Introduction to Pathology By S. pongsabutra 3 June. 09 Pre Test (10นาที ) ั้ ! ้ นๆ 1. จงอธิบายข้อความต่อไปนีส 1. ท่านเข้าใจ ความหมายพยาธิวท ิ ยา อย่างไร? 2. พยาธิวท ิ ยาเกีย ่ วข้องก ับ Anatomy & Physiology อย่างไร? ึ ษาพยาธิ : 3. การศก ึ ษาอะไรและศก ึ ษาอย่างไร? ผลการศก ึ ษา พยาธิวท ิ ยาศก ้ ระโยชน์สาหร ับการดูแลสุขภาพ(health นาไปประยุกต์ใชป care)ได้อย่างไร? ี ในการดูแลสุขภาพประชาชนของท่าน 4. บทบาทวิชาชพ เกีย ่ วข้องก ับพยาธิวท ิ ยาอย่างไร คำตอบ ตอบในกระดาษคาตอบ พร้อม ื่ .... ชอ นามสกุล.... ั้ ที.่ ... คณะ..... ิ ชนปี นิสต ้ หาการเรียนรู ้ เนือ เมื่อสิ้นสุ ดการเรียนหัวข้ อ Introduction to Pathology นักศึกษา เข้ าใจ สามารถอธิบาย ความหมายคา และข้ อความในเรื่องราวต่ อไปนีไ้ ด้ : 1. ความหมายและเครือข่ ายวิชาพยาธิวทิ ยา 2. ธรรมชาติรากเหง้ าของโรค 3. หลักการศึกษา พยาธิวทิ ยา 4. ความสั มพันธ์ เชื่อมโยงระหว่ างพยาธิวทิ ยากับผู้ป่วย Clinico-Pathological Correlation (=การประยุกต์ พยาธิวทิ ยา ใช้ ประโยชน์ ในคลินิก) 5. การประยุกต์ พยาธิวทิ ยาใช้ ด้ านการสาธารณสุ ข 1. ความหมายของพยาธิวทิ ยา พยาธิ [ พยา – ธิ ] = โรค(dis+ease) = ความไม่ สบาย เป็ นไข้ เจ็บปวด ทุกข์ ทรมาน วิทยา = ความรู้ซึ่งเกิดจากการสังเกต ศึกษา ค้นคว้า วิจัย มีเหตุมีผล พยาธิวทิ ยา = การศึกษา “โรค” =การ ศึกษา ความไม่ สบาย เจ็บปวด ทุกข์ ทรมานร่ างกาย (รูปธรรมการศึกษาคือ ศึกษาโครงสร้ างและหน้ าที่ อวัยวะซึ่งประกอบกันขึน้ เป็ นร่ างกาย ระดับต่ างๆลงไปถึง เนือ้ เยือ่ เซลส์ ตลอดจนองค์ ประกอบของ เซลส์ ในอวัยวะผู้ป่วยนั้นๆ เกีย่ วข้ องอย่ างไรกับการ เกิดความไม่ สบาย เจ็บปวด ความทุกข์ ทรมาน) เครือข่ ายของวิชาพยาธิวทิ ยา ึ ษำ) (ประเภทกำรศก พยาธิวทิ ยากายวิภาค (AP) ศึกษาการเปลีย่ นแปลงรูปร่ าง และหน้ าทีข่ องอวัยวะ เนือ้ เยือ่ เซลล์ ซึ่งเป็ นองค์ ประกอบของโรค พยาธิวท ิ ยา ทว่ ั ไป หรือ ้ งต้น หรือ เบือ ้ ฐาน พืน พยาธิวทิ ยาพิเศษ หรือ พยาธิวทิ ยาคลินิก (CP) ิ ยาเฉพาะทาง ศึกษาความผิดปกติ excreta, เลือด พยาธิวท เม็ดเลือดและของเหลวอืน่ ๆจาก ผู้ป่วยโดยใช้ ปฏิบตั ิการต่ างๆเพือ่ นา ผลทีไ่ ด้ กลับไปดูแลผู้ป่วยนั้น พยาธิวท ิ ยา ระบบ *Autopsy Path. *Surgical Path. *Molecular Path. *Forensic Path. (Medicine). ...etc… พยาธิวท ิ ยาทว่ ั ไป ึ ษำโครงสร ้ำงและหน ้ำที่ อวัยวะ หมำยถึง กำรศก ์ ละ องค์ประกอบเซลสโ์ ดยทั่วไปไม่ เนือ ้ เยือ ่ เซลสแ เจำะจง แสดงผลกำรเปลียนแปลงออกมำอย่ำงไร? เมือ ่ ถูกคุกคำมหรือได ้รับอันตรำยจำกสงิ่ แวดล ้อมทัง้ ภำยใน และภำยนอกร่ำงกำย พยาธิวท ิ ยาระบบ ึ ษำโครงสร ้ำงและหน ้ำที่ อวัยวะ เนือ หมำยถึง กำรศก ้ เยือ ่ เซลส ์ เฉพำะระบบใดระบบหนึง่ แสดงผลกำรเปลีย ่ นแปลง ออกมำอย่ำงไร? เมือ ่ ถูกคุกคำมหรือได ้รับอันตรำยจำก สงิ่ แวดล ้อมทัง้ ภำยในและภำยนอกร่ำงกำย พยาธิวท ิ ยาคลีนค ิ ึ ษำโรค จำกปั สสำวะ อุจจำระ หมำยถึงกำรศก เสมหะ เลือดและเม็ดเลือด รวมทัง้ ของเหลว อืน ่ ๆจำกร่ำงกำยผู ้ป่ วยโดยใช ้ อุปกรณ์และวิธ ี ปฏิบต ั ก ิ ำรของศำสตร์ตำ่ งๆ สว่ นใหญ่เป็ นศำสตร์ ื ค ้นหำ พิศจ ด ้ำนโลหิตวิทยำ สบ ู น์ กำร เปลีย ่ นแปลง เม็ดเลือด ปริมำณสำรต่ำงๆ ที่ ปรำกฏในเลือดและของเหลว ซงึ่ เป็ นผลจำกกำร ทำงำนของอวัยวะต่ำงๆหรือสงิ่ แปลกปลอมอืน ่ ในร่ำงกำย เพือ ่ นำผลทีไ่ ด ้กลับไปดูแลผู ้ป่ วยนัน ้ พยำธิวท ิ ยำฉเพำะทำง ึ ษำรำยละเอียดกำรเปลีย หมำยถึง กำรศก ่ นแปลง(โครงสร ้ำงและ ่ หน ้ำที)่ ทีเ่ จำะจงเฉพำะ ลึกลงไปในเรือ ่ งใดเรือ ่ งหนึง่ เชน ั สูตร์ศพ) หมำยถึง 1. Autopsy Pathology (กำรตรวจชน ึ ษำกำรเปลีย กำรศก ่ นแปลงโครงสร ้ำง หน ้ำที่ อวัยวะ จำกศพเพือ ่ ึ ษำถึง สำเหตุโรค กำรดำเนินโรค พยำธิสภำพ อำกำรโรค ศก ้ ภำวะแทรกซอนตลอดจนสำเหตุ กำรตำย ิ้ เนือ 2.Surgical Pathology กำรตัดชน ้ ผู ้ป่ วย นำมำตรวจวินจ ิ ฉัยโรคในห ้องทดลองเพือ ่ กำรรักษำ 3. Cyto-Pathology กำรตรวจกำรเปลีย ่ นแปลงเซลสใ์ น ของเหลวต่ำงๆจำกผู ้ป่ วยเพือ ่ นำไปประกอบกำรวินจ ิ ฉัยโรค ึ ษำเฉพำะ กำร 4.Molecular Pathology กำรศก เปลีย ่ นแปลงของ Gene.