06class3-4 13092557

advertisement
Class 3-4
เรื่ องที่ ๒
ว่าด้วย กฎหมายอาญาสารบัญญัติ และทฤษฤีรองรับ
(Substantive Criminal Law and its making )
ชั้นเรี ยนที่ ๓ ทฤษฎีอาญา Criminal theories
ชั้นเรี ยนที่ ๔ ทฤษฎีโทษ Punishment
theories
คานา
• การนิติบญั ญัติทางอาญานั้น แบ่งออกได้เป็ นสองส่ วนด้วยกัน ส่ วนแรก
เป็ นส่ วนของสารบัญญัติ ซึ่งเป็ นเรื่ องของการให้คานิยามแก่พฤติกรรมที่
ต้องห้าม พร้อมกันนั้นก็จะกาหนดผลลัพธ์ของพฤติกรรม เช่นการ
ลงโทษ หรื อ มาตรการอื่นใดที่เหมาะสม อันถือกันว่าเป็ นสภาพบังคับ
ส่ วนที่สองเป็ นส่ วนของวิธีการ ที่เรี ยกกันว่า วิธีสบัญญัติ
เรื่ องที่ควรพิจารณา
• เหตุไร จึงมีความผิดอาญา
– ในครั้งแรกเริ่ มคือการกาหนด การชดเชยความเสี ยหาย เช่นกฎหมายของฮัมมู
ราบี
– ต่อมาเป็ นการกาหนดผลของการกระทาความผิดทางศาสนา โดยศาลของ
ศาสนา
• วิวฒั นาการของความผิดอาญา
– การจัดประเภทของความผิด
Chauvet Cave Art
The Chauvet cave paintings in southeastern France are some of the oldest and most spectacular examples of Ice Age art ever found. The red and black
drawings and engravings depict a wide range of animals, from the more common horses and bison to the rarer lions and rhinoceroses. The paintings have
been dated to 32,000 years ago.
การยุติขอ้ พิพาทอย่างเป็ นกระบวนการ
• ผูท้ ี่ได้รับมอบหมายจากสิ่ งศักดิสิทธิ์
• องค์ประชุมของผูท้ ี่มี และ ไม่มีส่วนได้เสี ย
• ผูท้ ี่เดือดร้อนและมาขอที่พ่ งึ ต้องยอมรับความศักดิ์สิทธิ์ของคาสัง่
Stele of Hammurabi
The Code of Hammurabi is engraved on the
black basalt of this stele, which is 2.25 m (7 ft 5
in) high and was made in the first half of the
18th century bc. The top portion, shown here,
depicts Hammurabi with Shamash, the sun god.
Shamash is presenting to Hammurabi a staff
and ring, which symbolize the power to
administer the law. Prior to Hammurabi’s reign
(1792-1750 bc), Babylon was just one of several
competing kingdoms in Mesopotamia.
Hammurabi, with the help of his impressive
Babylonian army, conquered his rivals and
established a unified Mesopotamia. He proved to
be as great an administrator as he was a
general.
ฮัมมูราบี กับความยุติธรรม
• พระเจ้ามอบหมายให้กษัตริ ย ์ นาความยุติธรรมมาสู่แผ่นดิน ทาลายล้าง
คนชัว่ และคนพาล
• แผ่นดินต้องได้รับการดูแลปกป้ อง โดยผูป้ กครองที่ดี และมัน่ คง
• คาบัญชาของฮัมมูราบีถูกจารึ กไว้ เพื่อปกป้ องผูอ้ ่อนแอจากการข่มแหง
รังแกของผูท้ ี่แข็งแรงกว่า
Justice for all as equal
รัฐย่อมให้ความเป็ นธรรมอย่างเสมอภาค
• The code is particularly humane for the time in which it
was promulgated; it attests to the law and justice of
Hammurabi's rule. It ends with an epilogue glorifying the
mighty works of peace executed by Hammurabi and
explicitly states that he had been called by the gods “to
cause justice to prevail in the land, to destroy the wicked
and the evil.” He describes the laws in his compilation as
enabling “the land to enjoy stable government and good
rule,” and he states that he had inscribed his words on a
pillar in order “that the strong may not oppress the weak,
that justice may be dealt the orphan and the widow.”
ผูท้ ี่ถูกยา่ ยี จะได้รับการเยียวยา หากมีเหตุอนั คู่ควรต่อการรับ
การร้องเรี ยน และการร้องเรี ยนนั้นต้องเป็ นไปตามคาที
ปรากฎในจารึ ก
• Hammurabi counsels the downtrodden in
these ringing words: “Let any oppressed man
who has a cause come into the presence of
my statue as king of justice, and have the
inscription on my stele read out, and hear my
precious words, that my stele may make the
case clear to him; may he understand his
cause, and may his heart be set at ease!”
เงื่อนไขแห่งความยุติธรรม
• any oppressed man who has a cause (เหตุแห่งความเดือดร้อน)
• come into the presence of my statue as king of justice,
and
• have the inscription on my stele read out, and hear my
precious words, ให้อ่านคาแห่งจารึ กที่ตรงกับคดีความ
• that my stele may make the case clear to him;ให้ผเู้ ดือดร้อน
เข้าใจเรื่ องราวและเหตุ แห่งความเดือดร้อน และให้ยตุ ิความเดือดร้อนด้วยจิตใจของผูน้ ้ เั อง
• may he understand his cause, and
• may his heart be set at ease
การจัดประเภทความผิด วิวฒั นาการในระยะหลัง
•
•
•
•
•
โรมัน
แองโกล อเมริ กนั
ฮินดู พราหมณ์
ยูเดอิก
อิสลาม
Crime, Delit & Contravention
• Three classifications of criminal offense that are central to the
administration of justice in many Roman- and civil-law countries.
