ความผิดปกติในการตื่นตัวทางเพศ (Excitement Phase)


Degrees


Certified Members


DOCTOR OF MEDICINE
DOCTOR OF HUMAN SEXUALITY
DOCTOR OF PHILOSOPHY (IN HUMAN
SEXUALITY)
IASHS (Institute for Advanced Study of
Human Sexuality), San Francisco, USA
Royal Thai College of Obstetricians and
Gynecologists
Board Certified Sexologist, American
College of Sexologists
Human Sexuality (เพศศาสตร์)
Sexology (เพศวิทยา)
เพศศาสตร์ หรือ เพศวิทยา คือ การศึกษาแบบองค์รวม
ในเรื่องของเพศสภาพในมนุ ษย์
โดยศึกษาแบบสหสาขาวิชา
ประกอบด้วย จิตวิทยา แพทยศาสตร์ วิทยาศาสตร์
สังคมศาสตร์ และ เพศศึกษา
ตัวอย่างเช่น การให้คาปรึกษาทางด้านเพศ การให้เพศศึกษา
การรักษาปัญหาเสื่อมสมรรถภาพทางเพศ
การลดปัญหาผูท้ ่ีถกู ข่มขืนและผูท้ ่ีถกู ทารุณกรรมทางเพศ
การทาเพศบาบัด
โดยผูท้ ่เี รียนสาขานี้ ต้องผ่านการคัดเลือก วิชาชีววิทยา สถิติ
คุณธรรมและจริยธรรม ศาสนาและประเพณี กฏหมาย
การให้การปรึกษาเชิงจิตวิทยา และ ทัศนคติทางเพศ
Human Sexuality
เพศสภาพในมนุ ษย์
เพศสภาพ หมายถึง ประสบการณ์และการแสดงออกของ
บุคคลต่อเพศ เพศลักษณ์ อัตลักษณ์ทางเพศ อัต
ลักษณ์ทางเพศภาวะ ทัศนคติ อารมณ์ทางเพศ และ
การเจริญพันธุ ์ เช่นเดียวกับแรงผลักดันทางชีวภาพ
พื้นฐานที่เกิดขึ้นในทุกเหล่าพันธุข์ องสิง่ มีชีวติ และ
รวมถึงกิจกรรมทางเพศและพฤติกรรมทางเพศทุก
รูปแบบ เพศสภาพยังรวมถึงค่านิ ยม บรรทัดฐาน และ
ระบบวิธีคิด วิธีปฏิบตั ิท่เี กี่ยวกับความปรารถนาและการ
แสดงออกทางเพศ ความคิดเกี่ยวกับคู่รกั คู่ชีวิตในอุดม
คติ ซึ่งไม่ใช่พฤติกรรมตามธรรมชาติ แต่เป็ นการสร้าง
ความหมายทางสังคม เพศสภาพจึงสัมพันธ์กบั มิติทาง
การเมือง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมที่กาหนดและ
สร้างความหมายให้แก่เรื่องเพศในทุกแง่มมุ ด้วย
Genecology
Clinical Sexology
นรีเวชวิทยา คือ วิชาทางการแพทย์ เพศวิทยาคลินิก คือ วิชาเพศวิทยาที่
ใช้กระบวนการทางคลินิกมา
ที่ว่าด้วยโรคเกี่ยวกับระบบการ
ศึกษา และมีบทบาทในแง่การ
สืบพันธุข์ องสตรี
รักษาและการให้คาปรึกษาทาง
คลินิก
Sexual Medicine
เวชศาสตร์ทางเพศ คือ วิชาทาง
การแพทย์ท่วี ่าด้วยโรคหรือ
ภาวะที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพ
ทางเพศ
At times, Clinical Sexology and Sexual Medicine heavily influenced by
current local views on morality, with heavy cultural overlay, in broad
terms this specialty is concerned with diagnosing, assessing and treating
all aspects which relate to sexuality
Faculty of Medicine
Thammasat University
หน่ วยเพศวิทยาคลินิกและเวชศาสตร์ทางเพศ
ภาควิชาสูตศิ าสตร์และนรีเวชวิทยา
คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
Female
sexual
dysfunction
Anatomy and
physiology of
women’s
sexual
function
Sexuality in
certain
conditions
FEMALE
SEXUAL
MEDICINE
core
curriculum
Effects of
certain
situations on
sexual
function
Sex
education
Women’s
sexual health
issues
Anatomy and physiology of women’s sexual function
•Anatomy and physiology of female reproductive organs
•Physiology of women’s sexual function and female sexual response cycle
•Arousal spots and sensate focuses of women
Sexuality in certain condition
•Sexuality in pregnancy and puerperium
•Sexuality in adolescent and the elderly
•Sexuality in certainly ill patients : cancer / mental illness / disability
