การจัดประสบการณ์การเรียนรูแ้ บบโครงงาน ในระดับปฐมวัย PROJECT-BASED LEARNING (PBL) สาขาปฐมวัย สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กิจกรรมทบทวนการสืบเสาะหาความรู ้ ลูกบาศก์ปริศนา ? ท่านได้ทาอะไรแบบนักวิทยาศาสตร์ จากกิจกรรมลูกบาศก์ปริศนา แผนผังการสืบเสาะหาความรู ้ ผูเ้ รียนมีสว่ นร่วมในประเด็นคาถาม ทางวิทยาศาสตร์ ผูเ้ รียนสือ่ สารและให้เหตุผล ผูเ้ รียนเชื่อมโยงคาอธิบายของตนกับความรูท้ าง วิทยาศาสตร์หรือคาอธิบายอื่นๆ ผูเ้ รียนให้ความสาคัญ กับข้อมูลหลักฐาน ผูเ้ รียนสร้างคาอธิบายเชิงวิทยาศาสตร์ตาม ข้อมูลหลักฐาน ปรับปรุงจาก National Research Council. (2000). Inquiry and the national science education standards: A guide for teaching and learning. ั้ ยน ื เสาะหาความรูใ้ นชนเรี ระด ับความยืดหยุน ่ ของการสบ ื เสาะหาความรู ้ ระด ับการสบ ล ักษณะจาเป็น ่ นร่วมในคาถาม การมีสว ตัง้ คาถามเอง เลือกและปรับ คาถามจากที่ กาหนดให ้ เลือกคาถามจาก ทีก ่ าหนดให ้ ครูเป็ นคนตัง้ คาถาม การเก็บข้อมูลหลักฐาน วางแผนและเก็บ ข ้อมูลเอง ี้ นะใน ได ้รับการชแ การเก็บข ้อมูล ได ้รับข ้อมูลเพือ ่ นาไปวิเคราะห์ ครูให ้ข ้อมูล และบอกวิธ ี วิเคราะห์ ทาความเข ้าใจ ข ้อมูล อธิบายและ สรุปเอง ี้ นะใน ได ้รับการชแ การอธิบายและ สรุป ได ้รับแนวทางใน การอธิบายและ สรุป ครูอธิบายและ สรุป ค ้นหาและ ื่ มโยงเอง เชอ ี้ นะ ได ้รับการชแ แหล่งข ้อมูล ครูแนะนาการ ื่ มโยง เชอ ื่ มโยงให ้ ครูเชอ การอธิบายสงิ่ ทีพ ่ บ ื่ มโยงสงิ่ ทีพ การเชอ ่ บ กับสงิ่ ทีผ ่ ู ้อืนพบ ื่ สารและให ้ การสอ เหตุผล ื่ สารชด ั เจน ตรง ได ้รับการชแ ี้ นะใน สอ ื่ สาร ประเด็น มีหลักการ การสอ มาก ื่ สาร ครูแสดง ครูชว่ ยให ้สอ ได ้ตรงประเด็น ขัน ้ ตอนและ ื่ สาร วิธก ี ารสอ โอกาสในการเรียนรูด ้ ว้ ยต ัวเอง น้อย ปรับปรุงจาก National Research Council. (2000). Inquiry and the national science education standards: A guide for teaching and learning. ตั้งคาถามเชิงวิทยาศาสตร์ สื่อสารและนาเสนอ 6 สารวจตรวจสอบเก็บรวบรวมข้อมูล ตอบคาถาม อ้างอิงข้อมูล สร้างคาอธิบายอย่างมีเหตุผล ตัวอย่างการจัดประสบการณ์เรียนรู ้ ในกิจกรรมนี้ ผูเ้ รียนได้สืบเสาะหาความรูอ้ ย่างไร กิจกรรมนี้เป็ นการจัดประสบการณ์เรียนรูแ้ บบโครงงานหรือไม่ เพราะเหตุใด กิจกรรมสืบเสาะหาความรูเ้ กี่ยวกับการจัดประสบการณ์การเรียนรูแ้ บบโครงงาน Project-Based Learning (PBL) ท่านเคยทราบ หรือ มีประสบการณ์เกี่ยวกับการจัดประสบการณ์การเรียนรูแ้ บบ โครงงาน (Project-Based Learning: PBL) หรือไม่ อย่างไร ร่วมกันอภิปรายและเขียนสิ่งที่รูเ้ กี่ยวกับการจัด ประสบการณ์การเรียนรูแ้ บบโครงงาน (PBL) ลงใน post