Information System Integration ระบบสารสนเทศสาหรั บการบูรณาการกระบวนการทัง้ วิสาหกิจ องค์กรในปั จจุบนั เน้ นการบริหารจัดการทรัพยากรวิสาหกิจ (money, manpower, material, machine) ด้ วยการประสานกระบวนการทางธุรกิจเข้ าด้ วยกันเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในกระบวนการผลิตและการ บริการโดยมีลกู ค้ าและความอยู่รอดขององค์กร เป็ นเป้าหมายหลัก งานประยุกต์ในวิสาหกิจได้ รับการออกแบบมาเพื่อสนับสนุนการบูรณาการของกระบวนการหลักทัว่ ทั ้ง วิสาหกิจ ประกอบด้ วย ระบบสารสนเทศสาหรับการวางแผนทรัพยากรวิสาหกิจ ระบบการจัดการห่วงโซ่อปุ ทาน ระบบการจัดการลูกค้ าสัมพันธ์ และระบบการจัดการความรู้ ระบบสารสนเทศเหล่านี ้ใช้ ประโยชน์จากอินเทอร์ เน็ต อินทราเน็ต เทคโนโลยีเว็บ มาช่วยในการถ่ายทอด ข้ อมูลภายในองค์กร และไปยังบริษัทคู่ค้า ตลอดจนเชื่อมโยงไปยังลูกค้ า ระบบสารสนเทศเหล่านี ้มีการทางานข้ าม หน้ าที่ (across business functions) และข้ ามหลายระดับ ในบางกรณีได้ ขยายขอบเขตไปนอกองค์กร เช่น ไปยังลูกค้ า บริษัทผู้สนับสนุนวัตถุดิบ และบริษัทคู่ค้า ด้ วย Accounting Business process Business process Business process Enterprise-wide business Process Human Resources Marketing and Sales Organizational Boundaries Vendors Organizational Boundaries Manufacturing Customers Finance ระบบวิสาหกิจบูรณาการกระบวนการทางธุรกิจหลักของทังองค์ ้ กรเอาไว้ ภายในระบบซอฟต์แวร์ เดี่ยว ที่ ช่วยให้ ข่าวสารสามารถไหลเวียนไปทัว่ ทังองค์ ้ กรได้ อย่างราบรื่ น ระบบนี ้มุ่งเน้ นไปที่กระบวนการ ภายในองค์กร แต่ก็อาจรวบรวมรายการธุรกรรมเกี่ยวกับลูกค้ าและตัวแทนจาหน่ายเข้ าไว้ ด้วยก็ได้ KIND OF INFORMATION SYSTEM GROUPS SERVED Strategic Level Senior Managers ESS Systems Management Level Middle Managers MIS and DSS Systems Operational Level Transaction Processing Systems Operational Managers Human Manufacturing Accounting Sales and Finance Resources Marketing FUNCTIONAL AREAS ระบบสารสนเทศสาหรั บการบูรณาการกระบวนการทัง้ วิสาหกิจ (ต่ อ ….) ปั จจุบนั เทคโนโลยีสารสนเทศเข้ ามามีบทบาทสาคัญในการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของ ผู้ประกอบการในการบริ หารธุรกิจ กระบวนการทางธุรกิจรูปแบบใหม่ถกู สร้ างและควบคุมด้ วยระบบ คอมพิวเตอร์ ในการเชื่อมโยงสารสนเทศระหว่างฝ่ าย แผนก ภายในและภายนอกองค์กร ส่งผลให้ ความสามารถในการสื่อสาร ควบคุม ตลอดจนการประมวลผลเพื่อการตัดสินใจ เป็ นไปอย่างถูกต้ อง รวดเร็ว สามารถสร้ างคุณค่าและลดต้ นทุนการผลิต เทคโนโลยีที่นามาใช้ ในการบริ หารจัดการทรัพยากรภายในองค์กรวิสาหกิจ (money, manpower, material, machine) ให้ เป็ นไปอย่างมีประสิทธิภาพคือ การวางแผน ทรัพยากรวิสาหกิจ (Enterprise Resource Planning: ERP) การวางแผนทรัพยากรวิสาหกิจ (Enterprise Resource Planning: ERP) การวางแผนทรัพยากรวิสาหกิจ เป็ นโปรแกรมที่รองรับข้ อมูลการทางานประจาวัน (transaction) เช่นการขายในแต่ละครัง้ นาข้ อมูลเชื่อมโยงกับรายการของฝ่ ายบัญชี เพื่อบันทึก ลงสมุดประจาวัน สร้ างเอกสารเพื่อรอตัดสินค้ าออกจากคลังสินค้ า สร้ างคาสัง่ การผลิตในกรณีที่ไม่มี สินค้ าในคลังสินค้ า สร้ างคาสัง่ ซื ้อวัตถุดิบในกรณีที่ไม่มีวตั ถุดิบในคลังสินค้ า เป็ นต้ น ดังนัน้ การวางแผนทรัพยากรวิสาหกิจ จึงเป็ นเครื่ องมือที่ใช้ ในการจัดการและวางแผนการ ใช้ ทรัพยากรต่างๆ ขององค์กรวิสาหกิจโดยเป็ นระบบที่เชื่อมโยงระบบงานต่างๆขององค์กรเข้ าด้ วยกัน ตังแต่ ้ ระบบงานทางด้ านการจัดซื ้อจัดจ้ าง การผลิต การเงินและการบัญชี การบริ หารทรัพยากรบุคคล การจัดการสินค้ าคงคลัง ตลอดจนระบบการขนส่งและกระจายสินค้ าเพื่อช่วยให้ การวางแผนและ บริ หารทรัพยากรขององค์กรเป็ นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ช่วยลดเวลาและขันตอนการท ้ างานของ องค์กรลง และเป็ นระบบที่จาเป็ นสาหรับผู้ประกอบการอุตสาหกรรมทุกขนาดในปั จจุบนั Sales Accounting Manufacturing and Production Generate order Submit order Check credit Approve credit Generate invoice Assemble product Ship product The order fulfillment process. Generating and fulfilling an order is a multi-step process involving activities performed by the sales, manufacturing and production, and a accounting functions. ตัวอย่ างระบบสารสนเทศสาหรั บการบูรณาการกระบวนการทัง้ วิสาหกิจ • ระบบสารสนเทศสาหรับการวางแผนทรัพยากรวิสาหกิจ (Enterprise Resource Planning : ERP) เป็ นระบบบริ หารทรัพยากรองค์กร ใช้ ในการจัดการและวางแผนการใช้ ทรัพยากรต่างๆ ขององค์กร โดยเชื่อมโยงกระบวนงานหลัก (core business process) ต่างๆ ขององค์กรเข้ าด้ วยกัน ตังแต่ ้ ระบบงานทางด้ านบัญชีและการเงิน ระบบงานทรัพยากรบุคคล ระบบการจัดจ้ าง การผลิต รวมถึงระบบการกระจายสินค้ า ไว้ ในระบบฐานข้ อมูลเดียวกัน • ระบบการจัดการห่วงโซ่อปุ ทาน (Supply Chain Management :SCM) เป็ นการ จัดการการปฏิสมั พันธ์ของกระบวนการต่างๆ ที่เกี่ยวข้ องกับอุปทานของสินค้ าและบริ การ โดยการ ปฏิสมั พันธ์จะมีลกั ษณะเชิงบูรณาการ โดยมีเป้าหมายในการสร้ างมูลค่าเพิ่ม และสนองตอบต่อ ความต้ องการของตลาด ตัวอย่ างระบบสารสนเทศสาหรั บการบูรณาการกระบวนการทัง้ วิสาหกิจ (ต่ อ...) • ระบบการจัดการลูกค้ าสัมพันธ์ (Customer Relationship Management: CRM) เป็ นการจัดการอย่างหนึง่ ซึง่ ถูกออกแบบมาเพื่อช่วยธุรกิจให้ สามารถจัดการกระบวนการ ต่างๆ ภายในให้ ดาเนินการได้ อย่างสอดคล้ องและตอบสนองต่อความต้ องการของลูกค้ า เพื่อสร้ าง และรักษาความซื่อสัตย์ของลูกค้ าที่มีต่อองค์กร เช่น ค้ นหาความชอบ รสนิยมของลูกค้ า และการ สร้ างความสัมพันธ์กบั ลูกค้ าเพื่อให้ ลกู ค้ าเกิดความพอใจสูงสุด CRM ไม่ ใช่ ซอฟต์ แวร์ แต่ การทา CRM จาเป็ นต้ องอาศัยเทคโนโลยีสารสนเทศมาเป็ นเครื่ องมือในการเก็บข้ อมูลลูกค้ า ซึ่ง เป็ นส่ วนสาคัญที่จะทาให้ องค์ กรสามารถดาเนินงานเพื่อตอบสนองความต้ องการของลูกค้ า ได้ • ระบบการจัดการองค์ความรู้ (Knowledge Management System) ช่วยให้ องค์การ สามารถบริ หารกระบวนการหลักต่าง ๆ ได้ ดียิ่งขึ ้น Traditional View of Information System There are many specialized types of systems found in organizations serving different business functions and organizational levels. Many of these systems were built in isolation from each other and consequently could not automatically exchange information. Information needed to support decision making was often stuck in these specialized systems. PRODUCTION FINANCE AND ACCOUNTING MAINTENANCE SALES AND MARKETING Business Functions Vendors Vendors Vendors Organizational Boundaries Manufacturing Business processes Manufacturing Systems Accounting Business processes Accounting Systems Finance Business processes Finance Systems Marketing and Sales Business processes Marketing and Sales Systems Human Resources Business processes Customer Customer Customer Human Resources Systems Information Systems มุมมองของระบบแบบดัง้ เดิม องค์ กรส่ วนใหญ่ สร้ างระบบสานสนเทศที่เป็ นอิสระต่ อกัน และระบบงานเหล่ านีก้ ถ็ ูก สร้ างมาเป็ นเวลานานแล้ วด้ วยระบบฐานข้ อมูลต่ างกัน ดัวยเฟรมเวิร์กและแฟลตฟอร์ มต่ างกัน นอกจากนี ้ ระบบ เหล่ านีส้ นับสนุนกระบวนการทางธุรกิจแบบไม่ ต่อเนื่อง (discrete business processes) และหน้ าที่ทาง ธุรกิจแบบไม่ ต่อเนื่อง (discrete business functions) นอกจากนี ้ ระบบงานเหล่ านีแ้ ทบจะไม่ มีการ เชื่อมโยงสารสนเทศไปยังตัวแทนฝ่ ายขายและลูกค้ า The disadvantages of implementing isolate functional information systems • Many of these systems could not automatically exchange information. : - Manufacturing units might not know exactly how many and what types of items to produce because their systems could not easily obtain information from systems that processed customer orders. - Sales personnel might not be able to tell at the time they place an order whether the items that were ordered were in inventory. - Customers could not track their orders. - Manufacturing could not communicate easily with finance to plan for new production • Managers may not assemble the data they need for a comprehensive overall picture of the organization’s operations. • The fragmentation of data in hundreds of separate systems could have a negative impact on organizational efficiency and business performance. ENTERPRISE APPLICATIONS : ENTERPRISE SYSTEMS Intensifying global competition are forcing firms to focus on speed to market, improving customer service, and more efficient execution. The flow of information and work needs to be integrated. These changes require powerful new systems that can integrate information from many different functional areas and organizational units and coordinate firm activities with those of suppliers and other business partners. Implement or buy entirely new enterprise applications that can coordinate activities, decision, and knowledge across many different functions, levels, and business units in a firm. Examples