Effects of certain situations on sexual function
•Effects of drugs / illness / contraceptives on sexual function
Women’s sexual health issues
•STIs / HIV
•Sexual healthcare for women
•Sexual factors and infertility
•Rape and sexual violence
Sex education
•Comprehensive sexuality education
•Safer sex education
•Sex education for public and schools
•Sex coaching
Female sexual dysfunction
• Sexual desire disorders
• Sexual aversion disorders
• Sexual arousal disorders
• Orgasmic disorders
• Sexual pain disorders
• Iatrogenic and post-traumatic female sexual disorder
Appetitive
phase
Hypoactive sexual desire disorder
/Sexual aversion disorder
Hypoactive sexual desire disorder due to
a general medical condition
Substance-induced sexual dysfunction
with impaired desire
Excitement
phase
Female sexual arousal disorder / Male
erectile disorder
Vaginismus
Male erectile disorder due to a general
medical condition
Dyspareunia due to a general medical
condition
Substance-induced sexual dysfunction
with impaired arousal
Orgasmic
phase
Female orgasmic disorder / Male
orgasmic disorder
Premature ejaculation
Orgasmic anhedonia
Other sexual dysfunction due to a
general medical condition
Resolution
Substance-induced sexual dysfunction
with impaired orgasm
Postcoital dysphoria / Postcoital
headache
ความบกพร่องทางเพศในสตรี หมายถึง ภาวะที่รา่ งกายหรือจิตใจของสตรี ไม่มีความ
ต้องการทางเพศ และไม่สามารถตอบสนองต่อความต้องการทางเพศได้ตามปกติ
ทาให้เกิดปัญหาในการมีเพศสัมพันธ์ หรือการมีการถึงความสุขสุดยอดทางเพศ
เป็ นผลให้เกิดความวิตกกังวล
และก่อให้เกิดความขัดแย้งในชีวติ คู่
1.
2.
3.
4.
5.
บุคคลนัน้ ไม่สามารถมีความสัมพันธ์ทางเพศ ตามความต้องการได้
ความบกพร่องทางเพศนี้ ต้องเกิดขึ้นบ่อย และซา้ แล ้วซา้ อีก แต่อาจหายไปได้บา้ ง
เป็ นบางครัง้ บางคราว
ปัญหานี้เกิดขึ้นติดต่อกันเป็ นระยะเวลาอย่างน้อย 6 เดือน
ความบกพร่องนี้ ไม่มปี ญั หาโดยตรงจากสาเหตุทางร่างกาย จิตใจ หรือพฤติกรรมที่
แปรปรวน
ปัญหานี้ ทาให้เกิดความขัดแย้งและความวิตกกังวลในชีวติ คู่
Prevalence and incidence studies of FSD are
confounded by a lack of consistent methodology.
Variability in levels of normal sexual function and
the importance of sexual function to individuals
and cultural beliefs also complicate the
classification
and
determination
of
FSDs.
Community studies indicate that the prevalence of
female sexual dysfunction ranges from 25 to 63%.
An important population-based study, a substudy
of the National Health and Social Life Survey, was
conducted in 1992. It provides a probability sample
among 1749 women and 1410 men living in the
USA, aged 18 -59 years.
Sarit O. Aschkenazi, Roger P. Goldberg
Expert Rev of Obstet Gynecol. 2009;4(2):165-178.
 Lack
of interest in sex: 27-32%
 Unable to achieve orgasm: 22-28%
 Pain during sex: 8-21%
 Sex not pleasurable: 17-27%
ปัญหาทีพ่ บบ่อยในเพศหญิงได้แก่ low sexual interest และ
difficulty with orgasm
The study found that sexual dysfunction is
more prevalent in women than men (43
vs 31%). Lack of interest was the most
frequently reported female sexual
complaint.