ในระดับโมเลกุลของโรคใดโรคหนึง่ ......ฯลฯ..... 2. ธรรมชาติรากเหง้ าของโรค สิ่ งมีชีวติ (เซลส์ )ต้ องมีการเสื่ อมสภาพไปตามธรรมชาติและเสี ยหายจากภัย ทีม่ าจากสิ่ งแวดล้อมระหว่ างทีด่ ารงชีวติ อยู่ ส่ วนทีเ่ หลืออยู่จึงต้ องสร้ างเซลส์ ขนึ้ ใหม่ หรือปรับตัวเองชดเชยความเสี ยหายที่เกิดขึน้ ให้ ร่างกายสามารถรักษาสภาพความ สมดุลย์ ภายในร่ างกาย (Internal Homiostasis) เอาใว้ ชีวติ ดาเนินต่ อไปได้ ตามปกติ การปรับตัวเซลส์ ถ้าทาได้ สมบูรณ์ ความเสี ยหายส่ วนนั้นๆไม่ มี ร่ างกายเข้ า สู่ สถานะภาพปกติ ในทางตรงข้ ามถ้ าการปรับสภาพ เซลส์ ทาได้ บางส่ วนหรือทาผิด ไปจากเดิมหรือล้มเหลว โรคหรือการเปลีย่ นแปลงของส่ วนนั้นจะแสดงอาการปรากฏ ออกมา ตั้งแต่ เล็กน้ อยจนรุนแรงถึงตายตามความเสี ยหายทีเ่ กิดขึน้ หรือส่ วนที่ ผิดปกติน้ันอาจถ่ ายทอดเป็ นพันธุกรรมถึงรุ่นต่ อๆไป ถ้ าเป็ นความเสี ยหายของ สาร พันธุกรรม ด้ วยเหตุผลดังกล่าวจึงทาให้ เกิดการจัดการแยกโรคออกเป็ นกลุ่มใหๆ่ ๆ 4 กลุ่ม ตามธรรมชาติการเกิดโรค เพือ่ ให้ ง่ายสะดวกต่ อการศึกษา Basic Groups of Diseases กลุ่ม 2 กลุ่ม 1 Congenital Disorders Hereditary Disease Congenital anomaly * Genetics * Abnormal Growth diseases & Development eg. hare lip, cleft palate etc. Reaction of self defense mechanism * inflammation * Immune disorders กลุ่ม 3 Formation of Tumor ; * Non Neoplastic * Neoplastic กลุ่ม 4 Unclassified Diseases: * most 0f unclassified diseases usually are complex in nature such as metabolic ,degeneratives , neuropsychic diseases …etc… 3. หลักการศึกษา พยาธิวท ิ ยา วิสัยทัศน์ การศึกษา เพือ่ นาผลการศึกษามาดูแล แก้ ไข (อวัยวะฯ) ส่ วนที่ เสี ยหายหรือเปลีย่ นแปลงไป ให้ คนื กลับสู่ สภาพเดิม * หัวข้ อ การศึกษาพยาธิวทิ ยา (โรค) 1. Etiology ใด้ แก่ การศึกษาถึงสาเหตุโรค ? หรือต้ นเหตุทาให้ เกิดโรค 2. Pathogenesis การศึกษากลไกการดาเนินโรค หรือเกิดโรคขึน ้ แล้ว โรคดาเนินไป สิ้นสุ ดอย่ างไร? 3. Pathological changes โรคซึ่งดาเนินไปนั้นทาให้ รู ปร่ างและหน้ าทีข่ องอวัยวะ เปลีย่ นจากเดิมไปอย่างไร? (Physiopathological change = Lesion) 4. Clinical manifestation ผู้ป่วยแสดงความผิดปกติออกมา(symptoms and signs=อาการและสิ่ งตรวจพบ) ตามการเปลีย่ นแปลงโครงสร้ างและหน้ าที่ของอวัยวะนั้นๆ อย่างไร 5.. Complication ภาวะแทรกซ้ อน(secondary changes of the other related organs) ความ ผิดปกติจากอวัยวะต้ นเหตุ เกิดผลกระทบต่ อหน้ าทีก่ ารทางานอวัยวะอืน่ ๆซึ่งทาหน้ าที่ เกีย่ วข้ องสั มพันธ์ กนั นั้น เปลีย่ นแปลงตามมาอย่างไร? 6. Prognosis การพยากรณ์โรคในอนาคต มีผลต่อผูป ้ ่ วยอย่างไร? (Prediction the outcome of diseases on patient in the future) ึ ษา ห ัวข้อ การศก โรคในอว ัยวะต่างๆ *Etiology * Pathogenesis *Pathological change= lesion * Clinical manifestation * Complication * Prognosis การเปลีย่ นแปลงโครงสร้ างและหน้ าทีอ่ วัยวะนาไปสู่ การเกิดโรค การศึกษา การเปลี่ยนแปลงของ cells, tissues and organs เมื่อ เกิดโรค คือ:ใช้ โครงสร้ างหรือรู ปร่ าง และหน้ าทีห่ รือการทางาน ของอวัยวะ ชนิด เดียวกันนั้นๆ เปรียบเทียบความแตกต่ าง ระหว่ าง ก่อน และ หลังจากเกิดโรค การเปรี ยบเทียบโครงสร้างหรื อรู ปร่ าง สามารถทาได้หลายมิติข้ ึนกับสิ่ ง และวิธีการที่ใช้ เช่นการเปรี ยบเทียบความแตกต่างด้วยตาเปล่าอาศัยการวัด ขนาด น้ าหนัก สังเกตุความเรี ยบพื้นผิว สี ทดสอบความหยุน่ ตาแหน่งที่ต้ งั ผิดไปจาก ธรรมชาติ....