it และติดบนบอร์ด แยก 3 ประเด็น: • ความหมายและลักษณะสาคัญ • ความสาคัญ • วิธีการหรือกระบวนการจัด ประสบการณ์การเรียนรู ้ กิจกรรมสืบเสาะหาความรูเ้ กี่ยวกับการจัดประสบการณ์การเรียนรูแ้ บบโครงงาน Project-Based Learning (PBL) ท่านอยากรูอ้ ะไรเกี่ยวกับการจัดประสบการณ์เกี่ยวกับการจัดประสบการณ์ การเรียนรูแ้ บบโครงงาน (Project-Based Learning: PBL) ร่วมกันอภิปรายและเขียนคาถามที่อยากรู ้ เกี่ยวกับการจัดประสบการณ์การเรียนรูแ้ บบ โครงงาน (PBL) ใน 3 ประเด็นเดิม เลือกนาเสนอในประเด็นคาถามที่คิดว่าสาคัญ ที่สุด กิจกรรมสืบเสาะหาความรูเ้ กี่ยวกับการจัดประสบการณ์การเรียนรูแ้ บบโครงงาน Project Based Learning (PBL) ท่านจะทาอย่างไรในการหาคาตอบที่สงสัยเกี่ยวกับการจัดประสบการณ์เกี่ยวกับ การจัดประสบการณ์การเรียนรูแ้ บบโครงงาน (Project-Based Learning: PBL) • ร่วมกันวางแผนและหาคาตอบของ คาถามที่อยากรูเ้ กี่ยวกับการจัด ประสบการณ์การเรียนรูแ้ บบโครงงาน (PBL) • นาเสนอคาตอบที่ได้ ในแต่ละประเด็น การจัดประสบการณ์การเรียนรูแ้ บบโครงงาน (PBL) คืออะไร What Is Project-Based Learning? การเรียนรู ซ้ ึ่ งผูเ้ รียนมี โอกาสเผชิ ญปั ญหาและ จัด การกับ ประเด็ น ปั ญ หาที่ มี ค วามส าคัญ ต่ อ ผู อ้ ื่ น นอกเหนือจากห้องเรียน และ ผูเ้ รียนสามารถบอกได้ ว่าทาไมเราต้องรูส้ ิ่งนี้ จาก Project-Based Learning Guide, โดย National Academy Foundation and Pearson Foundation การจัดประสบการณ์การเรียนรูแ้ บบโครงงาน (PBL) คืออะไร What Is Project-Based Learning? ผู ้ เ รี ย น มี ส่ ว น ร่ ว ม ใ น ก า ร เ รี ย น รู ้ อ ย่ า ง กระตือรือร้นและมีโอกาสตัดสินใจในประเด็นสาคัญ ระหว่ างทาโครงงาน และได้เ รีย นรู ท้ ี่ จะใช้ความรู ้ ควบคู่กับความคิดสร้างสรรค์ โดยครูและผูเ้ รียนมี ประสบการณ์เรียนรูร้ ว่ มกัน (co-learners) จาก Project-Based Learning Guide, โดย National Academy Foundation and Pearson Foundation การจัดประสบการณ์การเรียนรูแ้ บบโครงงาน (PBL) คืออะไร What Is Project-Based Learning? ผูเ้ รียนได้แสดงออกถึงความรูแ้ ละทักษะที่ ตนได้ เรียนรู ้ ด้วยหลักฐานที่ชดั เจน โดยโครงงานและการ แสดงนิ ท รรศการเป็ นหลัก ฐานของกระบวนการ ท างานและการเรี ย นรู ้ด ้ว ยตนเองของผู ้เ รี ย น (self-directed learning) จาก Project-Based Learning Guide, โดย National Academy Foundation and Pearson Foundation What is Project Based Learning? จาก http://pbl-online.org/faqs/faqs.htm Project Based Learning (PBL) is an inquiry based process for teaching and learning. In PBL, students focus on a complex question or problem, then answer the question or solve the