิริยาเคมีระหว่าง อาหาร กับ น ้า โดยตรง และจะ ใช้ เอนไซม์หรื อน ้าย่อยเข้ าเร่งปฏิกิริยา ผลจากการย่อยทางเคมีเมื่อถึงจุดสุดท้ าย จะได้ สารโมเลกุลเล็กที่สดุ ที่สามารถดูดซึมเข้ าสู่เซลล์ได้ ซึง่ อาหารที่ต้องมีการย่อย ได้ แก่ คาร์ โบไฮเดรต โปรตีนและไขมัน ส่วนเกลือแร่ และวิตามินจะดูดซึมเข้ าสูร่ ่างกายได้ โดยตรง อวัยวะทีช่ ่ วยย่ อยอาหาร ต่อมน ้าลาย (Salivary Gland) ผลิต • น ้าย่อยอะไมเลส (Amylase) หรื อไทยาลิน (Ptyalin) ย่อยแป้งให้ เป็ นน ้าตาลมอลโทส กระเพาะอาหาร (Stomach) ผลิต • น ้าย่อยเพปซิน ย่อยโปรตีนให้ เป็ นโปรตีนสายสัน้ (เพปไทด์) และ • น ้าย่อยเรนนิน ย่อยโปรตีนในนมให้ เป็ นโปรตีนเป็ นลิ่ม ๆ • • • • ลาไส้ เล็ก (Small Intestine) ผลิต น ้าย่อยมอลเทส ย่อยน ้าตาลมอลโทสให้ กลายเป็ นน ้าตาล กลูโคส น ้าย่อยซูเครส ย่อยน ้าตาลซูโครสให้ เป็ นน ้าตาลกลูโคสและ น ้าตาลฟรักโทส น ้าย่อยแลกเทส ย่อยน ้าตาลแลกโทสให้ เป็ นน ้าตาลกลูโคสและ น ้าตาลกาแลกโตส น ้าย่อยอะมิโนเพปทิเดส ย่อยโปรตีนสายสันให้ ้ เป็ นกรดอะมิโน ตับ (Liver) ตับ (Liver) ผลิต • น ้าดี ช่วยให้ ไขมันให้ เป็ นไขมันแตกตัวเป็ นเม็ดเล็ก ๆ • นา้ ดี (Bile) สร้ างจากตับ (Liver) แล้ วถูกนาไปเก็บไว้ ที่ ถุงนา้ ดี (Gall Bladder) ไม่ถือว่าเป็ นเอนไซม์ เพราะจะ เปลี่ยนสภาพไปจากเดิม เมื่อปฏิกิริยาสิ ้นสุดลงแล้ ว (น ้าดีไม่มี น ้าย่อย) มีสว่ นประกอบ 3 ส่วน คือ • เกลือนา้ ดี (Bile Salt) มีหน้ าที่ตีให้ ไขมัน (Fat) แตกตัว เป็ นหยดเล็ก ๆ ไขมันที่ถกู ตีให้ แตกตัวเป็ นหยดเล็ก ๆ เรี ยกว่า อีมลั ชัน่ (Emulsion) จากนันถู ้ ก Lipase ย่อยต่อให้ เป็ น กรดไขมันและกลีเซอรอล • รงควัตถุนา้ ดี (Bile Pigment) เกิดจากการสลายตัวของ ฮีโมโกลบิน (Hemoglobin) โดยตับเป็ นแหล่งทาลายและ กาจัด Hemoglobin ออกจากเซลล์ เม็ดเลือดแดงที่ หมดอายุ โดยเก็บรวบรวมเข้ าไว้ เป็ นรงควัตถุในน ้าดี (Bile Pigment) คือ บิริรูบิน (Bilirubin) จึงทาให้ น ้าดี มีสีเหลืองหรื อเขียวอ่อน และจะถูกเปลี่ยนเป็ นสีเหลืองแกม น ้าตาลโดยแบคทีเรี ยในลาไส้ ใหญ่เกิดเป็ นใสในอุจจาระ • โคเรสเตอรอล (Cholesterol) ถ้ ามีมาก ๆ จะทาให้ เกิด นิ่วในถุงน ้าดี เกิดการอุดตันที่ทอ่ น ้าดี เกิดโรคดีซา่ น (Janudice) มีผลทาให้ การย่อยอาหารประเภทไขมัน บกพร่อง ตับอ่อน (Pancreas) ตับอ่อน (Pancreas) ผลิต • น ้าย่อยลิเพส ย่อยไขมันแตกตัวให้ เป็ นกรดไขมันและกลีเซอรอล น ้าย่อยทริ ปซิน ย่อยโปรตีนให้ เป็ นพอลิเพปไทด์และไดเพปไทด์ น ้าย่อยคาร์ บอกซิเพปพิเดส ย่อยเพปไทด์ให้ เป็ ฯกรดอะมิโน น ้าย่อยอะไมเลส ย่อยเช่นเดียวกับน ้าย่อยอะไมเลสในปาก การย่ อยในปาก • เริ่ มต้ นจากการเคี ้ยวอาหารโดยการทางานร่วมกันของ ฟั น ลิ ้น และแก้ ม ซึง่ ถือเป็ นการย่อยเชิงกล ทาให้ อาหารกลายเป็ นชิ ้น เล็ก ๆ มีพื ้นที่ผิวสัมผัสกับเอนไซม์ได้ มากขึ ้น ในขณะเดียวกัน ต่อมน ้าลายก็จะหลัง่ น ้าลายออกมาช่วยคลุกเคล้ าให้ อาหารเป็ น ก้ อนลื่นสะดวกต่อการกลืน • ต่ อมนา้ ลาย (Silvary Gland) เป็ นต่อมมีทอ่ ทาหน้ าที่ผลิต น ้าลาย (Saliva) ต่อมน ้าลายของคนมีอยู่ 3 คู่ คือ • 1. ต่ อมนา้ ลายใต้ ลนิ ้ (Sublingual Gland) 1 