• Crimes in French law are the most serious offenses, punishable by
death or prolonged imprisonment.
• A délit is any offense punishable by a short prison sentence, usually
from one to five years, or a fine.
• Contraventions are minor offenses.
• Civil-law countries traditionally have used all three categories,
corresponding to three types of tribunals: police courts (tribunaux de
police), which determine guilt in cases of minor penalties; courts of
correction (tribunaux correctionnels), requiring judges but no jury,
which try all other cases not involving serious bodily harm; and full
courts with a jury in other crimes.
ในศตวรรษที่ ๑๙ การแบ่งแยกลดลง เหลือเพียงสองระดับ
• Sweden, Denmark, The Netherlands, Portugal,
Italy, Brazil, Norway, Venezuela, and Colombia.
• Délit was generally defined as an infraction
inspired by a criminal intent and infringing
directly on the rights of individuals and groups,
thus including offenses that had previously been
designated crimes.
• Contravention came to mean any act committed
without criminal intent but forbidden by law.
Felony & Misdemeanour
Indictable & Summarily
•
•
•
•
Anglo-American law, classification of criminal offenses according to the
seriousness of the crime.
U.S. jurisdictions generally distinguish between felonies and misdemeanours.
A class of minor offenses that may be described as petty offenses or quasicrimes is also recognized. These last offenses are created by local
ordinance, and the requirement of trial by jury does not apply.
In U.S. law, the classification of a crime as a felony or misdemeanour is
ordinarily determined by the penalties attached to the offense. A felony is
typically defined as a crime punishable by a term of imprisonment of not less
than one year. Misdemeanours are often defined as offenses punishable only
by fines or by short terms of imprisonment in local jails. A consequence of
commission or conviction of a felony rather than a misdemeanour is that the
offender may lose some of his civil rights.
Crimes in England are classified into indictable offenses (which may be tried
by a jury) and summary offenses (which may be tried summarily without
juries). Indictable offenses are further divided into treasons, other felonies,
and misdemeanours. The law of England has employed no consistent
principle to determine the classification of an offense as a felony. In some
instances, crimes classified as misdemeanours involve greater social peril
than many statutory felonies, and penalties for misdemeanours may exceed
those for felonies.
ทฤษฏีอาชญาศาสตร์ที่รองรับ กฎหมายอาญาสารบัญญัติ
• ทฤษฎี ที่วา่ ด้วย การกาหนดความผิด สาระบัญญัติ
ทฤษฎี ที่วา่ ด้วย การกาหนดความผิด สาระบัญญัติ
เหตุไร จึงมีความผิดอาญา
• ดูเรื่ องประวัติศาสตร์ ของอาชญาศาสตร์
วิวฒั นาการของความผิดอาญา
• จะกล่าวถึงในเรื่ องของ นวัตกรรมทางอาญาด้วย
ทฤษฎี ที่วา่ ด้วย การกาหนดความผิด สาระบัญญัติคำถำม
พืน้ ฐำนของกำรนิ ติบญ
ั ญัติทำงอำญำ
• พฤติกรรมชนิดใดที่สมควรถูกควบคุมโดยกฎหมายอาญา
– ทฤษฎีวตั ถุประสงค์โดยทัว่ ไปของการนิติบญ
ั ญัติทางอาญา
– ทฤษฎีวา่ ด้ วยการกาหนดปริมณฑลของกฎหมายอาญา
ทฤษฎีวตั ถุประสงค์โดยทัว่ ไป
•
•
•
คุม้ ครองป้ องกันซึ่งตัวบุคคล (และในบางครั้งคุม้ ครองสัตว์ดว้ ย)
จากการกระทาโดยเจตนา อันเป็ นการโหดเหี้ ยม ทารุ ณ หรื อการ
ประกอบกรรมทางเพศ ด้วยวิธีการอันไม่พึงประสงค์ต่างๆ
คุม้ ครองป้ องกันบุคคล จากภัยบางประการ อันเกิดจากการกระทา
โดยไม่เจตนา (ตัวอย่างเช่น ภัยบนท้องถนน ภัยจากยาพิษ หรื อ
โรคระบาด เป็ นต้น)
คุม้ ครองป้ องกัน กลุ่มบุคคลที่อาจถูกชักจูงให้หลงผิดได้โดยง่าย
(นัน่ คือ ผูเ้ ยาว์ หรื อบุคคลผูม้ ีจิตใจไม่สมประกอบ) จากการทาร้าย