ความผิดปกติในความต้องการทางเพศ (Appetitive Phase) (Female
sexual desire disorders)
 ภาวะความต้องการทางเพศน้อยเกินไป (hypoactive sexual desire
disorder) เป็ นภาวะที่ความต้องการทางเพศของสตรีลดน้อยลงกว่าที่ควรจะเป็ น หรือที่
เคยเป็ น หรือไม่มเี ลย สตรีจะมีความต้องการทางเพศน้อยแต่เมือ่ มีความต้องการและได้รบั การ
กระตุน้ เพียงพอก็อาจมีกจิ กรรมทางเพศได้อย่างปกติเป็ นครัง้ คราว และต้องคานึ งถึงระดับความ
สนใจทางเพศในอดีตมาเปรียบเทียบด้วยในการวินิจฉัย เนื่องจากแต่ละคนมีความต้องการและ
ความสนใจในเรื่องเพศแตกต่างกันไป
 ภาวะรังเกียจกิจกรรมทางเพศ (sexual aversion disorder) เป็ นปัญหา
ทางเพศอีกแบบหนึ่งซึง่ มีความไม่ชอบกิจกรรมทางเพศ จึงทาให้ความต้องการทางเพศน้อยลง
 ภาวะความต้อ งการทางเพศมากเกิ น ไป (hypersexuality
or
nymphomania) มักไม่ค่อยเป็ นปัญหานอกจากความต้องการทางเพศของคู่สมรส
ไม่เท่ากันเท่านัน้
ความผิดปกติในการตื่นตัวทางเพศ (Excitement Phase)
 ภาวะไม่ต่ืนตัวทางเพศในเพศหญิง (female sexual arousal
disorder) คือการที่ร่างกายไม่สามารถตอบสนองความต้องการทางเพศ โดยเป็ น
ภาวะที่ไ ม่มีก ารตื่นตัวของอวัยวะเพศและไม่มีก ารหลัง่ นา้ หล่อลื่นออกมาหรือมีแ ต่ ไ ม่
เพียงพอ
 ภาวะช่ อ งคลอดหดรัดตัว (vaginismus) เป็ นภาวะที่ช่องคลอดส่วนนอกอาจ
เกิดการหดรัดตัวอย่างรุนแรงทาให้ไม่สามารถสอดใส่องคชาติได้
 ภาวะเจ็บ ปวดเมื่อมี เพศสัมพันธ์ (dyspareunia) เป็ นภาวะที่เกิดได้ทงั้ สอง
เพศแต่ส่วนใหญ่มกั เกิดในเพศหญิง
DSM-IV-TR จัดภาวะช่องคลอดหดรัดตัวและภาวะเจ็บปวดเมือ่ มีเพศสัมพันธ์
รวมกันเป็ นภาวะความเจ็บปวดทางเพศ (sexual pain disorders)
ปัญหาทางเพศในระยะมีความสุขสุดยอด (Orgasmic Phase)
 ภาวะไม่ มีความสุขสุดยอดในเพศหญิ ง (female
orgasmic
disorder, anorgasmia) เป็ นภาวะที่ในเพศหญิงไม่มคี วามสุข
สุดยอดทัง้ ๆทีม่ กี ารตื่นตัวทางเพศและได้รบั การกระตุน้ อย่างเพียงพอแลว้
 ภาวะกามตายด้านของสตรี (frigidity) เป็ นภาวะทีส่ ตรีไม่สามารถตอบสนอง
ต่ อการกระตุน้ ทางเพศ ท าให้ไม่มีนา้ หล่อ ลื่น ในช่ อ งคลอดเลยในตลอดเวลาที่มี
เพศสัมพันธ์ ทาให้การมีเพศสัมพันธ์ดาเนินไปอย่างไม่มคี วามสุข นอกจากนัน้ สตรียงั
ไม่เกิดความรูส้ กึ ตื่นเต้น ตื่นตัว และพอใจทางเพศ และไม่บรรลุความสุขสุดยอดทาง
เพศอีกด้วย
ความผิดปกติในระยะกลับสูร่ ะยะพัก (Resolution Phase)
 อาการปวดศีรษะหลังจากมีเพศสัมพันธ์ (postcoital
headache)
 ภาวะอารมณ์ไม่ดหี ลังการมีเพศสัมพันธ์ (postcoital dysphoria)
Causative factors of female sexual dysfunction
History taking (Medical history / Sex history)