คู่ 2. ต่ อมนา้ ลายใต้ ขากรรไกรล่ าง (Submandibulary Gland) 1 คู่ 3. ต่ อมนา้ ลายข้ างกกหู (Parotid Gland) 1 คููู่ • ต่อมน ้าลายทัง้ 3 คูน่ ี ้ ทาหน้ าที่สร้ างน ้าลายที่มีเอนไซม์อะไมเลส ซึง่ เป็ นเอนไซม์ที่ยอ่ ยสารอาหารจาพวกแป้งเท่านัน้ • Tongue Taste Bud อย่าแปลกใจครับถ้ าจะบอกว่าภาพนี ้เป็ นภาพถ่ายลิ ้นของเรา บริเวณ ที่มีปมรั ุ่ บ รสอยู่ ลิ ้นของคนเราจะมีปมรั ุ่ บรสอยูป่ ระมาณ 10,000 ปุ่ ม แยกกันทาหน้ าที่ในการรับ รส เปรี ย้ ว หวาน เค็ม ขม • Tooth Plaque เห็นภาพนี ้แล้ ว ต้ องหมัน่ แปรงฟั นครับ เพราะมันคือคราบ plaque ที่เกาะอยู่ ตามฟั นของเรานัน่ เอง • ความสาคัญของนา้ ลาย –เป็ นตัวหล่อลื่น และทาให้ อาหารรวมกันเป็ นก้ อน เรี ยกว่า โบลัส (Bolus) –ช่วยทาความสะอาดปากและฟั น –มีเอนไซม์ช่วยย่อยแป้ง –ช่วยทาให้ ปมรั ุ่ บรสตอบสนองต่อรสหวาน รสเค็ม รสเปรี ย้ ว และรสขมได้ ดี • เอนไซม์ในน ้าลาย คือ ไทยาลิน หรื ออะไมเลสจะย่อยแป้งใน ระยะเวลาสัน้ ๆ ในขณะที่อยูใ่ นช่องปากให้ กลายเป็ นเดกซ์ทริ น (Dextrin) ซึง่ เป็ นคาร์ โบไฮเดรตที่มีโมเลกุลเล็กกว่าแป้ง แต่ ใหญ่กว่าน ้าตาล และถูกย่อยต่อไปจนเป็ นน ้าตาลโมเลกุล คู่ คือ มอลโทส การกลืน • The oesophagus connects the mouth with the stomach. Food moves through the oesophagus by involuntary wavelike muscular contraction called peristalsis. สารและเอนไซม์ ทเี่ กีย่ วข้ องกับการย่ อยในกระเพาะอาหาร • • 1. HCl มี pH อยูร่ ะหว่าง 0.9-2.0 2. Pepsinogen เป็ น Proenzyme ต้ องได้ รับ HCl จึงเปลี่ยนเป็ น เพปซิน (Pepsin) สาหรับย่อยโปรตีนเป็ นเพปไทด์ ซึง่ ประกอบด้ วยกรดอะมิโน 4-12 โมเลกุล • 3. Prorennin เป็ น Proenzyme ต้ องได้ รับ HCl จึงเปลี่ยนเป็ น เรนนิน (Rennin) สาหรับย่อยโปรตีนในน ้านม • 4. Lipase สร้ างขึ ้นในปริมาณน้ อยมาก เพราะสภาพเป็ นกรดของ กระเพาะอาหาร • 5. Gastrin เป็ นฮอร์ โมนที่สร้ างจากเซลล์ในกระเพาะอาหาร ทาหน้ าที่ กระตุ้นให้ Parirtal Cell หลัง่ HCl ออกมา การย่ อยในกระเพาะอาหาร • กระเพาะอาหาร ประกอบขึ ้นด้ วยกล้ ามเนื ้อเรี ยบที่อดั กันหนามาก ด้ านในมีลกั ษณะเป็ น สันช่วยในการบดอาหารให้ มีขนาดเล็กลงอีก ผนังด้ านในสามารถสร้ าง เอนไซม์เพปซิโนเจน (Pepsinogen) และกรดไฮโดรคลอริกหรื อกรด เกลือ (HCI) เพปซิโนเจนจะถูกกรดเกลือเปลี่ยนสภาพให้ กลายเป็ น เอนไซม์เพปซิน (Pepsin) ซึง่ มีความสามารถในการย่อยโปรตีนให้ มี โมเลกุลเล็กลง เรี ยก่า เพปไทด์ (Peptide) แต่ยงั ไม่สามารถดูดซึม ได้ If the defence mechanisms to stop self-digestion of the stomach fail, then peptic ulcers of the stomach form. These cause bleeding and may dissolve the stomach lining all the way through the stomach wall. It is now called a perforated ulcer. This is very dangerous as bacteria may travel through the ulcer and into the body cavity. In some cases it can cause death • อาหารจะถูกคลุกเคล้ าอยูใ่ นกระเพาะด้ วยการหดตัว และคลาย ตัวของกล้ ามเนื ้อที่แข็งแรงของกระเพาะ • โปรตีนจะถูกย่อยในกระเพาะ โดยน ้าย่อยเพปซิน ซึง่ ย่อยพันธะ บางชนิดของเพปไทด์เท่านัน้ ดังนันโปรตี ้ นที่ถกู เพปซินย่อยส่วน ใหญ่จงึ เป็ นพอลิเพปไทด์ที่สนลง ั้ • ส่วนเรนนินช่วยเปลี่ยนเคซีน (Casein) ซึง่ เป็ นโปรตีนในน ้านม แล้ ว รวมกับแคลเซียมทาให้ มีลกั ษณะเป็ นลิม่ ๆ จากนันจะถู ้ ก เพปซินย่อยต่อไป • ในกระเพาะอาหาร น ้าย่อยลิเพสไม่สามารถทางานได้ เนื่องจาก มีสภาพเป็ นกรด • โดยปกติอาหารจะอยูใ่ นกระเพาะอาหารนาน 30 นาทีถึง 3 ชัว่ โมง ซึง่ ขึ ้นอยูก่ บั ชนิดของอาหารนัน้ ๆ • กระเพาะอาหารก็มีการดูดซึมอาหารบางชนิดได้ แต่ปริ มาณน้ อย มาก เช่น น ้า แร่ธาตุ น ้าตาลโมเลกุลเดี่ยว • กระเพาะอาหารดูดซึมแอลกอฮอล์ได้ ดี • อาหารโปรตีน เช่น เนื ้อวัว ย่อยยากกว่าเนื ้อปลา ในการปรุง อาหารเพื่อให้ ย่อยง่าย อาจใช้ การหมักหรื อใส่สารบางอย่างลงไป ในเนื ้อสัตว์เหล่านัน้ เช่น ยางมะละกอ หรื อสับปะรด ลาไส้เล็ก (Small Intestine) การย่ อยอาหารในลาไส้ เล็ก • ลาไส้ เล็ก เป็ นทางเดินอาหารส่วนที่ยาวมาก แบ่งเป็ น 3 ส่วน คือ ดูโอ ดีนัม เจจูนัม และไอเลียม ที่ผนังลาไส้ เล็กสามารถสร้ าง น ้าย่อยขึ ้นมาได้ ซึง่ มีหลายชนิด • นอกจากนันที ้ ่ลาไส้ เล็กส่วนดูโอดีนมั ยังได้ รับน ้าย่อยจากตับ อ่อน และน ้าดีมาจากตับ น ้าย่อยจากตับอ่อนมีหลายชนิดที่ สามารถย่อยคาร์ โบไฮเดรต โปรตีนและไขมันได้ • การย่ อยอาหารในลาไส้ เล็ก • 1.ย่อยน ้าตาลโมเลกุลคู่ ให้ เป็ นน ้าตาลโมเลกุลเดี่ยว ดังนี ้ - มอลโทส โดยเอนไซม์มอลเทส ได้ กลูโคส 2 โมเลกุล - ซูโครส โดยเอนไซม์ซูเครส ได้ กลูโคส และฟรักโทส - แลกโทส โดยเอนไซม์แลกเทส ได้ กลูโคส และกาแลกโทส • 2. ย่อยสารอาหารโปรตีนต่อจากกระเพาะอาหาร ได้ แก่ เพปไทด์โดย เอนไซม์ทริ ปซินได้ กรดอะมิโน ซึง่ เป็ นโปรตีนโมเลกุลเดี่ยว • 3. ย่อยไขมัน โดยเอนไซม์ ลิเพส จะย่อยไขมันโมเลกุลเล็ก ( emulsified fat ) ให้ เป็ นไขมันโมเลกุลเดี่ยว ได้ แก่ กรดไขมันและ กลีเซอรอล • การย่อยอาหารในลาไส้ เล็กจะเกิดได้ ดีในสภาวะที่เป็ นเบส (NaHCO3) จาก ตับอ่อน การดูดซึมอาหารในลาไส้ เล็ก • การดูดซึมอาหาร หมายถึง ขบวนการที่นาอาหารที่ผ่านการย่อยจนได้ เป็ นสาร โมเลกุลเดี่ยว เช่น กลูโคส กรดอะมิโน กรดไขมัน กลีเซอรอล ผ่านผนังทางเดิน อาหารเข้ าสูก่ ระแสเลือดเพื่อไปสูส่ ว่ นต่าง ๆ ของร่างกาย ลาไส้ เล็ก เป็ นบริเวณ ที่ดดู ซึมอาหารเกือบทังหมดเพราะเป็ ้ นบริเวณที่มีการย่อยอาหารเกิดขึ ้นอย่าง สมบูรณ์ • และโครงสร้ างภายในลาไส้ เล็กก็เหมาะแก่การดูดซึม คือ • ผนังลาไส้ เล็กจะยาวพับไปมา และมีสว่ นยื่นของกลุม่ ของเซลล์ ที่เรี ยงตัวเป็ นแถวเดียวมีลกั ษณะคล้ ายนิ ้วมือ เรี ยกว่า วิลลัส (Villus) เป็ นจานวนมาก • ในแต่ละเซลล์ของวิลลัสยังมีสว่ นยื่นของเยื่อหุ้มเซลล์ออกไปอีก มากมาย เรี ยกว่า ไมโครวิลลัส (Microvillus) • ในคน มีวิลลัสประมาณ 20-40 อันต่อพื ้นที่ 1 ตารางมิลลิเมตร หรื อประมาณ 5 ล้ านอัน ตลอดผนังลาไส้ ทงหมด ั้ • Normal System The human digestive system, otherwise known as the gut or gastrointestinal tract, is essentially a continuous muscular tube about 7-8 metres long in adults running from the mouth to the anus (back passage). It is designed to process food and fluids which