of Enterprise systems : Supply chain management systems SCM) Customer relationship management systems (CRM) Knowledge management systems (KM) SAP (Systems, Applications and Products in Data Processing Each of these enterprise applications integrates a related set of functions and business process to enhance the performance of the organization as a whole. They solve the problem of organizational inefficiencies created by isolated islands of information, business processes, and technology. Benefits of Enterprise Systems • Enterprise systems make organization change four dimensions of business: firm structure, management process, technology platform, and business capability. - Companies can use enterprise systems to support organizational structures that were not previously possible or to create a more disciplined organization culture. - Companies might use enterprise systems to integrate the corporation across geographic or business unit boundaries or to create a more uniform organizational culture in which everyone uses similar processes and information. • Information supplied by an enterprise system is structured around cross-functional business processes, and it can improve management reporting and decision making. An enterprise system might help management more easily determine which products are most or least profitable. • Enterprise systems provide firms with a single, unified information system technology platform that stores data on all the key business processes. The data have common, standardized definitions and formats that are accepted by the entire organization. Challenges of Enterprise Systems • Enterprise systems require complex pieces of software and large investments of time, money, and expertise. It might take a large company three to five years to fully implement all of the organizational and technology changes required by an enterprise system. Because enterprise systems are integrated, it is difficult to make a change in only one part of the business without affecting other parts as well. • Enterprise systems require not only large technology investments but also fundamental changes in the way the business operates. Companies will need to rework their business processes to make information flow smoothly between them. Employees will have to take on new job functions and responsibilities. Many barriers must be overcome before the benefits of enterprise systems can be realized. ตัวอย่ าง การใช้ ประโยชน์ จาก ERP • เมื่อตัวแทนฝ่ ายขายในสิงคโปร์ ป้อนข้ อมูลคาสัง่ ซื ้อสินค้ าของลูกค้ าเข้ ามา ข้ อมูลนี ้จะไหลเวียนอนุมตั ิไปยัง ส่วนอื่น ๆ ในองค์กร ทาให้ ผ้ ทู ี่ต้องใช้ ข้อมูลนี ้สามารถดึงไปใช้ ได้ ทนั ที