การประชุมทางวิชาการและนาเสนอผลงานวิจยั ประจาปี 2553 สถาบันวิจยั และพัฒนา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช วันที่ 8 เมษายน 2553 ณ อาคารสัมมนา 1 มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี งานวิจยั ที่ดีคดั สรรมาได้อย่างไร? รศ.ดร.วันชัย จันทร์ประเสริฐ ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ Editor-in-Chief: Kasetsart Journal (Natural Science) การคัดสรรงานวิจยั คัดสรรเพื่ออะไร? เพื่อให้ทุนอุดหนุนการวิจยั เพื่อให้รางวัล - เชิดชูเกียรติ วิธีคดั สรรงานวิจยั ที่ดีเพื่อให้ทนุ -ให้รางวัล กาหนดเกณฑ์ตดั สินให้เหมาะสม รอบคอบ ยุติธรรม ดาเนินการคัดสรรด้วยกระบวนการที่มีมาตรฐาน โปร่งใส ปราศจากอคติ และเป็ นที่ยอมรับ ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับคุณภาพงานวิจยั งานวิจยั มีที่มาต่างกัน ปัจจัยที่สาคัญได้แก่ – นักวิจยั – ทุนวิจยั และ – ปัจจัยแวดล้อมหรือความพร้อมขององค์กรที่นักวิจยั สังกัด องค์ประกอบของงานวิจยั – ปัจจัยนาเข้า (Input) – กระบวนการหรือการดาเนินงานวิจยั (Process) – ผลงาน (ผลผลิต / outputs) งานวิจยั ที่ดีคดั สรรมาได้อย่างไร? ตัวอย่างการกาหนดเกณฑ์ตดั สิน – ความชัดเจนของการนาเสนอโครงร่างหรือข้อเสนองานวิจยั – ศักยภาพของงานวิจยั ที่จะมีผลกระทบต่อสังคม – คุณภาพของการวางแผนและวิธีวิจยั – ประวัติและเกียรติประวัติของหัวหน้ าโครงการ – ความเหมาะสมของทุนวิจยั – แผนการดาเนินงาน และการใช้จ่ายงบประมาณ – ผลกระทบของโครงการต่อการพัฒนางานวิจยั (แต่ละข้อมีเกณฑ์กากับการให้คะแนนอย่างชัดเจน) งานวิจยั ที่ดีคดั สรรมาได้อย่างไร? การคัดสรรงานวิจยั ผลงาน (output) ผลลัพธ์ (outcome) ผลกระทบ (impact) งานวิจยั ที่ดีคดั สรรมาได้อย่างไร? พิจารณาจาก... – ผลงานวิจยั ที่สงั คมนาไปใช้ประโยชน์ – บทความวิจยั ในวารสารระดับชาติหรือนานาชาติ (วารสารที่ มี JIF) หรือการนาเสนอผลงานในเวทีนานาชาติ (ได้รบั รางวัลการนาเสนอในการประชุมนานาชาติ) – ผลงานสร้างสรรค์ หรือสิ่งประดิษฐ์ (สิทธิบตั ร) วารสารมาตรฐานนานาชาติ การจัดอันดับวารสารในประเทศไทย สกอ. TCI (Thai-Journal Citation Index) วารสารที่ สกอ. ประกาศให้เป็ น International Journals 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. ScienceAsia Songklanakarin Journal of Science and Technology ECTI Transactions on Electrical Engineering, Electronics and Communication (ECTI-EEC) Thai Journal of Agricultural Science Asian Pacific Journal of Allergy and Immunology The Southeast Asian Journal of Tropical Medicine and Public Health Journal of the Medical Association of Thailand Thai Forest Bulletin Siriraj Hospital Gazette Asian Biomedicine (Research, Reviews and News) Asian Journal of Energy and Environment Journal of Environmental Research Kasetsart Journal (Natural Science) เกณฑ์การพิจารณาคุณภาพวารสาร ออกตรงเวลา มี peer review คุณวุฒแิ ละเกียรติประวัตขิ อง editorial board & advisory editorial board คุณวุฒิและเกียรติประวัติของ reviewer ขอบเขตการเผยแพร่ และความแพร่ หลายของวารสาร การเข้ าถึง website แหล่ งทีม่ าของเรื่องที่ลงตีพมิ พ์ ความเป็ นนานาชาติ การถูกรวมเข้ าใน database ต่ าง ๆ (ที่สาคัญ SCI, SCOPUS) การถูกอ้ างอิงในวารสารนานาชาติอน ื่ ๆ (citation) ฐานข้ อมูลทีจ่ ดั อันดับคุณภาพวารสารด้ วย Impact Factor Science Citation Index Expanded™ (SCI™ Expanded) Science Citation Index Expanded is a multidisciplinary index to the journal literature of the sciences. It fully indexes over 6,650 major journals across 150 scientific disciplines and includes all cited references captured from indexed articles. Some of the disciplines covered include: Agriculture Astronomy Biochemistry Biology Biotechnology Chemistry Computer Science Materials Science Mathematics Medicine Neuroscience Oncology Pediatrics Pharmacology Physics Plant Sciences Psychiatry Surgery Veterinary Science Zoology Institute for Scientific Information (ISI) – Thomson Reauters Journal Citation Report of ISI JCR provides quantitative tools for ranking, evaluating, categorizing, and comparing journals. The impact factor is one of