are consumed on a daily basis, the main processes • Mouth Food enters the body via the mouth where it is chewed. This action helps to break up the food enabling it to be swallowed and enter the oesophagus. The chewing action also releases enzymes which help to break down the food in preparation for the digestion process. • Oesophagus (Gullet) Otherwise known as the gullet or food pipe, is the first section of the digestive tract which conveys ingested food and drink from the mouth to the stomach. This is partially under the effect of gravity but also as a result of the continuous contraction and relaxation of the muscular wall of the oesophagus, a process • which acts as a receptacle for food and fluids after ingestion. Food is then churned around and mixed with gastric juices, a mixture of acid, enzymes and other materials, which starts to break down food into smaller particles in order to make digestion easier. The stomach enzymes in particular are responsible for the breakdown and digestion of • Small Intestine This is, in fact, the longest section of the digestive tract and consists of the duodenum, the jejunum and the ileum. The small intestine is very important as it is the major site of digestion of food and subsequent absorption of essential nutrients which the body needs to function efficiently. • Large Intestine (Colon) Otherwise known as the colon or bowel, it is the final section of the digestive tract. Indigestible food remains and fluid pass from the small intestine into the large intestine where one of the most important processes involves the absorption of water through the wall of the intestine and into the bloodstream. Therefore, as material passes through the large intestine it becomes progressively drier and more solid in consistency and the waste matter forms into faeces, or "stools". • Rectum This is essentially a storage reservoir at the end of the large intestine and adjacent to the anus for accumulating the faeces prior to elimination from the body. • Anus The opening at the end of the digestive tract which allows waste matter to pass through into the outside world. http://www.constipationadvice. co.uk/understanding_constipati on/normal_digestive_system_p lain.php • Small Intestine ภาพที่พวกเราเห็นภาพนี ้ เป็ นภาพของลาไส้ เล็ก ที่เป็ นซอกหลืบ ทาหน้ าที่ ดูดซึมอาหารเข้ าสูร่ ่างกาย • Jejunum/Ileum • By the time the food enters this part of the small intestine it is fully digested. The job of the jejunum and ileum is to absorb the food. The lining of these sections of the small intestine contain many villi.The walls of the villi are only 1 cell thick. There is a rich supply of blood located inside