โรงงานที่จีนจะได้ รับคาสัง่ การผลิตและ เริ่ มดาเนินการผลิตในทันที คลังสินค้ าสามารถตรวจสอบความก้ าวหน้ าได้ จากระบบออนไลน์ และสามารถ จัดตารางการนาส่งสินค้ าได้ • คลังสินค้ าสามารถตรวจสอบจานวนชิ ้นส่วนวัสดุที่มีอยู่ และสามารถเติมจานวนชิ ้นส่วนให้ เต็มในส่วนที่ ฝ่ ายโรงงานได้ ใช้ หมดไป • ระบบวิสาหกิจจัดเก็บข่าวสารเกี่ยวกับผลิตผลเอาไว้ โดยที่ข้อมูลนี ้อาจถูกนาไปใช้ โดยตัวแทนผู้ให้ บริ การ ลูกค้ าเพื่อติดตามความก้ าวหน้ าของคาสัง่ ซื ้อได้ ในทุกขันตอนของกระบวนการผลิ ้ ต • การปรับปรุงข้ อมูลการขายและฝ่ ายผลิตจะถูกดาเนินการโดยอัตโนมัติไหลผ่านไปยังแผนกบัญชี เพื่อทา การคานวณตัวเลขสาหรับตารางบัญชีงบดุล บัญชีรายรับรายจ่าย บัญชีมลู ค่าการดาเนินธุรกิจ และจานวน เงินสดหมุนเวียนขึ ้นมาได้ ใหม่ • สานักงานใหญ่ที่กรุงเทพสามารถดูข้อมูลที่ทนั สมัยแบบนาทีตอ่ นาทีเกี่ยวกับข้ อมูลการขาย คลังสินค้ า และฝ่ ายผลิตได้ ในทุกขันตอนของกระบวนการท ้ างาน รวมทังข้ ้ อมูลที่ได้ รับการปรับปรุงใหม่เกี่ยวกับการคาด เดายอดขายของฝ่ ายขายและฝ่ ายผลิต และการคานวณมูลค่าของผลผลิต Enterprise Resource Planning ทางานอย่างไร ERP ประกอบด้ วยกลุม่ ซอฟต์แวร์ ที่มีความเป็ นอิสระต่อกันที่สนับสนุนกระบวนการพื ้นฐานทาง ธุรกิจภายในองค์กรสาหรับฝ่ ายการเงินและบัญชี ฝ่ ายทรัพยากรบุคคล ฝ่ ายการผลิต และฝ่ ายการขายและ การตลาด การกระจายสินค้ า รวมทังการวางแผน ้ กลุม่ ซอฟต์แวร์ เหล่านี ้จะช่วยให้ ข้อมูลถูกนาไปใช้ หลาย ส่วนขององค์กร สาหรับการประสานงานและควบคุมองค์กรอย่างเที่ยงตรง • Cash on hand • Accounts receivable • Customer credit • Revenue Sales & Marketing Finance & Accounting Central Database • Orders • Sales forecasts • Return requests • Price changes ระบบวิสาหกิจประกอบด้ วยซอฟต์แวร์ กลุม่ หนึ่ง ร่วมกับฐานข้ อมูลที่ถกู ประมวลผลโดย ซอฟต์แวร์ กลุม่ นี ้ เพื่อบูรณาการฟั งก์ชนั่ งาน ต่าง ๆ ขององค์กรเข้ าด้ วยกัน Human Resources • Hours worked • Labor cost • Job skills Manufacturing & Production • Materials • Production schedules • Shipment dates • Production capacity • Purchases กระบวนการทางธุรกิจที่ได้ รับการสนับสนุนโดยระบบวิสาหกิจ กระบวนการทางการเงินและการบัญชี (Financial and accounting processes) ได้ แก่ บัญชี รายรับรายจ่ายทัว่ ไป สังหาริมทรัพย์ การประมาณการและการบริหารเงินสด บัญชีสนิ ค้ า บัญชีทรัพย์ สนิ บัญชีภาษี การบริหารจัดการเครดิต การรายงานด้ านการเงิน การวางแผนด้ านการเงิน กระบวนการทางานเกี่ยวกับทรั พยากรบุคคล (Human resources processes) ได้ แก่ การบันทึก เวลาทางาน บัญชีเงินเดือนและค่าตอบแทน การวางแผนบุคลากร บัญชีสวัสดิการและผลประโยชน์ ระบบบริ หาร เวลา ระบบค่าตอบแทน และการรายงานค่าใช้ จ่าย กระบวนการทางานเกี่ยวกับการผลิตและผลิตผล (Manufacturing and production processes) ได้ แก่ กระบวนการจัดหาวัตถุดิบ การบริหารคลังสินค้ า การสัง่ ซื ้อสินค้ า การจัดส่งสินค้ า การ วางแผนการผลิต การจัดตารางผลิตสินค้ า การวางแผนความต้ องการวัตถุดิบ การควบคุมคุณภาพ การกระจาย สินค้ า การขนส่งสินค้ า การบารุงรักษาเครื่ องจักรกล กระบวนการขายและการตลาด (Sales and marketing processes) ได้ แก่ การประมวลคาสัง่ ซื ้อ การกาหนดราคาสินค้ า การทาสัญญาซื ้อขาย การส่งใบเรี ยกเก็บเงิน การตรวจสอบเครดิต การบริหารแรงจูงใจ การ วางแผนการขาย การนา ERP software package เช่ น SAP R/3 มาปรับใช้ ในองค์ กร ซอฟต์ แวร์ สาเร็จรู ปนี ้ จะถูกสร้ างขึน้ มาโดยมีข้อกาหนดหลายพันข้ อที่ถูกกาหนด ไว้ ลวงหน้ าโดยบริษัทผู้พฒ ั นา องค์ กรต่ าง ๆ จะสร้ างซอฟต์ แวร์ นีข้ นึ ้ มาจะต้ องเริ่มต้ นด้ วย การเลือกหน้ าที่การทางานต่ าง ๆ ที่ต้องการใช้ จากนัน้ จึงทาการจัดให้ มีกระบวนการทาง ธุรกิจที่สอดคล้ องกับข้ อกาหนดล่ วงหน้ าของกระบวนการทางธุรกิจในซอฟต์ แวร์ นัน้ ตัวอย่างต่อไปนี ้แสดงกระบวนการจัดหาอุปกรณ์ใหม่ที่ประกอบด้ วยฟั งก์ ชนั่ ต่าง ๆ โดย SAP ได้ สร้ างแผนผังกระบวนการนี ้ (หรื อเรี ยกว่ารูปแบบอ้ างอิง) ขึ ้นมาโดยละเอียด ซึง่ SAP สร้ างขึ ้นมาโดยอาศัยพื ้นฐานของความรู้ทางกระบวนการธุรกิจและ “best practice” (Best practice) หมายถึงแนวทางปฏิบตั ิที่ประสบความสาเร็จมากทีส่ ดุ หรื อมีประสิทธิภาพในการบรรลุวตั ถุประสงค์ทางธุรกิจ ตัวอย่ าง Solutions for Equipment Procurement ใน SAP Spend Analysis Maximize savings across your enterprise. Our spend analysis software can help you reduce costs, identify supplier risk, and unlock new revenue opportunities. Get real-time visibility into company-wide spend performance and savings potential Increase opportunities and improve decision making with more reliable data Reduce purchasing spend, generate bottom-line profits, and ensure compliance Invoice Management Streamline your accounts payable process, monitor payment status, and ensure payment compliance with our end-to-end invoice management system. Collaborate with vendors to resolve problems, address issues, and submit invoices Identify areas within your organization that will benefit from shared service delivery Analyze root causes for late payments and manage invoice processing times more efficiently Master Data Management Deliver a version of master data for supplier, product, customer, and user-defined data objects across diverse environments. Consolidate and merge master data from disparate systems in a centralized repository Cleanse, normalize, and enhance master data via integration with SAP Data Services Distribute master data and allow regions to add attributes in target systems Manage rich product content including PDFs and images for catalogs Publish incremental updates of content and distribute in multiple formats Integrated Business Management On-Demand Run your entire enterprise on a single, affordable, cloud-based business management solution – ideally suited for SMEs and subsidiaries (สาขา, บริษัทในเครื อ) of large corporations. Accelerate financial, customer relationship, HR, procurement, and