problem through a collaborative process of investigation over an extended period of time. What is Project Based Learning? จาก http://pbl-online.org/faqs/faqs.htm Projects often are used to investigate authentic issues and topics found outside of school. During the inquiry process, students learn content, information, and fact necessary to draw conclusions about the questions. Students also learn valuable skills and habits of mind during the process. สรุปความสัมพันธ์ระหว่าง Project Based Learning และ Project Approach Project Based Learning (=การจัดการเรียนรูโ้ ดยใช้โครงงานเป็ นฐาน) Project Approach (=กระบวนการจัดการเรียนรูใ้ น ชั้นเรียนโดยนาขั้นตอนของการ ทาโครงงานมาเป็ นขั้นตอนของ การเรียนการสอน) สรุปความสัมพันธ์ระหว่าง Project Based Learning การจัดการเรียนรูใ้ นชั้นเรียน (Classroom Activity) และ Project Approach การทาโครงงาน (Project Work) Project Based Learning (=การจัดการเรียนรูโ้ ดยใช้โครงงานเป็ นฐาน) เรียนรูใ้ นชั้นเรียน ขยายความรู/้ ฝึ กทักษะด้วยโครงงาน เช่น Science Project/ Thesis/ ปั ญหาพิเศษ เรียนรูผ้ ่านการททาโครงงานในชั าโครงงาน ้นเรียน เช่น Project approach สรุปความหมายของ Project-Based Learning โดย Buck Institute for Education: BIE What is PBL? In Project Based Learning (PBL), students go through an extended process of inquiry in response to a complex question, problem, or challenge. While allowing for some degree of student "voice and choice," rigorous projects are carefully planned, managed, and assessed to help students learn key academic content, practice 21st Century Skills (such as collaboration, communication & critical thinking), and create high-quality, authentic products & presentations. ที่มา http://www.bie.org/about/what_is_pbl ความสาคัญของการจัดประสบการณ์การเรียนรูแ้ บบโครงงาน ที่มา http://www.gotoknow.org/posts/501199 องค์ประกอบสาคัญของการจัดประสบการณ์การเรียนรูแ้ บบโครงงาน PBL Essential Elements โดย Buck Institute for Education: BIE 1.มุ่งไปที่เนื้อหาสาระที่สาคัญและมีความหมายต่อผูเ้ รียน (Focus on Significant Content) โครงงานนี้ มีการสอนความรูแ้ ละทักษะที่สาคัญตามมาตรฐานการเรียนรูแ้ ละ แนวคิดหลักตามสาระการเรียนรูข้ องวิชาต่าง ๆ 2.พัฒนาทักษะสาหรับศตวรรษที่ 21 (Develop 21st Century Skills) ผูเ้ รียนได้รบั การส่งเสริมพัฒนาและประเมินทักษะที่จาเป็ นในโลกปั จจุบนั เช่น การคิดเชิงวิพากษ์ การแก้ปัญหา การให้ความร่วมมือ การสื่อสาร องค์ประกอบสาคัญของการจัดประสบการณ์การเรียนรูแ้ บบโครงงาน PBL Essential Elements โดย Buck Institute for Education: BIE 3.