ฯลฯ การใช้กล้องจุลทรรศน์กาลังขยายระดับต่างๆ เปรี ยบเทียบการ เปลี่ยนแปลงในระดับจุลภาคตั้งแต่เซลส์ไปจนถึงcell organelles การ ตรวจสอบแยกชนิดเซลส์โดยวิธีImmunohistochemistry การทางานของ อวัยวะ สามารถตรวจสอบได้ โดยนาวิธีของปฏิบตั ิการชีวเคมีมาใช้ หาผลผลิตของ อวัยวะแล้วนามาเปรี ยบเทียบกันระหว่าง การทางานในสภาพปกติกบั การทางานที่ เปลี่ยนแปลงไปเมื่อเกิดโรคขึ้นในอวัยวะนั้นๆได้. ...... ฯลฯ ตัวอย่างการเปรี ยบเทียบ Normal squamous cell vs abnormal squamous cell? Structure Normal mucosal small bowel vs abnormal mucosal small bowel? Normal organ liver vs abnormal organ liver? Function Normal blood sugar vs abnormal blood sugar? eg. Blood sugar between non diabetes and diabetes patients…..etc….. Liver Abnormal changing surface liver– characterized by brownish yellow color and diffuse small nodular lesions size1-2 mm, Abnormal change cut surface liver characterized by multiple nodules , varying in size, up to 1 cm. grey– white color Liver Abnormal change cut surface liver show diffuse small white Solid masses, size vary from~ 1-3 mm. Abnormal histologic changes of cell characterized by shape, size and their nuclei, and loss of organ Architecture Abnormal cut surface, diffuse dark red spots alternated with yellow –brown color cut surface Abnormal histologic picture characterized by loss of Liver cells cords around the dilated Central vein and also dilated sinusoidal spaces Abnormal cut surface shows multiple areas varying in size contain dark green liquefaction tissue dead Histologic picture shows space lining with abnormal proliferate glandular structures around the foreign bodies 4. ความสั มพันธ์ ระหว่ างพยาธิสภาพกับผู้ป่วย “ Fact ความเจ็บป่ วยใดๆจะเกีย่ วโยงสัมพันธ์ โดยตรงหรือโดยอ้อมกับ การเปลีย่ นแปลง รู ปร่ างและหน้ าทีอ่ วัยวะของผู้ป่วยนั้น.” ตัวอย่าง: อาการโรคเช่ น ไข้ ปวดท้ อง ..ฯลฯ อวัยวะผิดปกติเช่ น ตาเหลือง คลาก้อนได้ มีนา้ ในช่ องท้ อง (S&S = clinical symptom and sign) สั ๆๆาน เหล่านีค้ อื สั ๆลักษณ์ แสดงถึงอวัยวะระบบใด ระบบหนึ่งในร่ างกาย เข้ ามาเกีย่ วข้ องกับโรค แล้ว ? (=พยาธิสภาพเกิดขึน้ แล้วในอวัยวะ) ฉนั้นการศึกษาจึงต้ องหาทาง พิศูจน์ พยาธิสภาพต่ างๆมีอวัยวะใดทีเ่ กีย่ วข้ อง ? อวัยวะต้ องสงสั ยนั้นผิดปกติจริง หรือไม่ ? เกีย่ วข้ องกับอาการแสดงโรคผู้ป่วยอย่ างไร? โดยตั้งสมมุตฐิ านความเชื่อใว้ ที่ อวัยวะซึ่งคาดว่ ามีพยาธิสภาพนั้น เป็ นเป้ าหมายการสื บค้ น แล้ วหาทางพิศูจน์ ความผิดปกติอวัยวะนั้น เป็ นต้ นเหตุของอาการและเครื่องหมายจริงที่ผ้ ปู ่ วยแสดง ออกมา โดยเลือกใช้ ความรู้ ทฤษฎีและปฏิบัตกิ ารต่ างๆทีเ่ ห็นว่ าเหมาะสมเมือ่ นาเข้ า มาใช้ แล้ ว สามารถพิศูจน์ ได้ ว่าอวัยวะนั้นมีพยาธิสภาพจริงและเกีย่ วโยงกันตาม ทีต่ ้งั สมมุตฐิ านใว้ (=การวินิจฉัยโรค) 4.1 การวิเคราะห์โรค (การวินจ ิ ฉ ัยโรค) ื่ มโยงระหว่างอว ัยวะ(พยาธิสภาพ)ก ับ(S&S)โรคผูป ความเชอ ้ ่ วย ต้องพึง่ : ความรูป ้ ฏิบ ัติการ ความรู้ ทฤษฎี Medical science & Clinical sci. * ด้านโครงสร้าง : Anatomy ของอวัยวะต่ างๆ * ด้ านหน้ าทีก่ ารทางาน : Physiology ของอวัยวะต่ างๆ ทักษะประสบการณ์ ของมนุษย์ *ทักษะ ประสบการณ์ ประสาทรับรู้ ทั้ง 5 รูป รส กลิน่ เสียง และสัมผัสใช้ ในการซักประวัตคิ ้นหาตาแหน่ งการ เจ็บ ป่ วย ร่ วมกับ ตรวจร่ างกาย ดู, *ความรู้เรื่ อง คลา, เคาะ, ฟัง ความผิดปกติร่างกายที่ Systemic Pathology & เกิดขึน้ นามาสองสิ่งนีม้ าวิเคราะห์ Clinical Knowledge and ความสัมพันธ์ ระหว่างกันเพือ่ พิศูจน์ skill (การซักประวัติ ตรวจร่ างกาย เพือ่ สมมุตฐิ านอวัยวะที่ต้องสงสัยนั้น คือ หาตาแหน่ งโรค) อวัยวะที่ผดิ ปกติจริง ศาสตร์ ด้านเทคโนโลยีและ เทคนิคปฏิบัติการต่ าง ๆ *รู้จกั และมีความรู้ในศาสตร์ และปฏิบัตกิ าร ทาง เคมี, ชีววิทยา ฟิ สิคส์ ?เพียงพอที่จะ สามารถนามาใช้ เพือ่ สืบค้นวิเคราะห์ พิศูจน์ การเปลีย่ น รูปร่ างและการทางานอวัยวะ ควร จะเลือก ใช้ ปฏิบัตกิ ารชนิดใดหรือเครื่องมือ ประเภทใดจึงจะเหมาะสม ไม่ ยุ่งยาก ค่าใช้ จ่าย น้ อย และพิศูจน์ สิ่งนั้นได้ ......