กดขี่ หรื อขูดรี ด อันจะเกิดแต่บุคคลหรื อทรัพย์สินของบุคคล
เหล่านั้น (ตัวอย่าง หลอกให้ผเู ้ ยาว์ร่วมประเวณี ดว้ ยเป็ นต้น)
ต่อ
• คุม้ ครอง ป้ องกันสภาวะจิตใจของสมาชิกในสังคมนั้น ๆ ให้รอดพ้นจากความ
กระทบกระเทือนจากการกระทาที่ถึงแม้วา่ จะเป็ นเรื่ องส่ วนตัวของบุคคลที่เป็ น
ผูใ้ หญ่แล้ว และยินยอมต่อการกระทานั้นแล้ว แต่ถือว่าผิดธรรมชาติ (เช่นการร่ วม
ประเวณี ระหว่างพี่นอ้ งท้องเดียวกัน และความสัมพันธ์ทางเพศอันผิดปกติ)
• ป้ องกันการกระทาบางประเภท ซึ่ งเมื่อได้กระทาขึ้นท่ามกลางสาธารณะชนแล้ว จะ
กระทบกระเทือนจิตใจบุคคลอื่นเป็ นอย่างมาก (เช่นการเผยแพร่ วตั ถุลามก คากล่าว
ผรุ สวาท และอื่นๆ) รวมทั้งป้ องกันพฤติกรรมบางประเภท อันอาจยัว่ ยุให้เกิดความ
ไม่สงบขึ้นในหมู่ประชาชน
ต่อ
• คุม้ ครองป้ องกันซึ่ งทรัพย์สินส่ วนบุคคลจากการลักขโมย การฉ้อโกง หรื อการทา
ให้เสี ยทรัพย์ และ กรณี อื่น ๆ
• คุม้ ครองป้ องกันสาธารณชนจากความไม่สะดวกสบายต่างๆ (เช่นการกีดขวางทาง
สัญจร ปิ ดกั้นทางสาธารณะ) รวมทั้งใช้สภาพบังคับทางอาญาเพื่อเก็บรวบรวมภาษี
อากร (เช่น ห้ามมีรถยนต์ หรื อทรัพย์สินบางอย่างไว้ในครอบครองโดยไม่มี
ทะเบียน)
• เพื่อป้ องกันรักษาไว้ซ่ ึ งสถาบันทางสังคม (เช่น พระมหากษัตริ ย ์ ศาสนา ครอบครัว)
รวมทั้งเพื่อบังคับให้เกิดความเมตตากรุ ณาที่จาเป็ น (เช่นไม่ส่งเด็กไปโรงเรี ยนเมื่อ
อยูใ่ นวัยบังคับเรี ยน ไม่ช่วยเหลือผูท้ ี่อยูใ่ นภยันตราย)
• เพื่อบังคับใช้วธิ ี การต่างๆ ที่จะทาให้วตั ถุประสงค์ท้ งั หลายเหล่านี้บรรลุผล (เช่นการ
ขัดคาสั่งเจ้าพนักงาน การให้การเท็จ เป็ นต้น)
ทฤษฎี ว่ำด้วยกำรกำหนดปริ มณฑลของกฎหมำย
อำญำสำระบัญญัติตำมทฤษฎี อำญำ
•
•
•
•
หลักเกณฑ์ ว่ำด้วยกำรจำกัด
หลักเกณฑ์ ว่ำด้วยควำมเป็ นไปได้ในทำงปฏิ บตั ิ
หลักเกณฑ์ แบบปฏิ ฐำน
หลักเกณฑ์ แบบผสมผสำน
หลักเกณฑ์ว่ำด้วยกำรจำกัด
• กฎหมายอาญานั้นไม่ควรรวมเอาไว้ซ่ ึ งข้อห้าม ที่มีจุดประสงค์เพียงเพื่อให้บุคคล
เชื่อฟัง และผลของการไม่เชื่อฟังก็คือผลร้ายในทางแก้แค้นตอบแทนเท่านั้น แต่
ลาพังข้อห้ามนั้นเองปราศจากอรรถประโยชน์ที่เป็ นแก่นสาร
• ไม่ควรที่จะนากฎหมายอาญามาใช้เพื่อลงโทษพฤติกรรมที่ปราศจากพิษภัย
• ไม่ควรใช้กฎหมายอาญา เพื่อเป็ นวิธีการที่นาไปสู่ จุดประสงค์ ที่สามารถทาให้
บรรลุถึงซึ่ งจุดประสงค์เช่นเดียวกันนั้น ด้วยวิธีการอื่นที่ทาให้เกิดความทุกข์เวทนา
น้อยกว่า
• ไม่ควรนากฎหมายอาญามาใช้ เมื่อผลร้ายที่เกิดจากการกระทาผิดนั้นน้อยกว่า
ผลร้ายที่เกิดจากการลงโทษ
Jeremy Bentham
• กฎหมายอาญาไม่ ควรรวมเอาไว้ ซึ่งข้ อห้ าม ซึ่ งทาให้ เกิดผลพลอยได้ อัน
อาจก่ อให้ เกิดผลร้ ายมากกว่ าพฤติกรรมที่กฎหมายอาญาต้ องการจะจากัด
Jeremy Bentham
In the 18th century British philosopher Jeremy Bentham founded the ethical, legal, and political
doctrine of utilitarianism, which states that correct actions are those that result in the greatest
happiness for the greatest number of people. For Bentham, happiness is precisely quantifiable and
reducible to units of pleasure, less units of pain. Bentham was strongly opposed to then-dominant
theories of natural rights, in which human beings are believed to possess certain inherent and
unalterable social requirements.
John S. Mill
• ไม่ควรนากฎหมายอาญามาใช้ เพื่อจุดประสงค์ที่จะบังคับให้บุคคล
ประพฤติปฏิบตั ิตามแนวทาง ที่จะนาให้เกิดผลประโยชน์แก่ผปู ้ ฏิบตั ิ
นั้นเอง
หลักเกณฑ์ว่ำด้วยควำมเป็ นไปได้ในทำงปฏิ บตั ิ
• กฎหมายอาญาไม่ควรรวมไว้ซ่ ึงข้อห้ามที่ไม่ได้รับการสนับสนุนอย่าง
จริ งจังจากมติมหาชน
• กฎหมายอาญาไม่ควรรวมเอาไว้ซ่ ึงข้อห้ามที่บงั คับใช้ไม่ได้
• กฎหมายอาญาไม่ควรรวมเอาไว้ซ่ ึงข้อห้ามบางประการ ซึ่งเมื่อมีการ
ละเมิดข้อห้ามนั้นแล้ว ไม่สามารถพิสูจน์ได้วา่ มีการกระทาความผิด
เกิดขึ้นจริ ง
หลักเกณฑ์ แบบปฏิฐาน
• การทาหน้าที่อย่างราบรื่ นของสังคม และการดารงรักษาไว้ซ่ ึงความสงบ
เรี ยบร้อยนั้น ย่อมเป็ นเหตุผลเพียงพอที่ทาให้การกระทาบางอย่างถูก
ควบคุมโดยรัฐได้ (ลอร์ดเดฟลิน)
Positivism
• Positivism refers to the philosophical doctrine founded
and named by the French philosopher Auguste Comte.