Medical history taking :
โรคทางร่างกาย
โรคทางจิตใจ
ประวัตกิ ารผ่าตัดบริเวณอวัยวะเพศหรือในอุง้ เชิงกราน
ประวัตอิ บุ ตั เิ หตุต่างๆ
ยาทีร่ บั ประทานเป็ นประจา บุหรี่ เครื่องดืม่ แอลกอฮอล์ ยาเสพติด
Sex history
1. General sex history
 ปัญหาทางเพศสาคัญทีมาปรึกษา (Chief complaint of
sexual concern)
 ความสัมพันธ์ทางเพศของคู่สมรสในปัจจุบนั
 ความบ่อยและความสมา่ เสมอในการร่วมเพศ
 ความรักและความผูกพันทางจิตใจ
 ความใกล้ชดิ สนิทสนม
 การพัฒนาทางเพศและประสบการณ์ทางเพศ
 ความสัมพันธ์ทางเพศนอกสมรส
 การสาเร็จความใคร่ดว้ ยตัวเอง
 การสือ่ สารระหว่างคู่สมรส

2. Specific sex history
อาการไม่สนใจทางเพศ
 1.ไม่สนใจทางเพศเลย หรือมีความต้องการทางเพศบ้างบางเวลา
 2.ความต้องการทางเพศในอดีตเป็ นอย่างไร
 3.คู่สมรส ต้องการทางเพศ เพิม่ ขึ้นหรือลดน้อยลง การตอบสนองเป็ นอย่างไร
 4.ความสนใจทางเพศกับผูอ้ น่ื
 5.มีความสุขทางเพศด้วยวิธีอน่ื หรือไม่ ฝันเรื่องเพศ สาเร็จความใคร่ดว้ ยตัวเอง ดูวดี โี อโป๊
 6.ไม่สนใจทางเพศ เพราะเหนื่อย กินยา ดืม่ เหล ้า ตัง้ ครรภ์ คลอดบุตร
 7.ไม่สนใจคู่สมรส เพราะไม่ชอบนิสยั ไม่รกั ไม่หล่อ ทะเลาะกันเสมอ
 8.อยากมีเพศสัมพันธ์ย่อยแค่ไหน ช่วยคู่สมรสบ้างหรือเปล่า
 9.ความสมดุลทางเพศ ความขัดแย้ง ความต้องการทางเพศไม่เท่ากัน
 10.นอกจากไม่มอี ารมณ์เพศ มีปญ
ั หาเรื่องอืน่ อีกหรือไม่
หลีกเลี่ยงการมีเพศสัมพันธ์
 1.มีประวัตถิ กู ข่มขืน ลวนลามทางเพศ ไม่ชอบและรังเกียจการร่วมเพศ
 2.คู่สมรสคิดอย่างไรเรื่องเพศสัมพันธ์
 3.มีสาเหตุอะไรทีเ่ พศสัมพันธ์ไม่สมหวัง เพราะสกปรก เหนื่อย ไม่ชอบวิธี
ไม่มีความสุขสุดยอดทางเพศ
 1.เคยมีความสุขสุดยอดหรือไม่ ไม่เคย มีบา้ งเป็ นครัง้ คราว
 2.ใช้เวลาร่วมเพศนานเท่าไรถึงมีความสุขสุดยอด
 3.ใช้วธิ ใี ดจึงจะมีความสุขสุดยอด ใช้ปาก ใช้มอื หรือเครื่องมือกระตุน้ เพือ่ สาเร็จความใคร่
 4.มีการตื่นตัวทางเพศหรือไม่ขณะร่วมเพศ
 5.ได้รบั การกระตุน้ ทางเพศเพียงพอหรือไม่ นานพอหรือไม่
 6.มีความวิตกกังวลอะไรหรือไม่
 7.ใช้จนิ ตนาการทางเพศระหว่างร่วมเพศหรือไม่ (Sexual fantasy)
มีอาการเจ็บปวดขณะร่วมเพศ
 1.เจ็บทีไ่ หน ระยะไหน ลึกๆ หรือทีป่ ากช่องคลอด
 2.ลักษณะการเจ็บปวด หน่วงๆ
 3.มีอาการตกขาว มีเลือดออกหรือไม่
 4.มีแผลทีป่ ากช่องคลอดหรือไม่
 5.มีการอักเสบในระบบขับถ่ายปัสสาวะหรือไม่ มีอาการเจ็บปวดในขณะมีอารมณ์เพศหรือไม่
 6.มีนา้ หล่อลืน่ หรือไม่
 7.มีการเกร็ง หดรัดตัวของช่องคลอดหรือไม่
 8.อาการหนีบขามีหรือเปล่า กลัวเจ็บหรือไม่
 9.การสอดใส่องคชาติสาเร็จหรือไม่ ร่วมเพศได้หรือไม่
 10.สอดนิ้วเข้าช่องคลอดได้หรือไม่