ผูเ้ รียนมีสว่ นร่วมในการสืบเสาะหาความรูเ้ ชิงลึก (Engage Students in In-depth Inquiry) ผูเ้ รียนได้ร่วมอย่างจริงจังในกระบวนการของการถามคาถามที่นาไปสู่การ สารวจตรวจสอบได้จริง ได้ใช้แหล่งเรียนรูต้ ่างๆ และสร้างคาตอบ 4.กาหนดแนวทางด้วยคาถามนา (Organize Tasks around a Driving Question) การทาโครงงานจะเน้นที่การใช้คาถามปลายเปิ ดเพื่อที่จะนาผูเ้ รียนให้ พิจารณาการสารวจค้นคว้าหรือแนวทางในการทางานให้สาเร็จ องค์ประกอบสาคัญของการจัดประสบการณ์การเรียนรูแ้ บบโครงงาน PBL Essential Elements โดย Buck Institute for Education: BIE 5.สร้างความต้องการที่จะรู ้ (Establish a Need to Know) ผูเ้ รียนเห็นความจาเป็ นที่จะต้องมีความรู ้ ความเข้าใจในแนวคิดต่างๆ และการ ประยุกต์ใช้ทกั ษะต่างๆ เพื่อตอบคาถามนา และสร้างผลผลิตของโครงงาน โดย เริ่มจากสถานการณ์หรือเหตุการณ์ที่กระตุน้ ให้ผเู ้ รียนสนใจและอยากรูอ้ ยากเห็น 6.กระตุน้ ให้แสดงความเห็นและเลือก (Encourage Voice and Choice) เปิ ดโอกาสให้ผเู ้ รียนได้ตดั สินใจเลือกด้วยตนเอง ในการสร้างผลงาน การกาหนด วิธีการทางานและการใช้เวลา โดยมีครูคอยแนะนาช่วยเหลือตามความเหมาะสม กับช่วงวัยและประสบการณ์ในการเรียนรูแ้ บบโครงงาน องค์ประกอบสาคัญของการจัดประสบการณ์การเรียนรูแ้ บบโครงงาน PBL Essential Elements โดย Buck Institute for Education: BIE 7.รวมการทบทวนและการสะท้อนสิ่งที่เรียนรูเ้ ข้าด้วยกัน (Incorporate Revision and Reflection) เปิ ดโอกาสหรือมีกระบวนการที่ให้ผเู้ รียนได้ใช้ผลสะท้อนกลับ (feedback)ในการพิจารณาปรับปรุงและเปลี่ยนแปลงผลงานให้มีคุณภาพ ที่สงู ขึ้ น และได้ทบทวนถึงสิ่งที่กาลังเรียนรูแ้ ละวิธีการเรียนรู ้ 8.ผูช้ มสาธารณะมีสว่ นร่วม (Include a Public Audience) ผูเ้ รียนได้นาเสนอผลงานต่อบุคคลอื่นๆ นอกเหนื อจากเพื่อนร่วมชั้นเรียน และครู ปั จจัยที่บ่งชี้ถึงการจัดประสบการณ์การเรียนรูแ้ บบโครงงานที่มี ประสิทธิภาพ The Six A’s of Project-Based Learning 1. ความน่าเชื่อถือ (Authenticity) โครงงานนั้นควรได้ออกแบบหรือวางแผนโดยยึดหลักความน่ าเชื่อถือ เป็ นความจริงที่สามารถนาผูเ้ รียนไปสู่การทางานอย่างมีวตั ถุประสงค์ หรือเป้าหมาย และผูเ้ รียนสนใจ มีความสุขในการทา นอกจากนี้ โครงงานควรเชื่อมโยงกับโลกของความเป็ นจริงหรือเกิดขึ้ นหรือเห็น ได้ในชีวิตประจาวัน จาก Project-Based Learning Guide, โดย National Academy Foundation and Pearson Foundation ปั จจัยที่บ่งชี้ถึงการจัดประสบการณ์การเรียนรูแ้ บบโครงงานที่มี ประสิทธิภาพ The Six A’s of Project-Based Learning 