ฯลฯ ้ ระโยชน์พยาธิวท ต ัวอย่างการประยุกต์ใชป ิ ยาก ับผูป ้ ่ วย (ในบทบำทแพทย์ผู ้รักษำ สงิ่ ทีต ่ ้องกำรทรำบเบือ ่ งต ้นคือกำรวินจ ิ ฉัยโรค) ข้ อมูล: อาการโรคผู้ป่วย(Symptom&Sign)โดยการซักประวัติ และตรวจร่ างกายอย่ างละเอียดเพือ่ นาไปประกอบการวิเคราะห์ ความสั มพันธ์ ระหว่ างอาการกับพยาธิสภาพ : ชายไทยอายุ 17 ปี ( OPD ) เหนื่อยง่ าย หอบเหนื่อยเมือ่ ออกแรง เพียงเล็กน้ อย ประมาณ 1 ปี ก่อนมา มีอาการมากขึน้ จนต้ องมาหาแพทย์ 4.1 ปัๆหา คลินิก (=ประวัติ ผู้ป่วยเล่า ถึงความไม่ สบายทั้ง อดีต : เคยป่ วยเป็ นไข้ เจ็บคอ บ่ อยครั้ง อดีตและปัจจุบัน รวมทั้งประวัติ ระหว่ างอายุ 3- 5 ขวบ ครอบครัวยากจน ครอบครัว) *ผูว้ เิ คราะห์ ต้องมี ความรู้ basic medical sciences และClinical sKill มาก่อน ่ : Anatomy, Physiology, microจึงจะวิเคราะห์โรค รายนีไ้ ด้ เชน biology,Immunology, Systemic Pathology เป็นต้น 4.2 ความรู้พนื้ ฐานโครงสร้ างและหน้ าทีอ่ วัยวะเพือ่ นามาใช้ เปรียบเทียบ: Anatomy, Physiology ของระบบC.V.S ; R.S ทีค่ าดว่ ามีปัๆหา Normal Function of organs Normal structure 0f organs Heart & Lung eg. Character of valves; leaflets and chordae tendinae; normal contour? Size and shape 0f Heart. ventricular wall thickness. Character of Lungs both macromicro. Structure …etc.. -Heart & Lung : -rate and rhythm of Heart beat? - Sound of blood flow through valves? - Respiratory sound and rate ? ---etc… 4.3 การวิเคราะห์ : นาข้ อมูลประวัตแิ ละการตรวจร่ างกายผู้ป่วยทีร่ วบรวมใว้ ? เปรียบ เทียบ ตั้ง สมมุตฐิ านวินิจฉัยโรคทางทฤษฏีความสั มพันธ์ ระหว่ างระบบ cvs & Rs ? โรคน่ าจะเริ่มต้ น จากพยาธิสภาพ อวัยวะของระบบใดมาก่อน? พยาธิสภาพอวัยวะเริ่มต้ น สั มพันธ์ กบั พยาธิสภาพ อวัยวะอืน่ ๆ อย่างไร และสอดคล้องกับ s&S ทางคลินิก( ผู้ป่วย) อย่างไร? (PE. ข้ อมูลตรวจร่ างกายเพิม่ เติม ) - การหายใจ 20 ครั้ง/ นาที. (ปกติ = ?) - ชีพจรเต้น 115 ครั้ง / นาที. ? (ปกติ = ? ) - คลา Apex beat หัวใจ ได้บริ เวณตาแหน่ง 5th I.C.S;? เยื้องด้านนอกต่อ Mid Clavicular line?(ปกติอยูบ่ ริ เวณใด?) - ฟังเสี ยงตาแหน่ง Apex beat มีเสี ยง Diastolic Murmur ดัง ระดับ 4 (หมายความว่า ?) ฟังปอดได้ยนิ เสี ยง Crepitation (ปกติมเี สียงอย่างไร), สังเกตเห็น เส้ นเลือดทีค่ อโป่ ง. ( ปกติโป่ งหรือไม่ ? ) 4.4 ความสั มพันธ์ ระหว่ างพยาธิสภาพ กับ อาการและสิ่ งตรวจพบที่อวัยวะนั้น Clinico – Pathological Correlation Sign, Symptom VS Anatomical and Functional changes 0f Heart (mitral valve lesion) with lungs (complication) Primary Anatomic changes Mitral Valve stenosis ? [ Leaflets characterized by sclerosis, fused together, result in narrow opening ] Primary Functional changes Diastolic Murmur gr.4 ? Flow of blood through Mitral Valve stenosis during lt. Atrium systole and Lt.ventricle-Diastole, genesis murmur at the same time volume blood through in LV chamber is lessen than normal Anatomic changes Functional changes Mitral Valve stenosis Diastolic Murmur gr.4 Lt.Ventricle contain blood Volume less than normal Increase work load to heart caused H.R. 115 / min = Compensate for normal blood Volume [1st.. Step] Lt. Ventricular Hypertrophy for increase blood Volume [2st.. Step] Overload Lt. sided Heart failure= การสู บฉีด เลือดล้มเหลว เลือดคัง่ ในปอด ดันนา้ ในหลอดเลือดซึมเข้าถุงลม ปอด(pulmonary edema) แย่งที่อากาศ หลอดเลือดดาที่คอคัง่ โป่ ง เนื่องจาก เลือดท้นย้อนกลับ ไหลเข้า RT. Atrium ไม่สะดวกเพราะเลือดยังมีคา้ งอยูม่ ากในchamber RR. 20/min หายใจหอบ(=เร็ ว) เหนื่อยเพื่อให้ได้ O2 เท่าเดิม สรุปการวินจ ิ ฉ ัยโรคทางพยาธิวท ิ ยา Anatomical Diagnosis Chronic Endocarditis of Mitral valve with marked stenosis. Acute pulmonary edema, marked *การวินจิ ฉ ัยโรคโดยแสดงถึงพยาธิสภาพลิน้ ห ัวใจซงึ่ เป็นต้นเหตุน ี้ ั ันธ์ ระหว่างอาการและพยาธิสภาพระหว่างห ัวใจ สามารถอธิบายความสมพ ั ก ับปอดผูป ้ ่ วยรายนีไ้ ด้ชดเจน เมือ ่ เทียบก ับ Clinical Diagnosis (ในมุมมองทางClinic) Chronic Rheumatic Heart With Congestive Heart Failure ซงึ่ มีความหมายเดียวก ัน 4.5 