 11.สามีมปี ฏิกริ ยิ าอย่างไรกับปัญหานี้ โกรธ หงุดหงิด ผิดหวัง เห็นใจ หลังภายนอกช่
่
องคลอด
 12.มีประสบการณ์ทางเพศทีผ่ ดิ ปกติในอดีต
 13.มีประวัตกิ ารอักเสบ ผ่าตัดช่องคลอด ถูกข่มขืน โรคจิตมีปญ
ั หาเบีย่ งเบนทางเพศ
ปัญหาส่วนตัวของสามี
 ไม่หล่อ กริยามารยาทไม่ดี อ้วน ตัวเล็ก ดา ใช้ความรุนแรง พูดจาไม่สุภาพ
 สามีขาดความสนใจทีจ่ ะมีเพศสัมพันธ์กบั ภรรยา
 สามีมพ
ี ฤติกรรมเบีย่ งเบนทางเพศ ปฏิบตั ทิ างเพศวิธที น่ี ่ารังเกียจ
 ขาดประสบการณ์ทางเพศ ใช้วธิ รี ่วมเพศทีไ่ ม่ประทับใจ
 สามีสกปรก ดืม่ สุรามึนเมา หรือสูบบุหรี่จดั เป็ นประจา
3. FSFI (Female Sexual Function Index)
 (link to PDF file)
 19 questions for assessment of female
sexual dysfunction
 FSFI scoring (PDF file)
 Rosen, R., Brown, C., Heiman, J., Leiblum,
S., Meston, C., Shabsigh, R., Ferguson, D.,
D’Agostino, R Jr. (2000). The Female
Sexual Function Index (FSFI): a
multidimensional self-report instrument
for the assessment of female sexual
function. Journal of Sex & Marital
Therapy, 26, 191–208.
1.
2.






General PE เพือ่ พยายามหาสาเหตุทางกาย
Genital examination เพือ่ พยายามหาสาเหตุทางกายภาพของอวัยวะเพศ
NIUB/MIUB : pubic hair / perineum / introitus /
hymen / clitoris / urethra / Bartholin’s gland
Vaginal : discharge / rogue / atrophic /
infection
Cervix : inflammation / ulcer
Uterus : retroflexion / tenderness
Adnexa : tenderness / cystic lesion
Cul de sac : tender nodules
3. Sexological examination
 Pelvic floor assessment : strength, painful
contraction, relaxation
 Personal sexual enrichment assessment
 Specific sexological examination
Urine analysis
 STIs investigation
 Pap smear
 Urogynecologic study

Severity of problem
 Intention to be treated
 Patient’s adherence / compliance
 Holistic approach / Bio-psycho-social

1. Treatment of specific physical or mental conditions if
persisted
2. Sex education to affected couple
ให้ขอ้ มูลต่างๆ แก่คู่สมรสเรื่องเพศศึกษา มีความสาคัญช่วยให้การรักษาประสบความสาเร็จ
 1.ลักษณะของอวัยวะสืบพันธุ ์ ส่วนต่างๆ ทีป่ กติ
 2.การตอบสนองทางเพศหญิงและชายปกติและผิดปกติ
 3.กาจัดความเชื่อทีผ่ ดิ ให้ขอ้ มูลทีถ่ กู (Truth and Myth)
 4.ความบกพร่องทางเพศทีเ่ กิดขึ้นแก้ไขได้
 5.อย่าคาดหวังความสาเร็จในการักษาสูงเกินไป
 6.ความต้องการทางเพศของคนแต่ละคนแตกต่างกัน
 7.ใช้เวลาทีเ่ หมาะสมสาหรับการมีเพศสัมพันธ์
 8.รูจ้ กั ปฏิเสธเมือ่ ไม่พร้อมทีจ่ ะมีเพศสัมพันธ์