supply processes Gain timely insights with integrated analytics and reporting Access key business functionality anywhere – on a broad range of mobile devices Rely on SAP experts to manage and maintain solution in world-class data centers การนา ERP software package เช่ น SAP R/3 มาปรับใช้ ในองค์ กร (ต่ อ....) องค์กรต่าง ๆ สามารถใช้ แผนผังต้ นแบบซึง่ มีตารางข้ อกาหนดต่าง ๆ ที่ซอฟต์แวร์ SAP จัดให้ มีจาก best practice มาปรับแต่งการทางานของระบบให้ เข้ ากับวิธีการดาเนินธุรกิจของแต่ ละองค์กร ตัวอย่างเช่น องค์กรสามารถใช้ ตารางข้ อกาหนดเหล่านี ้ในการเลือกว่าตนเองต้ องการ ติดตามค่าใช้ จ่ายโดยสายการผลิต หรื อหน่วยทางภูมิศาสตร์ หรื อตามช่องการกระจายสินค้ า แต่ละโมดุลของซอฟต์แวร์ SAP มีตารางข้ อกาหนดที่ได้ กาหนดไว้ แล้ วเป็ นต้ นแบบ มากกว่า 3,000 ตารางซึง่ ข้ อกาหนดเหล่านี ้มาจาก best practice ที่พยายามให้ ครอบคลุม เงื่อนไขที่ควรจะเป็ นในกระบวนการธุรกิจหนึง่ ๆ ดังนันการจั ้ ดให้ มีความสอดคล้ องระหว่าง กระบวนการและข้ อกาหนดต้ นแบบของซอฟต์แวร์ วิสาหกิจ กับกระบวนการทางธุรกิจขององค์กร จาเป็ นต้ องใช้ ความพยายามเป็ นอย่างมาก การนา ERP software package เช่ น SAP R/3 มาปรับใช้ ในองค์ กร (ต่ อ....) ถ้ าซอฟต์แวร์ วิสาหกิจไม่สนับสนุนวิธีการที่องค์กรดาเนินธุรกิจ องค์กรก็สามารถเขียน ซอฟต์แวร์ บางส่วนขึ ้นมาใหม่ให้ สามารถสนับสนุนเงื่อนไขการดาเนินงานของตนเองได้ อย่างไรก็ ตามซอฟต์แวร์ วิสาหกิจ นันมี ้ ความซับซ้ อนเป็ นอย่างมาก และการปรับแต่งซอฟต์แวร์ ถ้ า ปรับแต่งมากอาจจะลดประสิทธิภาพการทางานของซอฟต์แวร์ ลงไป หรื อทาให้ การบูรณาการ ข่าวสารและกระบวนการทางานที่เป็ นประโยชน์โดยตรงของซอฟต์แวร์ นนเกิ ั ้ ดปั ญหาได้ ถ้ า องค์กรต้ องการที่จะได้ รับผลประโยชน์สงู สุดจากซอฟต์แวร์ วิสาหกิจ องค์กรจะต้ องเปลี่ยนวิธีการ ปฏิบตั ิงานให้ มีความสอดคล้ องกับกระบวนการทางธุรกิจที่กาหนดขึ ้นมาโดยซอฟต์แวร์ วิสาหกิจ นัน้ และทาให้ มีการปรับแต่งซอฟต์แวร์ ให้ น้อยที่สดุ ตัวแทนจาหน่ ายซอฟต์ แวร์ วิสาหกิจ ตัวแทนจาหน่ายซอฟต์แวร์ วิสาหกิจรายใหญ่ได้ แก่ SAP, Oracle, Tiny ERP, PeopleSoft และ Baan ซอฟต์แวร์ เหล่านี ้มีอยู่หลายรุ่นที่ได้ รับการออกแบบมาสาหรับ ธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม และรุ่นที่สามารถจัดหาผ่านทางผู้ให้ บริ การโปรแกรมประยุกต์ บนเว็บ ซอฟต์แวร์ วิสาหกิจใช้ สถาปั ตยกรรมไคลเอ็นต์/เซิร์ฟเวอร์ แต่ต่อมาได้ รับการพัฒนาให้ ใช้ ประโยชน์จากเครื อข่ายเว็บได้ โดยผู้ใช้ สามารถใช้ งานผ่านทาง web browser รวมทัง้ การเชื่อมโยงเข้ ากับซอฟต์แวร์ ขององค์กรอื่น แม้ ว่าการออกแบบในตอนเริ่ มต้ นมีวตั ถุประสงค์ที่ จะทาให้ เกิดเป็ นระบบบูรณาการกระบวนการทางธุรกิจหลักภายในองค์กร แต่ต่อมาซอฟต์แวร์ วิสาหกิจได้ กลายมาเป็ นซอฟต์แวร์ ที่ทางานร่วมกับระบบภายนอกองค์กรมากขึ ้นและมีขีด ความสามารถในการสื่อสารกับลูกค้ า ผู้สนับสนุนวัตถุดิบ และองค์กรอื่น เพื่อให้ ได้ มาซึง่ ข้ อมูล ภายนอก ที่สนับสนุนการวางแผนและตัดสินใจให้ ด้วย สภาพปั จจุบันของข้ อมูลระบบสารสนเทศ 