Its subsequent success and influence is due to the
degree to which it expresses the climate of the times. It
rejects the entire enterprise of metaphysics and theology
as unverifiable, substituting science and the scientific
method in their place. Positivism leads to the formation
of the social "sciences," that is, the belief that the
methods of science and mathematics will unlock the
mysteries of human behavior and lead to the
improvement of that behavior. The departmentalized
organization of the modern university is based on the
positivist ideal.
Auguste Comte
Auguste Comte’s positive philosophy, or positivism, abandoned speculation about the nature of reality in favor of
scientific investigation. According to Comte, knowledge of all subjects, from astronomy to sociology, should come
from the correlation of evidence gathered by investigation and observation. This materialistic approach helped to
lay the foundations for modern sociology, which Comte first called social physics.
Jean Piaget
Swiss psychologist Jean Piaget is recognized for his studies of the mental development of children
and adolescents. Piaget theorized that individuals evolve through sequential stages of cognitive
development. Building upon Piaget's theories, criminologists propose that moral development
occurs in stages that correspond to a person's level of cognitive sophistication.
.
Sigmund Freud
Austrian physician Sigmund Freud developed important but controversial theories
concerning the connection between aberrant human behavior and the unconscious
mind. Freud believed that each person must resolve the tension between individualism
and society. According to Freud, criminal behavior may result from a failure to resolve
this tension.
ต่อ
• ถ้ าความจริ งปรากฎว่ าสถาบันกฎหมายอาญานั้น เป็ นสถาบันที่สิน้ เปลือง
ที่สุดสถาบันหนึ่งไม่ ว่าจะเป็ นในด้ านความสิ ้นเปลืองทางเศรษฐศาสตร์
หรื อความสิ ้นเปลืองในด้ านความสุขของมวลมนุษย์ แล้ ว เราควรจะมอง
ในแง่ ความเป็ นจริ ง และถามหาข้ อยุติที่เป็ นปฏิฐาน เมื่อเราต้ องการใช้
กฎหมายอาญาบังคับพฤติกรรมใดพฤติกรรมหนึ่ง
หลักเกณฑ์แบบผสมผสำน
• เราอาจตั้งกฎเกณฑ์ข้ ึนใหม่ โดยรวมหลักเกณฑ์วา่ ด้วยการจากัด และ
หลักเกณฑ์แบบปฏิฐานเอาไว้ดว้ ยกันได้ หลักเกณฑ์ใหม่น้ ีตอ้ งเป็ น
หลักเกณฑ์ที่ไม่ข้ ึนตรงต่อระบบคุณค่าและศีลธรรม
• วอล์กเกอร์ยนื ยันว่าหลักเกณฑ์น้ ีแม้จะไม่เป็ นอิสระไปจากระบบคุณค่า
และศีลธรรมโดยสมบูรณ์กต็ าม แต่กถ็ ือได้วา่ เป็ นอิสระมากกว่า
หลักเกณฑ์ของมิลล์ ซึ่งถือว่าเป็ นหลักเกณฑ์แบบอรรถประโยชน์นิยม ที่
ใช้หลักคุณค่าและศีลธรรมน้อยที่สุด
ชั้นเรี ยนที่ ๔ ทฤษฎีโทษ
Punishment theories
ชั้นเรี ยนที่ ๔
ทฤษฤีอาชญาศาสตร์ที่รองรับ กฎหมายอาญาสารบัญญัติ
• ๔.๑ ความพยายาม ที่จะใช้การนิติบญั ญัติ ควบคุมพฤติกรรมของมนุษย์
• ๔.๒ สรุ ป ผลของความสาเร็ จของสภาพบังคับ