these; it is a measure of the frequency with which the "average article" in a journal has been cited in a particular year or period. ต้ องบอกรับเป็ นสมาชิกจึงจะสามารถเข้ าดูผลการจัดอันดับ Impact factor ได้ ขณะนี้ สถาบันที่บอกรับได้ แก่ CU, Mahidol & TU Impact Factor: How to calculate? The impact factor for a journal is calculated based on a three-year period, and can be considered to be the average number of times published papers are cited up to two years after publication. For example, the impact factor 2010 for a journal would be calculated as follows: A = the number of times articles published in 2008-9 were cited in indexed journals during 2010 B = the number of articles, reviews, proceedings or notes published in 2008-2009 impact factor 2010 = A/B (note that the impact factor 2009 will be actually published in 2010, because it could not be calculated until all of the 2009 publications had been received. Impact factor 2010 will be published in 2011) คิดขืน้ โดย Dr Eugene Garfield ~1996 เปรียบเทียบค่ า JIF ของวารสารวิชาการสาขาต่ างๆ Discipline Immunology Microbiology Infectious Diseases Entomology Food Sci & Tech Zoology Veterinary sciences Agronomy Agric, Dairy & Anim Sci Soil Sci Forestry Av IF of top-ten journals 16.778 10.578 5.583 3.430 2.958 2.901 2.300 2.023 1.879 1.766 1.725 BMJ 1997;314:497 (15 February) Why the impact factor of journals should not be used for evaluating research Per O Seglen, professor a a Institute for Studies in Research and Higher Education (NIFU) Hegdehaugsveien 31 N-0352 Oslo Norway Introduction Evaluating scientific quality is a notoriously difficult problem which has no standard solution. Ideally, published scientific results should be scrutinised by true experts in the field and given scores for quality and quantity according to established rules. In practice, however, what is called peer review is usually performed by committees with general competence rather than with the specialist's insight that is needed to assess primary research data. Committees tend, therefore, to resort to secondary criteria like crude publication counts, journal prestige, the reputation of authors and institutions, and estimated importance and relevance of the research 1 field, making peer review as much of a lottery as of a rational process. 2 3 On this background, it is hardly surprising that alternative methods for evaluating research are being sought, such as citation rates and journal impact factors, which seem to be quantitative and objective indicators directly related to published science. The . . . [Full text of this article] Is the journal impact factor really representative of the individual journal articles? Relation of journal impact factor and citation rate of article Journal impact factors are calculated in a way that causes bias Limitations of the database Journal impact factors depend on the research field Is the impact of an article increased by publication in a high impact journal? ความคิดเห็น ต่อค่า IF - ขึน้ อยู่กบั res field - อาจไม่เป็ นธรรมชาติ - เป็ นการนับเชิงปริมาณ - วารสารที่ดี มีคณ ุ ภาพ สูงและได้รบั การยอมรับ อย่างสูง อาจมีค่า IF ตา่ ก็ได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง วารสารวิชาการเฉพาะ ทาง ฐานข้อมูลนานาชาติที่จดั อันดับวารสารวิชาการ และดัชนี การอ้างอิงวารสารวิชาการนานาชาติ ฐานข้อมูลนานาชาติ SCI ค่าดัชนี ชี้วดั คุณภาพวารสาร -> ค่า JIF (journal impact factor) SCOPUS -> ค่า SJR, SNIP Harzing’s Publish or Perish -> h-index, g-index etc. ERA -> Grade A*, A, B, C การจัดอันดับวารสารนานาชาติของ SCOPUS ค่ า SJR และค่ า SNIP Scopus® is a registered trademark of Elsevier B.V. Copyright © 2010 Elsevier B.V. All rights reserved. Kasetsart Journal (Natural Science) มี SJR = 0.036 Kasetsart Journal (Social Sciences) มี SJR = 0.034 Kasetsart Journal (Natural Science) มี SNIP = 0.067 Kasetsart Journal (Social Sciences) มี SNIP = การสืบค้นการอ้างอิงของวารสารนานาชาติ ในฐานข้อมูล Harzing’s Publish or Perish พิมพ์ Kasetsart Journal Journal impact analysis ฐานข้ อมูล The Excellence in Research for Australia ERA The Excellence in Research for Australia (ERA) Initiative On 26 February 2008, the Minister for Innovation, Industry, Science and Research, the Hon. Senator Kim Carr, announced his plans for a new research quality and evaluation system. The Excellence in Research for Australia (ERA) initiative assesses research quality within Australia's higher education institutions using a combination of indicators and expert review by committees comprising experienced, internationally-recognised experts. ERA uses leading researchers to evaluate research in eight discipline clusters. ERA will detail areas within institutions and disciplines that are internationally competitive, as well as point to emerging areas where there are opportunities for development and further investment. A 2009 trial of ERA evaluated the Physical, Chemical and Earth Sciences (PCE) and Humanities and Creative Arts (HCA) clusters, and informed the full 2010 process. The national report for both these trials is now available. Rank Interpretation A* – Best or leading journal in its field - publishes outstanding, original and rigorous research that will shape the field. Acceptance rates are typically low and the editoria lboard is dominated by leading scholars in the field or subfield, including from top institutions in the world. Where relevant to the field or subfield, the journal has the highest impact factors or other indices of high reputation. A – Highly regarded journal in the field or subfield - publishes excellent research in terms of originality, significance and rigour, has competitive submission and acceptance rates, excellent refereeing process and where relevant to the field or subfield, has higher than average impact factors. Not all highly regarded journals have high impact factors, especially those in niche areas. B – Well regarded journal in the field or subfield - publishes research of a good standard in terms of originality, significance and rigour and papers are fully refereed according to good standards and practices but acceptance rates are higher than for Tiers A* and A. Depending on the field or sub-field, will have a modest impact factor and will be ISI listed. C – A recognised journal - publishes research that is of a modest standard and/or is งานวิจยั ทีด่ ี - คัดสรรเพือ่ ตีพิมพ์ใน วารสารวิชาการทีม่ ีคณ ุ ภาพ งานวิจยั ที่มีคุณภาพ Originality วัตถุประสงค์ ชดั เจน ค้นคว้าและตรวจเอกสารงานวิจยั ครอบคลุมทัว่ ถึง วางแผนทางสถิตถิ ูกต้องและเหมาะสม วิธีวจิ ัยถูกต้องและสุ่ มเก็บข้อมูลเหมาะสม วิเคราะห์ และแปลผลถูกต้อง ลักษณะที่ดีของบทความวิจยั ชื่อเรื่อง : ชัดเจน เข้าใจง่าย ครอบคลุมขอบข่ายของปัญหาที่ศึกษา ความเป็ นมา : อธิบายถึงปัญหาอย่างชัดเจน บอกเจตนาและเหตุผลของการวิจยั กล่าวถึงรากฐานทางทฤษฎีของงานวิจยั และงานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง วัตถุประสงค์งานวิจยั : ชัดเจนและครอบคลุม วิธีวิจยั : มีรายละเอียด รัดกุม ระบุจานวนและขนาดตัวอย่าง การวางแผนงานทาง สถิติที่เหมาะสม ผล : ลาดับเนื้ อหาเหมาะสม แสดงผลทางสถิติ ตาราง รูป มีคาอธิบายได้ครอบคลุม อ่านเข้าใจได้รวดเร็ว ชี้ประเด็นสาคัญของผลการวิจยั วิจารณ์ : อภิปรายในประเด็นสาคัญต่าง ๆ กล่าวอ้างเปรียบเทียบกับงานวิจยั ที่ผา่ นมา สรุป : สรุปผลการทดลองในประโยคหรือย่อหน้ าท้ายของวิจารณ์ หรือผลและวิจารณ์ ผลงานวิจยั สาเร็จสมบูรณ์ ตีพิมพ์ในวารสารนานาชาติ การคัดสรรงานวิจยั ที่ดีจากผลงานตีพิมพ์ การคัดสรรงานวิจยั ที่ดีจากผลงานตีพิมพ์ การคัดสรรงานวิจยั ที่ดีจากผลงานตีพิมพ์ การคัดสรรงานวิจยั ที่ดีจากผลงานตีพิมพ์