 9.รูจ้ กั ความต้องการทางเพศแตกต่างตามอายุ และเวลา
 10.สือ่ สารให้เข้าใจเรื่องเพศซึง่ กันและกัน
 11.สือ่ สารอะไรชอบ อะไรไม่ชอบ อะไรทาให้มอี ารมณ์
3. Sensate focus exercise
 ขัน้ ตอนต่อไปคือ การฝึ ก sensate focus exercise การฝึ กนี้เป็ น
พื้นฐานในการรักษาปัญหาทางเพศทุกชนิด แบ่งเป็ น 3 ระยะ
 ระยะแรก (non-genital sensate focus exercise) จะไม่
อนุญาตให้มกี ารสัมผัสอวัยวะเพศและเต้านมของคู่สมรส และไม่ให้มกี ารร่วมเพศ ทัง้ นี้
เพือ่ ให้คู่สมรสได้เรียนรูว้ า่ นอกจากอวัยวะเพศและเต้านมแล้ว การสัมผัสเล ้าโลมส่วนอื่นๆ
ของร่างกายก็สามารถทาให้เกิดอารมณ์และความสุขทางเพศได้เช่นกัน และยังเป็ นการลด
ความกังวลเกี่ยวกับการสัมผัสอวัยวะเพศและการร่วมเพศอีกด้วย ถ้าระหว่างฝึ กคู่สมรสมี
ความต้องการทางเพศสูงมากให้สาเร็จความใคร่ดว้ ยตนเองแทน
 ระยะต่อไป (genital sensate focus exercise) จะอนุ ญาตให้
มีการสัมผัสอวัยวะเพศและเต้านมได้ เพือ่ ให้เริ่มเรียนรูว้ า่ จะกระตุน้ อวัยวะเพศและเต้านม
อย่างไรจึงจะเป็ นทีพ่ อใจ ในระยะนี้ยงั ไม่อนุญาตให้คู่สมรสร่วมเพศเช่นกัน
 เมือ่ ปฏิบตั ไิ ด้ดจี งึ จะอนุ ญาตให้มกี ารร่วมเพศจริงๆหลังจากมีการเล ้าโลมตามวิธที ไ่ี ด้ฝึก
ปฏิบตั มิ าจนเกิดความตื่นตัวทางเพศดีแล ้ว
4. Kegel’s exercise
การฝึ กอีกอย่างหนึ่งทีม่ ปี ระโยชน์กบั ปัญหาทางเพศทุกชนิดคือการฝึ กขมิบกล ้ามเนื้อ
หูรูด (pubococcygeal muscle exercise) เพือ่ ให้
กล ้ามเนื้อนี้แข็งแรงซึง่ จะทาให้ช่องคลอดกระชับและเกิดความรูส้ กึ ดีข้นึ
5. Rest and relax
แนะนาเรื่องการพักผ่อน ผ่อนคลายจิตใจ ทาใจให้สบาย หาวิธคี ลายเครียด
6. Enrich relationship and intimacy
ค้นหาและแนะนาให้ใช้วธิ ที ใ่ี ห้เกิดความพึงพอใจ และเพิม่ ความสาคัญทีพ่ งึ พอใจและ
มีความสุข
7. Sexual fantasy
สอนเรื่องการใช้จนิ ตนาการทางเพศ
8. Tantra’s yoga for sex
9. Sexological hypnotherary
10. Medication
 Estrogen การรักษาให้ฮอร์โมนเอสโตรเจน มีประโยชน์ในการรักษาอาการ
หมดประจาเดือนและยังช่วยในเรื่องของปัญหากระดูกพรุน และโรคหัวใจ พร้อมทัง้
ยังช่วยเพิ่มความไวต่อความรู ส้ ึกของ clitoris เพิ่มความต้องการทางเพศ
อาการเจ็บปวดขณะร่ วมเพศลดน้อยลงด้วย การทาครีมหรือเจลผสมเอสโตรเจน
ช่ ว ยผ่ อ นคลายอาการช่ อ งคลอดแห้ง ปวดแสบ และปัส สาวะบ่ อ ย แสบขัด ได้
Vaginal ring ทีม่ ยี าฮอร์โมนเอสโตรเจนให้ฮอร์โมนอ่อนๆ มีประโยชน์
สาหรับสตรีทร่ี บั ประทานยาทางปากไม่ได้

Testosterone ยาฮอร์โมนเทสทอสโตโรนเหมาะสาหรับสตรีทร่ี งั ไข่หยุด
ทางานเร็วผิดปกติ และสตรีทข่ี าดฮอร์โมนเพศชายนี้ ซึง่ อาจเกิดโดยธรรมชาติหรือ