โทษและทฤษฎีรองรับการลงโทษ
• แบบแผนของการลงโทษ หรื อคาขู่วา่ จะลงโทษและตัวโทษนั้นเอง
เปรี ยบเสมือนแรงกระตุน้ ให้สมาชิกของสังคมนั้นๆ ประพฤติปฏิบตั ิต่อ
สังคมในวิถีทางที่กาหนดไว้
ตัวอย่างแนวคิดของนักวิชาการในการร่ างประมวล
กฎหมายอาญาสหรัฐอเมริ กา มาตรา 1-1 A2
• วัตถุประสงค์โดยทัว่ ไป
•
วัตถุประสงค์ของประมวลกฎหมายนี้กเ็ พื่อที่จะเสริ มสร้างความ
ยุติธรรมขึ้นสนระบบสหรัฐทั้งมวล เพื่อที่ประเทศชาติและประชาชนจะ
ได้มีความอบอุ่นใจในการรักษาไว้ซ่ ึง ชีวิต ร่ างกาย ทรัพย์สิน
ความสัมพันธ์ซ่ ึงกันและกัน และผลประโยชน์อื่นๆ
•
• ประมวลกฎหมายนี้
มุ่งมัน่ ที่จะส่ งเสริ มและคงไว้ซ่ ึงระบบแห่ง
คุณธรรมของมหาชนและการปฏิบตั ิโต้ตอบของมหาชน โดยการ
ลงโทษทัณฑ์อนั เหมาะสม
•
ประมวลกฎหมายนี้มุ่งมุ่นที่จะส่ งเสริ มความปลอดภัยและ
ความมัน่ คงของบุคคลทั้งปวง โดยการป้ องปรามโดยใช้วิธีแจ้งต่อ
สังคมให้เห็นถึงความผิดต่างๆ ว่ามีอะไรบ้าง และโทษทัณฑ์ที่ได้
กาหนดไว้โดยตัวบทกฎหมายมีอยูอ่ ย่างไร และเมื่อวิธีการนี้ใช้ไม่
ได้ผล ก็จะใช้วิธีแก้ไขผูก้ ระทาความผิด หรื อการทาให้ผกู ้ ระทา
ความผิดนั้นไม่สามารถที่จะกระทาผิดต่อไปได้ โดยวิธีการอัน
สมควร”
• วิธีการและทฤษฎีที่จะทาให้จุดมุ่งหมายของประมวลกฎหมายอาญา
ประสบผลสาเร็ จได้น้ นั พอที่จะแบ่งเป็ นประเภทใหญ่ๆ ได้สามประเภท
คือ การแก้แค้นตอบแทน การขู่กาหราบ(ป้ องปราม) และการแก้ไข
ผูก้ ระทาผิด
วิธีการแก้แค้นตอบแทน
• ซึ่งมีมาตรฐานการวัดอัตราส่ วนของโทษจากความผิดของผูก้ ระทา
ทฤษฎีแก้แค้นตอบแทนนี้กล่าวกันว่าเป็ นทฤษฎีที่เริ่ มต้นมาจากความ
สานึกของมนุษย์ที่จะตอบสนองต่อการกระทาอย่างใดอย่างหนึ่ง
• ในปัจจุบนั ทฤษฎีแก้แค้นตอบแทนนั้นมิได้หมายความเพียงแต่ “ตาต่อ
ตา ฟันต่อฟัน” หรื อตามสานวนที่นกั นิติศาสตร์ญี่ปุ่นใช้วา่ “การทาให้
มหาชนพึงพอใจเมื่อถูกยัว่ ยุ โดยการกระทาความผิดอย่างร้ายแรงของ
บุคคลหนึ่ง” แต่หมายความถึงการที่จะกาหนดกฎเกณฑ์ เพื่อทาให้การ
ลงโทษนั้นทาได้แต่พอเหมาะสม
• การลงโทษทัณฑ์น้ นั จะทาได้กต็ ่อเมื่อผูก้ ระทาผิดได้กระทาการโดยมี
จิตใจอันชัว่ ร้าย และโทษที่จะลงได้น้ นั จะต้องเป็ นโทษที่เหมาะสมกับ
ความรับผิดทางอาญาของผูก้ ระทาผิด
• ความรับผิดในที่น้ ีคือ ความเหมาะสมที่จะถูกกล่าวโทษในทางจริ ยธรรม
ของสังคมส่ วนใหญ่ ผูก้ ระทาจะต้องรับผิด ถ้าในทางจริ ยธรรมแล้วเขา
สมควรที่จะถูกกล่าวโทษว่าพฤติกรรมของเขานั้นผิดและขั้นของความ
สมควรที่จะถูกกล่าวโทษนี้เอง ที่เป็ นตัวแทนที่จะชี้ให้เห็นถึงมาตราส่ วน
ที่จะวัดความรับผิดซึ่งเมื่อลงโทษแล้ว จะให้เกินกว่านี้ไม่ได้
• เมื่อบุคคลได้กระทาการอันสมบูรณ์ตามองค์ประกอบของคานิยาม
ของกฎหมาย ซึ่งพอที่จะเรี ยกได้วา่ เข้าองค์ประกอบของตัวกฎหมาย
แล้ว และพอจะกล่าวได้วา่ บุคคลนั้นได้ทาสิ่ งที่ผดิ กฎหมาย แต่ตอ้ ง
พิจารณาต่อไปว่า บุคคลผูน้ ้ ีสมควรหรื อไม่ที่จะถูกกล่าวโทษ เมื่อ
เห็นว่าสมควรแล้วจึงจะพิจารณาต่อไปอีกว่า ความสมควรที่จะถูก
กล่าวโทษนี้มีความสูงต่าอย่างไร จากจุดนี้เราพอที่จะเห็นว่าสิ่ งที่
จาเป็ นและสาคัญที่สุดสาหรับผูก้ ระทาความผิดตามทฤษฎีความรับ
ผิดใหม่น้ ี ก็คือ ความสมควรที่จะถูกกล่าวโทษ
Blameworthiness.