2. ความแม่นยาทางเนื้อหาวิชาการ (Academic Rigor) โครงงานมีเนื้ อหาทางวิชาการที่ทา้ ทายและเป็ นที่สนใจใคร่ศึกษาแก่ ผูเ้ รียนอยูต่ ลอดระยะเวลาที่ทาโครงงาน ที่จะทาให้ผเู้ รียนสนใจศึกษา และทาความเข้าใจในเนื้ อหาพร้อมกับได้พฒ ั นาการใช้ทกั ษะการคิด จาก Project-Based Learning Guide, โดย National Academy Foundation and Pearson Foundation ปั จจัยที่บ่งชี้ถึงการจัดประสบการณ์การเรียนรูแ้ บบโครงงานที่มี ประสิทธิภาพ The Six A’s of Project-Based Learning 3. ความเชื่อมโยงกับผูใ้ หญ่รอบข้าง (Adult Connections) โครงงานควรมีความเกี่ยวข้องเชื่อมโยงกับผูใ้ หญ่รอบข้าง ทั้งในและ นอกโรงเรียน ที่สามารถสนับสนุ นและจุดประกายให้ผเู้ รียนเรียนรูไ้ ด้ อย่างมีความหมาย จาก Project-Based Learning Guide, โดย National Academy Foundation and Pearson Foundation ปั จจัยที่บ่งชี้ถึงการจัดประสบการณ์การเรียนรูแ้ บบโครงงานที่มี ประสิทธิภาพ The Six A’s of Project-Based Learning 4. การสารวจอย่างกระตือรือร้น (Active Exploration) โครงงานนั้นส่งเสริมการสารวจที่ผเู้ รียนจะต้องทุ่มเททั้งแรงกายและ แรงใจในการลงมือปฏิบตั ิ ตลอดจนงานภาคสนามหรือนอกห้องเรียน จาก Project-Based Learning Guide, โดย National Academy Foundation and Pearson Foundation ปั จจัยที่บ่งชี้ถึงการจัดประสบการณ์การเรียนรูแ้ บบโครงงานที่มี ประสิทธิภาพ The Six A’s of Project-Based Learning 5. การเรียนรูท้ ี่นามาประยุกต์ใช้ (Applied Learning) โครงงานนั้นส่งเสริมให้ผเู้ รียนได้ใช้การเรียนรูแ้ ละทักษะต่างๆ ที่ เรียนผ่านมา ในสถานการณ์ที่เรียนรูใ้ หม่ๆ ตามความเหมาะสม จาก Project-Based Learning Guide, โดย National Academy Foundation and Pearson Foundation ปั จจัยที่บ่งชี้ถึงการจัดประสบการณ์การเรียนรูแ้ บบโครงงานที่มี ประสิทธิภาพ The Six A’s of Project-Based Learning 6. วิธีการประเมินผล (Assessment Practices) โครงงานมีวิธีการประเมินผลที่มีคุณภาพควรเปิ ดโอกาสให้ผูเ้ รียน ได้รบั การประเมินผล และทราบผลสะท้อนจากการประเมินทั้งใน ระหว่างและหลังจากการทาโครงงาน จาก Project-Based Learning Guide, โดย National Academy Foundation and Pearson Foundation กิจกรรมวิเคราะห์กรณีศึกษา การจัดประสบการณ์การเรียนรูแ้ บบโครงงานในระดับปฐมวัยที่มีประสิทธิภาพ ท่านคิดว่าการจัดประสบการณ์การเรียนรูแ้ บบโครงงาน (PBL) ที่มี ประสิทธิภาพเป็ นอย่างไร • ศึกษาตัวอย่างการจัดประสบการณ์การเรียนรูแ้ บบโครงงาน เรื่อง The Lunch Project แล้วร่วมกันวิเคราะห์ • องค์ประกอบของการจัดประสบการณ์ • กระบวนการของการจัดประสบการณ์ • ประสิทธิภาพของการจัดประสบการณ์ • การสืบเสาะหาความรูข้ องผูเ้ รียนในการจัดประสบการณ์