each villus. The capillaries of each villus absorb nutrients from the food and, in this way, the food gets into the blood supply. Foods such as glucose, amino acids, vitamins, and minerals are absorbed into the blood here. The food is then taken to the hepatic portal vein which takes it to the liver. Here the food is stored and released when needed by the body. Amino acids are not stored but, those not used by the body, are broken down by the liver and form urea. This process is called deamination. Wastes created at the liver go from the liver to the hepatic vein and then to the kidneys. Here they are excreted. • Fats (fatty acids and glycerols) are absorbed into the villis’ lacteals. The lacteals have lymph fluid in them. (see diagram below) From the lacteal the fats are transported by the lymph and carried to the bloodstream at the subclavian veins near the base of the neck. ลาไส้ ใหญ่ • The Colon • The colon absorbs water from the remaining food that has past through the alimentary canal. The waste then becomes a semi-solid called faeces. Faeces are stored in the rectum and then egested through the anus การดูดซึมในลาไส้ ใหญ่ • การดูดซึมอาหารที่ย่อยแล้ วส่วนใหญ่เกิดขึ ้นที่ผนังลาไส้ เล็ก • ส่วนอาหารที่ไม่ถกู ย่อยหรื อย่อยไม่ได้ เช่น เซลลูโลส ก็จะถูก ส่งไปยังลาไส้ ใหญ่ • ส่วนต้ นของลาไส้ ใหญ่มีไส้ เล็ก ๆ ปลายตัน เรี ยกว่า ไส้ ติ่ง • ไส้ ติ่งของคนไม่ได้ ทาหน้ าที่อะไรแต่ก็อาจเกิดการอักเสบถึงกับ ต้ องผ่าตัดไส้ ติ่งออกไป ซึง่ อาจเกิดจากการอาหารผ่านช่องเปิ ด ลงไป หรื อเส้ นเลือดที่ไปเลี ้ยงไส้ ติ่งเกิดการอุดตัน • อาหารที่เหลือจากการย่อยและดูดซึมแล้ วจะผ่านเข้ าสู่ลาไส้ ใหญ่ • ลาไส้ ใหญ่มีแบคทีเรี ยอยูจ่ านวนมาก ซึง่ จะใช้ ประโยชน์จากกาก อาหารนี ้ • นอกจากนันแบคที ้ เรี ยบางชนิดยังสังเคราะห์ วิตามินบาง ชนิด เช่น วิตามินเค วิตามินบี 12 • Symbiotic Bacteria Bacteria that live in the colon feed on the waste and produce some B vitamins as well as Vitamin K. These vitamins are absorbed into the blood stream at the colon. There are other bacteria in the digestive system that help break down food, especially cellulose. This is a symbiotic relationship. The bacteria obtain nourishment and we obtain vitamins and digested food • เซลล์ที่บผุ นังลาไส้ ใหญ่ สามารถดูดน ้า แร่ธาตุ วิตามิน และ กลูโคสจากกากอาหารเข้ ากระแสเลือด ซึง่ ส่วนใหญ่จะเป็ นน ้า จึงทาให้ กากอาหารข้ นขึ ้น จนเป็ นก้ อนกากอาหารจะผ่านไปถึง ไส้ ตรง • ท้ ายสุดของไส้ ตรงเป็ นกล้ ามเนื ้อหูรูดแข็งแรงมาก มีลกั ษณะเป็ น วงรอบปากทวารหนักทาหน้ าที่บีบตัวในการขับถ่าย และผนัง ภายในลาไส้ ใหญ่จะขับเมือกออกมาหล่อลื่น สื บค้นข้อมูลจาก • www.bwc.ac.th • www.thaigoodview.com/node/17259 • http://leavingbio.net/Human%20Nutrition/Hu man%20Nutrition.htm • http://blog.eduzones.com/araya/32997