การนาเครื่องมือ, ปฎิบัติการต่ างๆมาใช้ เป็ นหลักฐาน ยา้ เพื่อความ ถูกต้ องข้ อสั นนิฐาน (พยาธิสภาพ)นั้น สั มพันธ์ สอดคล้องกับ symptom & sign ทางคลินิก -# การเลือก เครื่องมือปฏิบัตกิ ารนามาพิศูจน์ ยา้ การวินิจฉัย; เครื่องมือซึ่งนามาช่ วยพิศูจน์ ตามข้ อสั นนิฐาน พยาธิสภาพใว้ คือ หัวใจโต และมี นา้ ในปอดทีเ่ หมาะสมในรายนีค้ อื X - rays, และ EKG, จะ ช่ วยยา้ การวินิจฉัย การเปลีย่ นแปลงสภาพหัวใจ, ปอด ในตัวผู้ป่วยจริง ตามที่ คาดการณ์ ใว้ หรือไม่ ? การนาปฏิบัติการด้ าน Immunology พิศูจน์ การ ทางานระบบภูมคิ ุ้มกันของร่ างกาย มีAntibody.ในเลือด ซึ่งเป็ นหลักฐาน การเจ็บป่ วยในอดีต ต่ อเชื้อ Group A Streptococci (โรคไข้ รูมาติค) มีอยู่ใน เลือดผู้ป่วยตั้งแต่ ในวัยเด็กจริง ?.ทั้งหมดนีค้ อื หลักฐานทางวิทยาศาสตร์ ซึ่ง นามาพิศูจน์ ความจริง.........ฯลฯ 4. 6 ประโยชน์ ซึ่งได้ รับจากการศึกษาพยาธิวทิ ยา คือใช้ วเิ คราะห์ โรคนาไปสู่ คาตอบ สาหรับการดูแลผู้ป่วยคือ; - โรค เริ่มต้ น (primary disease) ทราบตาแหน่ ง ต้ นตอและทีม่ าของโรค - สาเหตุโรค การดาเนินโรค พิศูจน์ ได้ นาไปสู่ การป้ องกันเด็กคนอืน่ ต่ อไป -พยาธิสภาพจากการดาเนินโรค ทาให้ ทราบการเปลีย่ นแปลงรู ปร่ างชิ้นส่ วนอวัยวะ นาไปสู่ วิธีการแก้ไขชิ้นส่ วนทีบ่ กพร่ องนั้น กลับมาทาหน้ าที่ได้ เช่ นเดิม - อาการโรค หอบ ชีพจรเร็ว หลอดเลือดคอโป่ ง เป็ นอาการแทรกซ้ อนมีสาเหตุหลักมาจาก พยาธิสภาพทีล่ นิ้ หัวใจ แก้ ไขลิน้ หัวใจทีเ่ ป็ นเหตุของการบกพร่ อง ภาวะแทรกซ้ อน จะทุเลาและค่ อยๆหายไปเอง เมือ่ แก้ ไขพยาธิสภาพต้ นเหตุแล้ ว -อนาคตผู้ป่วยรายนีจ้ ะเป็ นอย่ างไร ถ้ าไม่ รักษา, หรือรักษา ผลจะเป็ นอย่ างไร? เราสามารถนาข้ อมูลเหล่ านีม้ าประมวลผลเข้ าด้ วยกันใช้ ตอบคาถามอนาคตผู้ป่วยนีไ้ ด้ Lt. atrium Rt.atrium bicuspid valve Tricuspid valve) Lt. ventricle Interventricular septum Chordae tendinae Normal Heart Pathological changes: Heart valve Mitral valve and chordae tendinae show sclerotic changes in chronic Rhumatic endocarditis Mitral valves show fusion of the sclerotic leaflets with marKed narrowing the Openning in rhumatic heart dis. Abnormal left Ventricular wall,hypertrophic change Abnormal Cardiac muscles Fibres,(larger than normal) and contain large amount fine & brown pigment in cytoplasm Pulmonary alveoli contain marked amout of acidophilic homogeneous material and vacuoles varying in size 5. การประยุกต์ ใช้ ด้ าน การสาธารณสุ ข ป้องกันและกาจัดหรือควบคุมโรค (ทราบต้ นเหตุและทีม่ าของโรค) 2. วิจยั สื บค้ น โรคระบาดทีไ่ ม่ ทราบสาเหตุ เพือ่ ควบคุม การแพร่ กระจาย โรค ร่ วมกับศาสตร์ อนื่ ๆ 3. รายงานข้ อมูลสถิติ สาเหตุ การตายของโรคต่ างๆ ทีเ่ ชื่อถือได้ 4. คัดกรองโรคในชุ มชน เพือ่ หาทางป้องกันและรักษาได้ อย่ างมี ประสิ ทธิภาพ 1. ความสัมพันธ์ระหว่าง Clinical problems (sign& symptom) = STUDY ABNORMAL STATE OF BODY PARTICULAR IN MORPHOLOGICAL & FUNCTIONAL CHANGES OF ORGAN, TISSUE CELLS. Basic medical sciences จบการนาเสนอ Introduction to Pathology . ึ ษา ความเข้าใจ หล้กการ ภาพรวมแนวคิดการศก ่ ยทาให้เข้าใจ โรค ในบทต่อๆไป ทีม โรค จะชว ่ ี ั อ ้ นได้งา ้ รายละเอียดซบซ ่ ยขึน Post test แก้ไขสว่ นผิดหรือเพิม ่ เติมข้อความ คาตอบให้สมบูรณ์ของ “pre test” ลงในหน้าตรงข้ามกระดาษคาตอบ บทที่ 2 พยาธิวท ิ ยาเซลส ์ Cell Pathology ึ ษำควำมผิดปกติหรือกำรเปลีย = ศก ่ นแปลง โครงสร ้ำงและหน ้ำทีซ ่ งึ่ เกิดขึน ้ กับเซลสเ์ มือ ่ สงิ่ แวดล ้อมรอบๆตัวเปลียนไป Cell Pathology เนือ้ หาและวัตถุประสงค์ การเรียนรู้ : * Review cell biology * cell adaptation * cell Injury ( degeneration & necrosis) * Somatic death Review cell biology Definition : เซลส์ เป็ นหน่ วยหลักของชีวติ ที่เล็กทีส่ ุ ด ทีส่ ามารถดารงชีวติ ได้ โดยอิสระ แต่ ต้องมีปฏิสัมพันธ์ กบั สิ่ งแวดล้ อมรอบๆตัว ถ้ าสิ่ งแวดล้ อมแปรปรวน เซลส์ ต้อง ปรับตัว (คือรักษาความสมดุลย์ ภายในเซลส์ ให้ เข้ ากับ สถานการณ์ และสิ่ งแวดล้ อมรอบๆเซลส์ น้นั (homeostasis) Cell Biology Function (Physiology ) •Ingestion & Egestion ติดต่ อสื่ อสารและมีปฏิกริ ิยาโต้ ตอบกับ สิ่ งเร้ า [excitation] ได้ สร้ างพลังงานเองได้ เคลือ่ นไหวได้ ย่ อยอาหารและทาลายสารพิษได้ * สั งเคราะห์ สารได้ *สะสมสารต่ าง ๆ ได้ * สื บพันธ์ ได้ Structure (Anatomy) * กล่าวเฉพาะโครงสร้ างพืน้ ฐานที่ สาคัๆ: • Cell wall (membrane) • Mitochondria • Endoplasmic reticulum • Nucleus Basic Cell Structure Organelles ส่ วนประกอบซึ่ งเป็ นโครงสร้างพื้นฐานที่จาเป็ นของเซลล์ Products (rER, sER) Endoplasmic Reticulum Nucleus Nuclear membrane Mitochondria Cytoplasm Cell wall (Plasma membrane) Nuclear Pores Cell = Smallest unit of life which having ability to be free living by interaction with the environment Cell wall (membrane) structure (Molecular level) Function ประกอบด้วยเยือ่ Phospholipids สอง ชิ้น ประกบกันโดยมี Proteins, glycoprotein เป็ นไส้กลาง Receptors -Transmembrane Proteinsเป็ นส่วนพิสูจน์ทราบบน ผนังเซลล์จะ bind กับ Molecules ที่เฉพาะเพื่อยอมให้ moleculesนั้นผ่านผนังเข้าเซลส์ได้ 1. ทาหน้าที่เป็ น Barrier ระหว่าง ภายในเซลล์กบั ภายนอกเซลล์ (รักษาสภาพสมดุลภายในเซลล์) 2. ยอมให้ Molecules ions สามารถ ผ่านเข้าออก เซลล์ได้ 3 วิธี Active transport -ยอมให้ Na+, K+, Ca++ รวมถึง H+ ion เข้า-ออกเซลล์เพื่อรักษา internal homeostasis ของ molecules ภายในเซลส์ใว้โดย อาศัยกลไกNa+ Pump ควบคุม Diffusible - สาร aminoacid, glucose สามารถซึม ผ่านเข้า ออกโดยอาศัย Proteinsที่ เป็ นไส้ใน ผนังเซลส์ Mitochondria Structure -ลักษณะเป็ นท่อกลวงมีเส้นผ่า ศุนย์กลางประมาณ 1 ใน 9 ของความยาว- ผิวด้านหน้าม้วน พับทาให้เป็ นสัน Cristae เพื่อเพิ่มพื้นที่ มีความอ่อนตัวมาก และเคลื่อนลอยไปมาใน Cytoplasm ได้ Function - เป็ นแหล่ งสร้ าง,และสารองพลังงานของเซลล์ (powerhouse of cell) ในรู ปของ ATP - ขบวนการสาคัญในการ generate พลังงาน คือ “Oxidative phospholylation”การเติมphosphate เข้าไปในglucose, fatty acid และนาพลังงานที่ได้จากการ ย่อย glucose และ fatty Acid จากเลือดไปสร้าง ADP สู่ ATP, ภายใน Mitochondria จากนั้น ATP จะถูกปล่อย ออกจาก Mitochondria เข้าไปเก็บไว้ใน Cytoplasm ทุก ๆ แห่งที่ตอ้ งการใช้พลังงาน เมื่อต้องการใช้ ATP จะ สลายตัวให้ ADP + พลังงาน ส่ วน ADP ถูกนากลับเข้า ไปใน Mitochondria สร้าง ATP ขึ้นใหม่ Endoplasmic reticulum rER Structure มีลกั ษณะเป็ นระบบแผ่ นทีป่ ระกอบ ขึน้ จากหลอดต่ อเชื่อมโยงกันตลอด คล้ าย ๆ คลอง ผิวนอกของแผ่ นมี Ribosome เกาะติดเป็ นก้ อนอยู่ ทัว่ ๆ ไปOrganelle นี้ เรียกว่ า “rough Endoplasmic Reticulum” rER Function เป็ นแหล่งผลิต Enzymes และ Proteins ชนิดต่ าง ๆ Ribosomes ส่ วนที่เกาะติดกับ ER หรื อ ลอยอิสระใน Cytoplasm คือ แหล่งที่ Aminoacids รวมตัวกันเพื่อ ประกอบ เป็ น Proteins (Polypeptides) โดยอาศัย สื่ อ “mRNA” ซึ่งมีขอ้ มูลลาดับของ Amino acid ที่จะประกอบเป็ น Proteins ชนิ ด ต่างๆ ตามความต้องการของ cell Nucleus Structure cell Function (Gene) Nuceolus Nuclear wall Chromosomes รู ปลักษณะเป็ นก้อนกลมลอยอยูใ่ น Cytoplasm ส่ วนสาคัญของ Nucleus คือ Chromosomes มีลกั ษณะเป็ นเส้นใยเล็ก ๆ จานวน 46 ชิ้น อยูเ่ ป็ นคู่ ๆ 23 คู่ เป็ น gene bearer / chromatin คือ Genetic material ใน chromosomes / chromosomes มี ส่ วนประกอบส่ วนใหญ่เป็ น DNA และ Histone / gene คือ Function unit ของสารพันธุ กรรมจะมีตาแหน่งเฉพาะ (Locus) บน Chromosome - สามารถแบ่งตัวเองทาให้เซลล์เพิ่ม จานวนมากขึ้นได้ - เป็ นตัวกาหนดการสร้าง Enzymes, Proteins อื่น ๆ ของเซลล์เพื่อการอยู่ รอดของเซลล์ - ถ่ายทอดสู่ลูกหลานได้ Definition Cell Pathology การเปลี่ยนแปลงรู ปร่ างเซลส์มีสองลักษณะ ขึ้นกับภาวะความเครี ยดที่มาจากสิ่ งแวดล้อมลักษณะ แรกคือการปรับตัว(adaptation)สนองตนเอง เมื่อมี การกระตุน้ เกิดขึ้น แต่ถา้ มีอนั ตรายรุ นแรงมากระทาต่อ เซลส์ๆจะเกิดการบาดเจ็บ(cell injury)จนถึงล้มตาย (cell necrosis)ในที่สุด Types of cell Pathology ลักษณะการเปลีย่ นแปลง 1. Cell adaptation การปรับสภาพตามสิ่ งแวดล้อม 2. Cell injury การบาดเจ็บ (เกินขอบเขตการปรับ สภาพ) Type of injury: Degeneration & Death) 3. Somatic death (The whole cells of body ) Cell adaptation หมายถึงการปรับทั้งโครงสร้ างและการทางานของเซลล์ ให้ สอดคล้ องกับ สภาพแวดล้อมทีเ่ ปลีย่ นแปลงไปเพือ่ maintain internal homeostasis โดยรวมของร่ างกายใว้ การปรับตัวเกิดการเปลีย่ นรูปร่ างขึน้ หลายลักษณะ อาธิ เช่ น; * Atrophy decrease in size * Hypertrophy increase in size * Hyperplasia increase in cell number * Metaplasia = normal original Cell transformation to another type cell (adult cell) * Dysplasia = abnormal tissues forming (= abnormal orientation, size and shape of cells) Senile Atrophy Brain (brain change in old age) Atrophy (adaptation of endometrium) Hyperplasia (adaptation of endometrium) Squamous metaplasia (adaptation of endocervix mucosa) Hypertrophy heart ( adaptation of heart muscle ) Normal epidermis Hyperplasia (adaptation of epidermis) Dysplasia (squamous epithelium of uterine cervix) Cell Injury ี หายของเซลส ์ การบาดเจ็ บและความเสย (Structural Damage and Functional Disorders) Type of cell Injury Reversible injury Irreversible Injury =Necrosis (cell death) Structure changes Degeneration Structure changes Histologic picture Ultrastructure organelles Functional changes Defect in chemical changes Cellular Accumulation eg.water, glycogen, fat, protiens, pigmentation Nuclear changes Pyknosis karyorrhexis kariolysis Cytoplasmic changes Injurious Agents : สาเหตุการบาดเจ็บ Extracellular Agents •Physical agents eg. Heat, Cold, radiation, Trauma. •Chemical agents eg. Organic & inorganic compounds, Toxins, enzymes. •Hormonal disorders Intracellular Agents • O2 deprivation •Loss of intracellular Ca++ homeostasis •Intracellular accumulation free radicals Diagram 0f cell injury ความเสี ยหาย Cell membrane Endoplasmic reticulum Mitochondria Nucleus Loss of Essential Function More or Less depend on type And severity of Injurious agents Reversible or nonlethal injury Withdraw Causes Return to normal Irreversible or Lethal injury Cell death [necrosis] การบาดเจ็บภายใน Cell เนื่องจาก Biochemical defects การบาดเจ็บภายในเซลล์ เกิดจาก “ความผิดปกติ ของสารชีวเคมี ทีม่ าจาก ปฏิกริ ิยาเคมี ภายในเซลล์ คุณสมบัตขิ องสารนั้นเปลีย่ นไป” ผลจากการเปลีย่ น คุณสมบัตขิ องสารนั้น ก่ อให้ เกิดความเสี ยหายต่ อองค์ ประกอบโครงสร้ างพืน้ ฐานของ เซลล์น้ัน เช่ นความผิดปกติทเี่ กิดจาก • Cell ขาด Oxygen หรือ การขาดเลือด ischemia • การสู ๆเสี ย ca++ homeostasis ภายในเซลล์ • การสะสมอนุมูลอิสระภายในเซลล์ ---- ฯลฯ - - -- Cells ischemia Mitochondria Hypoxia = aerobic metabolism stop Biochemical changes Emergency pathway Cell Damage ระบบ energy dependent loss Na+,Ca+Pump ระบบ Anaerobic glycolysis ผลแทรกซ้ อน เริ่มทางานสร้ าง ATP ทดแทน Ribosomes ทำงำนลดลงหรือไม่ทำงำน หลุดออกจาก ER Ca++,Na+ และนำนอก เซลล์ไหลทะลักเข้ำเซลล์ K+ในเซลล์ไหลออก - เซลล์บวมนา้ - ER บวม Glycogen เปลีย่ นเป็ น glucose กระบวนการสลายตัว glucose ให้ พลังงาน + Lactic acid (สะสมมากขึน้ ) การสร้ าง Proteins ลดลง Glycogen pH ในเซลล์ต่า ไขมันเข้ ามา สารองลดลง Chromatin จับตัวกันเป็ นก้ อน (Nuclear changes) เกาะจับในเซลล์ Loss of intracellular Ca++ homeostasis (lack of energy) Extra Cellular Ca++ (ประมาณ 1.06-1.32 mm. Mol.) Cell membrane-----------------------------------------------------------------Intracellular Ca++ (ประมาณ < 