•
• ในทางวิทยาศาสตร์แล้ว คนที่กระทาผิดมักจะมีสาเหตุบางประการที่ทา
ให้เขาปฏิบตั ิเช่นนั้น ความคิดดังกล่าวนี้ในปัจจุบนั มีอยูม่ ากมายที่จะ
ยกตัวอย่างได้ เช่น การกระทาผิดขณะไม่รู้สึกตัว ความที่ถกู บีบบังคับ
จากสภาวะทางจิตใจ เป็ นต้น ซึ่งทาให้ความสมควรที่จะถูกกล่าวโทษนี้
ลดลงทุกวัน ดูจากความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ของมนุษย์ จะเห็นว่า
เป็ นไปได้ยากที่บุคคลจะมีความสมควรที่จะถูกกล่าวโทษไปทั้งหมด
เพราะความตั้งใจกระทาหรื อเจตนาของบุคคลผูก้ ระทาย่อมจะเกิดจาก
สาเหตุอื่นๆ หลายประการด้วยกัน
• ผูก้ ระทาผิดย่อมจะมีความรู ้สึกผิด และย่อมยินดีที่จะรับโทษทัณฑ์ตาม
ความผิดที่ตนกระทาลง เช่นเดียวกันกับการที่บุคคลอื่นเห็นว่าบุคคลนั้น
สมควรถูกลงโทษให้ได้สดั ส่ วนกับความผิดที่ได้กระทาลง
• สรุ ปแล้ว ทฤษฎีแก้แค้นตอบแทน ย่อมมีผลทั้งในด้านความกรุ ณาปราณี
และมีส่วนที่เรี ยกได้วา่ เป็ นการแก้แค้นตอบแทน อันทาให้สงั คมส่ วน
ใหญ่พอใจ ตลอดจนตัวผูก้ ระทาความผิดที่ยนิ ดีที่จะรับโทษตามสัดส่ วน
ของความผิดที่ตนได้กระทาลง นอกจากนี้ยงั มีผลในทางป้ องกันสังคม
อีกด้วย เพราะว่าการใช้วิธีการลงโทษ แบบนี้ยอ่ มมีผลทั้งในทางทาให้
ผูก้ ระทาความผิดรู ้สานึกตัว และทาให้บุคคลภายนอกเกรงกลัวต่อโทษ
นั้นด้วย
การป้ องปราม
Deterrence ป้ องกัน ขู่ เพื่อมิให้กระทา
• การที่ลงโทษผูก้ ระทาผิดด้วยโทษอันรุ นแรงเพื่อที่จะป้ องปรามผูน้ ้ นั หรื อบุคคลอื่น
มิให้ประพฤติปฏิบตั ิเอาเยีย่ งอย่างนั้น เป็ นวิธีการหนึ่งของกฎหมายอาญา
•
“…..one of the most important objectives of
punishment, namely, the element of deterrenceThe theory which regards the penalty as being
not an end in itself but the means of attaining an
end, namely, the frightening of others who might
be tempted to immitate the criminal.”
• Commonwealth V. Ritter, Court of Oyer and
Terminer, Philadelphia, 1930, 13 D & C. 285.
• “ภายในกลุ่มอาชญากร การคาดคะเนถึงสิ่ งที่เกิดขึ้นแก่ตนในภายหน้า
นั้น แทบจะเรี ยกได้วา่ ไม่ค่อยจะปรากฎ… แม้วา่ เราไม่อาจจะบอกได้วา่
การไม่มองถึงกาลข้างหน้านั้น เป็ นโรคจิตชนิดหนึ่งสาหรับอาชญากร
หรื อไม่ และจิตแพทย์กไ็ ม่อาจยืนยันได้วา่ อาการแบบนี้ เป็ นโรคจิต
ชนิดหนึ่ง สัสดีเรื อนจาทั้งหลายต่างยอมรับกันแล้วว่า มีนกั โทษบาง
ประเภทที่ไม่สามารถที่จะมองถึงกาลข้างหน้าและไม่สามารถทีจ่ ะเรี ยนรู ้
จากประสบการณ์ของการถูกลงโทษได้ และสาหรับคาขู่วา่ จะลงโทษยิง่
ไม่มีความหมายสาหรับบุคคลพวกนี้”
การแก้ไขผูก้ ระทาผิด
Rehabilitative theory.
• ทฤษฎีการแก้ไขผูก้ ระทาผิดนี้ เป็ นการรวมเอาแนวคิดหลาย
แนวความคิดไว้ดว้ ยกัน แต่มีสิ่งที่เห็นพ้องกันว่า พฤติกรรมของมนุษย์
นั้นเป็ นผลของเหตุที่สืบเนื่องมาจากอดีต เหตุเหล่านี้เป็ นส่ วนหนึ่งของ
สภาพทางธรรมชาติของมนุษย์ ด้วยประการนี้จึงเป็ นหน้าที่ของ
นักวิทยาศาสตร์ที่จะต้องค้นคว้าหาคาอธิบายว่า เหตุผลเหล่านี้มีความ
เป็ นมาอย่างไร ความรู ้ที่ได้มาจากการศึกษาถึงพฤติกรรมอันสื บ
เนื่องมาจากอดีตนี้จะทาให้มนุษย์สามารถใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์
ควบคุมพฤติกรรมของมนุษย์ได้
เงื่อนไขในการกาหนดโทษ
• เงื่อนไขในการกาหนดโทษตามกฎหมายอาญามีอยูส่ องประเภท
ประเภทแรกเป็ นเงื่อนไขตามทฤษฎีแก้แค้นตอบแทนดังได้กล่าวมาแล้ว
ตอนต้นเรื่ องความเหมาะสมที่จะถูกลงโทษของผูก้ ระทาความผิด และ
ประเภทที่สองก็เป็ นเงื่อนไขที่วา่ ด้วยการแก้ไขผูก้ ระทาความผิดให้กลับ
ตัวเป็ นคนดี
ตัวอย่างแนวคิดของนักวิชาการในการร่ างประมวลกฎหมาย
อาญาญี่ปุ่น มาตรา 47
• ร่ างประมวลกฎหมายอาญาญี่ปุ่น มาตรา 47 เป็ นตัวอย่าง ที่แสดงให้เห็นถึงการ
แบ่งเงื่อนไขดังกล่าวใว้อย่างชัดเจน
•
“มาตรา 47 (1) โทษที่จะลงนั้นจะต้องได้สัดส่ วนกับความรับผิดของ
ผูก้ ระทาผิด
•
(2) โทษที่จะลงนันจะต้องเพื่อจุดประสงค์ที่จะป้ องกันไม่ให้มี
การกระทาผิดเกิดขึ้น และแก้ไขผูก้ ระทาผิดให้กลับตัวเป็ นคนดี โดยดูจากสภาวะ
แห่ง อายุ บุคลิกภาพ ตาแหน่งหน้าที่และสภาวะแวดล้อมของผูก้ ระทาผิด มูลเหตุ