เป็ นผลจาการผ่าตัดหรือการรักษาด้วยยารักษามะเร็ง ยากินเทสทอสโตโรนมีขายใน
ประเทศไทย มีรายงานการใช้ยานี้ได้ผลมากน้อยเพียงใด ยังไม่มกี ารสรุปแน่ชดั
ขนาดของยา methytestosterone ระหว่าง 0.25-1.25
mg. ต่อวัน มีการเสนอแนะการใช้ยาฉีดและยาทาใช้กบั ผูป้ ่ วย ขนาดของยาต้อง
ให้ตามความเหมาะสมอของอาการ และต้องตรวจระดับของ
testosterone cholesterol triglyceride HDL
และ liver function test ด้วยอาการข้างเคียงของยานี้ คือ นา้ หนัก
ขึ้น clitoris ใหญ่ข้นึ มีขนขึ้นทีผ่ วิ หนัง และ cholesterol สูง มี่
รายงานพบว่าความรูส้ กึ ของ clitoris เพิม่ ช่องคลอดแห้งและมีอารมณ์ทางเพศ
เพิม่ เมือ่ ใช้ครีมเทสทอสโตโรน 2% ทา การใช้ยาวิธรี บั ประทานก็มรี ายงาน
ผลข้างเคียงคล ้ายๆ กัน
Silfenafil ยา Sildenafil ลด catabolism ของ cGMP
the second messenger ใน nitric oxide ผ่อนคลาย
clitoris และกล้ามเนื้อของช่องคลอด การศึกษาระยะที่ 2 และที่ 3 ของยานี้ใน
ผูห้ ญิงกาลังดาเนินการอยู่จากผลของการศึกษาเบื้องต้นแสดงว่า sildenafil อาจมี
ประโยชน์ในสตรีทม่ี คี วามบกพร่องทางเพศจากสาเหตุของอายุ วัยหมดประจาเดือน
อุบตั เิ หตุของเส้นประสาทสันหลัง
 Prostaglandin E1 ยา Prostaglandin E1 มีการศึกษาใน
ผูช้ ายและใช้ได้ผลโดยวิธีการฉีดและสอดในท่อขับถ่ายปัสสาวะได้ผลดี แต่การศึกษาใน
ผูห้ ญิงยังไม่มกี ารทดลองอย่างจริงจัง
 Phentolamine มีในแบบยากิน เป็ น nonspecific alpha
adrenergic blocker ออกฤทธิ์ทาให้กล ้ามเนื้อของเส้นเลือดผ่อนคลาย
ในผูห้ ญิง ในการศึกษาเบื้องต้นในผูห้ ญิงทีม่ คี วามบกพร่องทาเพศ พบว่าทาให้การ
ไหลเวียนของโลหิตในบริเวณช่องคลอดเพิม่ ขึ้น และมีความรูส้ กึ ตื่นตัวทางเพศ
 Apomorphine เป็ น dopamnic agonist ออกฤทธิ์ระยะ
สันทาให้เกิดผล การแข็งตัวของอวัยวะเพศชาย แต่การศึกษาในผูห้ ญิงทีม่ ีปญั หาทางเพศ
กาลังทดลองกันอยู่ แต่ผลการศึกษาเบื้องต้นได้ผลไม่ดเี ท่าทีค่ าดหวัง

11. Sex therapy
PLISSIT model : Annon 1976
Permission ส่งเสริมให้ผูป้ ่ วยพูดเกี่ยวกับปัญหาทางเพศของตน ให้ความ
มันใจแก่
่
ผูป้ ่ วยว่า ความคิด ความรูส้ กึ พฤติกรรม และสิง่ ทีว่ ติ กกังวลนัน้ เป็ นเรื่อง
ปกติและเข้าใจดี
2. Limited information สอนเรื่องเพศให้ผูป้ ่ วยทราบ เช่น เรื่องการ
ตอบสนองทางเพศ กายวิภาคของอวัยวะสืบพันธุ ์ ผลของยาต่างๆ ต่อหน้าที่ทางเพศ
เพือ่ ขจัดความเข้าใจทางเพศทีผ่ ดิ ๆ
3. Specific suggestions ให้คาแนะนาแบบเฉพาะ เช่น เรื่องการ
ทา sensate focus, masturbation
4. Intensive therapy จะใช้นอ้ ยทีส่ ุด เมือ่ วิธีการอื่นๆ ไม่ได้ผล เช่น
Master and Johnson sex therapy,
Kaplan model of sex therapy
1.