0.1 Mol.) Mitochondria Endoplasmic reticulum Release Ca++ Release Ca++ ปริมาณ Cytosolic Ca++ Activate Enzymes Activity AT Pase Phospholipase Protease Endonuclease ATP decrease Lipid * cell membrane damage * disruption protein of cell membrane * Cytoxkeleton damage Nuclear chromatin damage 3. ความเสี ยหายจากการสะสม อนุมูลอิสระ [Free radicals ] Intracellular normal Metabolism By oxidative process พลังงาน + อนุมูลอิสระ [=free electron unstable molecules ] สามารถเข้ ารวมหรือจับกับสาร(catalist) ข้ างเคียงได้ ง่าย เช่ น โมเลกุลของโปรตีน, ไขมัน และ คาร์ โบไฮเดรต Activated Autocatalytic reaction protein fat….. release Free radicals Again Damage to cell wall, Organelles Morphological Changes in reversible injury ultra structure Changes • Cell wall; bleb Histological changes Cell * cloudy swelling • Mitochondria swelling * Vacuolar changes in cytoplasm • ER. swelling * Hyaline changes in cytoplasm • detach ribosomes * Pyknotic Nuclei : * Accumulation of endogenous Substances Reversible injuly ( Intracellular Fat Deposition) Cell Death Necrosis •Pathological cell death occur follow irreversible degeneration or direct lethal injury Apoptosis * Programmed cell death = การตายโดยอัตโนมัตเิ มื่อหมดอายุ การใช้ งาน โดยการกาหนดจาก Gene , มาก่อนแล้ว characterized by cell shrinkage intracytoplasmic debris (Apoptotic bodies) follow by nuclear pyknosis and removed by phagocytic cell Type of Necrosis (Classify by Gross changes) Coagulative Liquefactive Fat Caseous necrosis necrosis necrosis necrosis Special type necrosis *Fibrinoid necrosis (micro change) *Gangrene : Dry or Wet type (grosschange) Morphological changes in cell death (Microscopic Necrosis) Nuclear changes • Pyknotic nuclear deeply basophilic mass • Karyorrhexis แตก ออกเป็ นชิ้น • Karyolysis ละลาย หายไป Cytoplasmic changes •Homogeneous deeply acidophillic staining •Vacuolation •Autolysis Somatic Death การตายทั้งร่ างกาย= การสิ้นใจ [dead of Body] ทาง การแพทย์ หมายถึง * Vital organs หยุดทางานทั้งหมด Eg. R.S - หยุดหายใจ CVS - หัวใจหยุดเต้ น CNS – Brain death ไม่ มีคลืน่ สมอง, ไม่ มี reflex (แสดงโดย EEG ) ทั้งนี้ โดยปราศจาก เครื่องช่ วยชีวติ ทั้งปวง ตามมาโดยการตายอวัยวะอืน่ ๆ Sequences of Dead •Body temperature drop down to environmental temperature •Rivor Mortis=body blood fall down by gravitation and accumulate in lower part of body •Rigor Mortis= rigidity of body (first start on mandible) •Putrefaction [Autolysis] จบการนาเสนอ “พยาธิวทิ ยาเซลส์ ” Post test Cell pathology ์ ำหน ้ำที?่ 1. Organelle ‘ Mitochondria’ ของเซลสท A.แหล่งผลิตโปรตีน และ เอนไซ B.แม่พม ิ พ์กำรสร ้ำงโปรตีน C. แหล่งสร ้ำงพลังงำน D.รักษำควำมสมดุลภำยในเซลส ์ E. กำหนดกำรสร ้ำงชนิดโปรตีน 2. @ควำมหมำยของ Metaplasia คือ A. จำนวนเซลสเ์ พิม ่ ขึน ้ B. กำรเปลีย ่ นรูปเซลสโ์ ตเต็มทีแ ่ ล ้วจำกชนิดหนึง่ ไปเป็ นเซลส ์ อีกชนิดหนึง่ ์ นำดเล็กลง 3. เซลสข ์ นำดโตขึน 4. เซลสข ้ 5. ขนำดเซลส ์ กำรเรียงตัวเซลส ์ ไม่เป็ นไปตำมปกติ Pathogenesis: เซลล์ ขาด O2 Cell Anoxia mitochondria Anoxia Mitochondria สร้ าง ATP ลดลง ต้ องสร้ าง ATP ทดแทนปริมาณทีห่ ายไป โดย Anaerobic Metabolism “glycolysis” (การสลายตัว glycogenซึ่ง สะสมสารองภายในเซลส์ Glucose) พลังงาน + Lactic acid (ปริมาณสะสมมากขึน้ ) ADP ATP (ใช้ งานใน cell) Glucose พลังงานสารอง –หมด PH ต่า (เป็ นกรดมากขึน้ ใน Cytoplasm) กระทบการทางานระบบ Enzymes อืน่ ๆ กลไก Na+pumpใช้ งานไม่ ได้ การเปลีย่ นแปลงภายใน เซลล์ตามมา Na+, K+, H2O ไหลเข้ าเซลล์ เป็ นผลให้ cell, mitochondria, ER บวม Ribosomes หลุด, Clumping chromatin ไขมันสะสมในเซลล์ การสร้ าง Proteins ลดลง Defined technical terms