ชักจูงใจให้กระทาผิด ผลเสี ยอันเกิดขึ้นแก่สังคม จากการกระทาผิดนั้นและ
ความรู้สึกผิดชอบของผูก้ ระทาผิด
ตัวอย่างแนวคิดของนักวิชาการในการร่ างประมวลกฎหมาย
อาญาเยอรมัน มาตรา 60
•
•
(1) มาตรฐานในการกาหนดโทษนั้นคือความรับผิดของผูก้ ระทา
ความผิด
•
(2)
ในการกาหนดโทษนั้นให้ศาลพิจารณาถึงสภาวะต่างๆ
นอกเหนือไปจากองค์ประกอบแห่งความผิดตามลายลักษณ์อกั ษร ซึ่ง
อาจจะมีส่วนบรรเทาโทษหรื อเพิ่มโทษที่จะลงแก่ผกู ้ ระทาผิด โดยเฉพาะ
อย่างยิง่ ควรจะคานึงถึง
•
• มูลเหตุจูงใจ และจุดมุ่งหมายของผูก้ ระทาผิด
•
สภาวะทางจิตใจที่แสดงออกมาทางการกระทาและการแสดงออกซึ่ ง
ความตั้งใจกระทา อันเกี่ยวข้องกับการกระทาความผิด
•
ผูก้ ระทาผิดได้กระทาการอันเป็ นการละเมิดต่อหน้าที่ของตนมากน้อย
เพียงไร
•
พฤติกรรมของผูก้ ระทาความผิดและผลกระทบกระเทือนอันเกิดจากการ
กระทาผิด
•
ประวัติของผูก้ ระทาผิด บุคลิกภาพ และสภาวะทางเศรษฐกิจ
•
การประพฤติปฏิบตั ิของผูก้ ระทาผิดหลังจากการกระทาผิด โดยเฉพาะ
อย่างยิง่ ความพยายามที่จะแก้ไขสิ่ งที่ตนได้กระทาลง”
•
Restraint
• Some believe that the goal of punishment
is restraint. If a criminal is confined,
executed, or otherwise incapacitated, such
punishment will deny the criminal the
ability or opportunity to commit further
crimes that harm society.
Rehabilitation
• Another possible goal of criminal punishment is
rehabilitation of the offender. Supporters of
rehabilitation seek to prevent crime by providing
offenders with the education and treatment
necessary to eliminate criminal tendencies, as
well as the skills to become productive members
of society.
Restoration
•
The theory of restoration takes a victim-oriented approach to crime that emphasizes restitution (compensation)
for victims. Rather than focus on the punishment of criminals, supporters of this theory advocate restoring the
victim and creating constructive roles for victims in the criminal justice process. For example, relatives of a
murder victim may be encouraged to testify about the impact of the death when the murderer is sentenced by the
court. Promoters of this theory believe that such victim involvement in the process helps repair the harm caused
by crime and facilitates community reconciliation.
• ทฤษฎีเกี่ยวกับการเยียวยา หรื อ กลับคืนสู่ สภาพเดิมนี้ ยึดเอาตัวผูท้ ี่ตอ้ งเสี ยหายจาก
การกระทาผิด เป็ นมาตรฐานในการกาหนด มาตรการอันเหมาะสมที่จะใช้กบั
ผูก้ ระทาผิด และไม่ถือเอาการลงโทษเป็ นสาระสาคัญ ทฤษฎีน้ ีตอ้ งการให้
ผูเ้ สี ยหาย มีส่วนร่ วมในกระบวนการยุติธรรมในทางสร้างสรรค์มากกว่ามีส่วน
ร่ วมในทางลบ อีกทั้งยังต้องการให้ท้ งั ผูเ้ สี ยหายและผูก้ ระทาความผิดสามารถ
กลับคืนเข้าสู่ สังคมของตนได้โดยไม่มีความบาดหมางระหว่างกันอีกต่อไป
ตัวอย่างที่มกั จะอ้างถึงเป็ นประจา คือการขอให้ญาติของผูเ้ สี ยหาย หรื อ ผูต้ าย
แสดงออกว่าผลของการกระทาความผิด สร้างความทุกข์ยากให้กบั ผูท้ ี่เกี่ยวข้อง
อย่างไรบ้าง และหากมีการเยียวยาจะช่วยให้สถานการดีข้ ึนได้อย่างไร หรื อไม่
วิธีการนี้เชื่อกันว่าจะลดความเสี ยหายที่เกิดขึ้นจากการกระทาความผิดอาญา และ
ขจัดความขัดแย้งในระหว่างสมาชิกของสังคมได้ดีกว่าการลงโทษ
ตัวอย่างแนวคิดของนักวิชาการในการร่ างประมวลกฎหมาย
อาญาสหรัฐอเมริ กา
•
•
“มาตรา 1-4 B1…
(C) ระยะเวลาต้องโทษขั้นต่า โทษจาคุกนั้นจะไม่ถือว่ามีระยะเวลาขั้นต่า
นอกเสี ยจากว่าโดยการพิจารณาของศาลแล้ว เห็นควรให้มีระยะเวลาดังกล่าว ซึ่ ง
จะต้องไม่เกินกว่าหนึ่ งในสี่ ของระยะเวลาต้องโทษที่ได้กาหนดไว้แต่ตน้ ศาลต้อง
ไม่กาหนดระยะเวลาต้องโทษขั้นต่า เว้นแต่ได้พิจารณาถึงสภาพของการกระทาผิด
ประวัติ และบุคลิกภาพของผูก้ ระทาผิด โดยเห็นว่ามีความจาเป็ นที่จะต้องกาหนด
ระยะเวลาขั้นต่าไว้ เพราะมีเหตุบางประการอันบ่งชัดถึงความจาเป็ นดังกล่าวแล้ว”
• U.S. Draft Criminal Code.