ISSM : International Society for Sexual
Medicine
SMSNA : Sexual Medicine Society of North
America
ESSM : The European Society for Sexual
Medicine
APSSM : Asia Pacific Society for Sexual
Medicine
ACS : American College of Sexologists
SSSS : Society for the Scientific Study of
Sexuality
JSM : The Journal of Sexual Medicine
 EJHS : Electronic Journal of Human
Sexuality
 IJSH : International Journal of Sexual
Health
 JSR : Journal of Sex Research

ลักษณะของผูร้ บั บริการ
› Female Sexual Disorders ได้ แก่ Orgasmic dysfunction, Frigidity, Dyspareunia
› Male Sexual Disorders ได้ แก่ Premature ejaculation, Erectile dysfunction, Retarded
ejaculation
› Male and Female Sexual Concerns ได้ แก่ ข้ อสงสัย ข้ อกังวลใจ ต่ างๆเกี่ยวกับเพศ ลักษณะ
ทางเพศ การร่ วมเพศ ของตนที่ต้องการคาปรึกษาจากผู้เชี่ยวชาญ
› Male and Female Sexual Variances ได้ แก่ Homosexuality, Pedophilia, Gerontophilia,
Necrophilia, Scatology, Sadistic and Masochistic, Fetishism
› Marriage and Family Therapy ได้ แก่ การทาครอบครั วบาบัดในกรณีครอบครั วมีปัญหาที่
พิจารณาเบือ้ งต้ นแล้ วน่ าจะเกิดจาก Sex, Love, Lust, and Intimacy
› Psychosexual test ได้ แก่ การทดสอบสุขภาพจิตสาหรั บผู้ป่วยต้ องการเปลี่ยนเพศ
› Sexually transmitted infections ได้ แก่ การรั กษาโรคติดต่ อทางเพศสัมพันธ์ (ทัง้ ผู้หญิงและ
ผู้ชาย)
› Post-exposure prophylaxis ได้ แก่ การป้องกันการติดเชือ้ ทางเพศสัมพันธ์ และเอดส์ ต่ อผู้รับ
คาปรึกษาที่มีเพศสัมพันธ์ โดยไม่ ได้ มีการป้องกัน หรือพลาดจากการป้องกัน (ทัง้ ผู้หญิงและ
ผู้ชาย) รวมทัง้ ผู้ท่ ถี ูกข่ มขืนกระทาชาเรา
ขอบเขตของการให้บริการ
 Sex Educating
 Sex Coaching
 Sex Counseling
 Sex Therapy
 MFT (Marriage and Family Therapy)
 Medical treatment
 Psychosexual test
“ทัง้ นี้จะเลือกการรักษาด้วยวิธใี ดนัน้ ขึ้นกับลักษณะของผูร้ บั การบริการและผูป้ ่ วย
(Client’s and Patient’s Profile) โดยปรับให้เข ้ากับ
ประเพณี วัฒนธรรม ศาสนา และกฏหมายไทย”