ระบบของการประยุกต์ ใช้ โทษ และวิธีการทีเ่ รียกชื่ออย่ างอืน่
“ระบบคู”่ Dual system of punishment and
measures of Saftly.
• คือระบบที่แบ่งแยกการลงโทษอันเป็ นนโยบายของการลงโทษทางอาญา กับ
วิธีการเพื่อความปลอดภัยและการแก้ไขผูก้ ระทาผิดอันเป็ นนโยบายของการ
แก้ไขผูก้ ระทาความผิดตามแนวทางของวิชาอาชญาวิทยา และทัณฑวิทยาออก
จากกันโดยมีทฤษฎีและหลักเกณฑ์ในการใช้แตกต่างกันออกไป
• “ระบบผสม”Unitary system of punishment.
• ระบบที่พยายามนาเอาการลงโทษอาญา การแก้ไขผูก้ ระทาความผิด และ
นโยบายทางวิชาอาชญาวิทยา และทัณฑวิทยามาผสมผสานกันเพื่อใช้ต่อ
ผูก้ ระทาผิด โดยมิได้มีการแบ่งแยกออกต่างหากจากกัน
•
การแบ่งแยกโทษออกจากวิธีการเพื่อความปลอดภัย
• สาหรับการแบ่งแยกโทษออกจากวิธีการเพื่อความปลอดภัยนั้น ศาสตราจารย์ทา
เกชิ กล่าวว่า :
•
“แม้วา่ เราไม่อาจแบ่งแยกการลงโทษออกจากวิธีการเพื่อความปลอดภัยได้
โดยเด็ดขาดก็ตาม แต่โดยทัว่ ไปแล้ววิธีการเพื่อความปลอดภัยนั้นไม่ควรมีลกั ษณะ
ของโทษเป็ นสาระสาคัญ และระยะเวลา หรื อการปลดปล่อยผูท้ ี่จะต้องรับการ
รักษาบาบัดนั้นก็มิได้กาหนดเอาตามความรับผิด แต่จะกาหนดตามความจาเป็ น
สาหรับการบาบัดรักษา เป็ นสาระสาคัญ”(3)
วิธีการสับเปลี่ยนแทนที่กนั
Substitutionary System
• นักนิติศาสตร์เยอรมันได้พยายามที่จะค้นหาวิธีที่จะทาให้การลงโทษ
ระบบคู่น้ นั สมบูรณ์แบบมากขึ้น โดยตัดวิธีการที่มีลกั ษณะเป็ นการ
จากัดเสรี ภาพออกไปเสี ย และก็เพิม่ เติมวิธีการใหม่ข้ ึน ซึ่งพอที่จะ
เรี ยกได้วา่ “วิธีการสับเปลี่ยนแทนที่กนั ” ได้กาหนดไว้วา่ โทษและ
วิธีการเพื่อความปลอดภัยนั้นจะนามาใช้แทนที่สลับกันในระหว่างที่
ผูต้ อ้ งโทษกาลังรับโทษ หรื อวิธีการต่างๆ อยู่
ตัวอย่างแนวคิดของนักวิชาการในการร่ าง ประมวลกฎหมาย
อาญาเยอรมัน
“…
•
•
(1) ในกรณี ที่ศาลได้พิพากษาให้ผกู้ ระทาความผิดต้องโทษจาคุ ก และได้สั่ง
ให้ผกู้ ระทาความผิดรับการรักษาบาบัดในสถานพยาบาลหรื อสถานที่สาหรับรักษา
บาบัดเป็ นการเพิ่มเติม ให้ศาลกาหนดไว้วา่ ให้นาวิธีการเพื่อความปลอดภัยมาใช้
ปฏิบตั ิก่อนโทษจาคุก ถ้าตามสภาพของผูต้ อ้ งโทษมีความจาเป็ นเช่นนั้น นอกไป
จากนี้ ในกรณี ที่ศาลสั่งให้ใช้วิธีการเพื่อความปลอดภัย โดยวิธีการกักกันในสถาน
บาบัด หรื อสถานฝึ กอาชีพหรื อในกรณี ที่ศาลให้ใช้วธิ ี การกักขัง เพื่อความปลอดภัย
ศาลอาจจะสั่งให้ใช้วธิ ี การดังกล่าวก่อนที่จะลงโทษ ถ้าศาลเห็นว่าการใช้วิธีการ
ดังกล่าวจะประสบผลสาเร็ จง่ายขึ้น นอกเสี ยจากว่าความรับผิดของผูต้ อ้ งโทษและ
ผลที่จะเกิดจากการลงโทษเพื่อป้ องปราม
ทาให้ตอ้ งดาเนินการลงโทษก่อนใช้
วิธีการเพื่อความปลอดภัย”
• สาหรับวิธีการสับเปลี่ยนโทษและวิธีการเพื่อความปลอดภัยนั้น ก็ได้
บัญญัติเอาไว้ในมาตรา 105(3) ดังต่อไปนี้ :
•
“ในกรณี …
ที่ได้มีการลงโทษจาคุกก่อนที่จะใช้วิธีการเพื่อ
ความปลอดภัย ก่อนที่จะครบกาหนดระยะเวลาของการลงโทษ ให้ศาลที่
พิพากษาพิจารณาว่าจุดมุ่งหมายของวิธีการที่ได้มีคาสัง่ ไว้น้ นั ยังจะจา
เป็ นอยูห่ รื อไม่
ถ้าเห็นว่าไม่จาเป็ นให้ศาลสัง่ ยับยั้งการใช้วิธีการเพื่อ
ความปลอดภัย และให้มีการปล่อยตัวโดยมีเงื่อนไขได้”
๔.๒ สรุ ป ผลของความสาเร็ จของสภาพบังคับ
• Discussion
Download