1. การขาดการประสานรวมกันของระบบงาน ระบบข้ อมูลสารสนเทศที่มีมาแต่เดิมนัน้ ได้ ถกู สร้ างขึ ้นมาเพื่อให้ สามารถแก้ ปัญหาในแต่ละ หน่วยงานแยกกันไป โดยมุง่ เน้ นให้ มีการประหยัดพลังงาน การใช้ เครื่ องจักรแทนคน และการทาให้ เป็ น อัตโนมัติให้ มากที่สดุ ผลที่ตามมาก็คือ ระบบข้ อมูลสารสนเทศที่สร้ างขึ ้นมาจะแตกต่างกันไปตามแผนกต่างๆ และเป็ นเอกเทศต่อกัน ทาให้ เกิดความล่าช้ าของการไหลหรื อการเชื่อมต่อของข้ อมูลระหว่างระบบงานที่ ต่างกัน ซึง่ จะเป็ นอุปสรรคทาให้ ไม่สามารถสร้ างระบบงานที่รวดเร็วได้ 2. การขาดความเป็ นอันหนึ่งอันเดียวกันของข้ อมูล เนื่องจากมีการกระจัดกระจายของข้ อมูลอยู่ตามแผนกต่างๆ และมีระบบข้ อมูลสารสนเทศแยก ตามแผนกต่างๆ กัน ทาให้ เกิดความซ ้าซ้ อนของข้ อมูล และการที่จะให้ แผนกต่างๆ ใช้ ข้อมูลร่ วมกันนันเป็ ้ นไป ได้ ยาก ทาให้ เป็ นอุปสรรคกีดขวางการทางานประสานร่วมกันระหว่างแผนก และทาให้ การที่แต่ละแผนก จะใช้ ความสามารถของตนเองช่วยกันแก้ ปัญหาและบริ หารงานอย่าง สร้ างสรรค์นนไม่ ั ้ สามารถเกิดขึน้ ได้ ทาไมปั จจุบันจึงมีความจาเป็ นต้ องนาระบบ ERP มาใช้ (ต่ อ...) 3. การขาดความรวดเร็วในการตอบสนอง ระบบข้ อมูลที่ผ่านมานัน้ ข้ อมูลที่เกิดขึ ้นในแต่ละแผนกนันจะถู ้ กประมวลผลแบบ Batch processing เป็ นช่วงๆ เช่น เดือนละครัง้ ฯลฯ ทาให้ ข้อมูลของแต่ละแผนกนัน้ กว่าจะถูกนาไปใช้ ใน องค์กรโดยรวมเกิดความล่าช้ า ดังนันการบริ ้ หารที่สามารถวิเคราะห์ข้อมูลสดได้ ณ เวลานัน้ (real time) เพื่อการตัดสินใจได้ ทนั ท่วงที (timely decision) เป็ นไปไม่ได้ และเกิดขึ ้นยากได้ 4. ขาดความสามารถด้ าน globalization ระบบข้ อมูลสารสนเทศที่ผ่านมานัน้ ถูกสร้ างขึ ้นมาใช้ เฉพาะงาน ไม่สามารถรองรับการทาธุรกิจ แบบข้ ามชาติ และไม่สามารถทาให้ กระบวนการทางธุรกิจ (business process) เป็ นแบบ global ได้ ดังนันการใช้ ้ ข้อมูลข้ ามประเทศเพื่อร่วมงานกันจึงเกิดขึ ้นยาก ผลก็คือ ทาให้ การตัดสินใจที่ทนั เหตุการณ์ บนพื ้นฐานของสภาพความจริ งปั จจุบนั ของการดาเนินการแบบ global ไม่สามารถทาได้ 5. ความไม่ ยืดหยุ่นของระบบข้ อมูลสารสนเทศ ระบบข้ อมูลสารสนเทศเดิมส่วนใหญ่จะพัฒนากันขึ ้นมาเอง ระบบจึงประกอบด้ วยโปรแกรมที่มี ขนาดใหญ่ ขาดความยืดหยุ่นในการแก้ ไขเพิ่มเติมและดูแลระบบ จึงเป็ นการยากต่อการปรับปรุงเพื่อให้ สามารถรับมือกับการบริ หารเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ ้นอย่างรวดเร็วได้ คุณค่าทางธุรกิจของซอฟต์แวร์ วิสาหกิจ ซอฟต์แวร์ วิสาหกิจทาการบูรณาการกระบวนการทางธุรกิจที่มีอยู่หลากหลายในองค์กรให้ เข้ า เป็ นระบบเดียว และการบูรณาการนี ้จะเกิดประโยชน์อย่างมากถ้ าองค์กรสามารถติดตังและใช้ ้ งานซอฟต์แวร์ วิสาหกิจได้ อย่างถูกต้ อง ซอฟต์แวร์ วิสาหกิจสามารถทาให้ เกิดคุณค่าขึ ้นทังการเพิ ้ ่มประสิทธิภาพขององค์กร และการจัดให้ มีระบบสารสนเทศสาหรับใช้ งานทัว่ ทังองค์ ้ กรเพื่อช่วยผู้บริ หารในการตัดสินใจในเรื่ องต่าง ๆ ได้ ดียิ่งขึ ้น องค์ กรที่มีรูปแบบเดียวกัน องค์กรสามารถใช้ ซอฟต์แวร์ วิสาหกิจในการสนับสนุนโครงสร้ างองค์กรซึง่ แต่เดิมไม่สามารถ กระทาได้ หรื อนามาใช้ ในการสร้ างวัฒนธรรมองค์กรที่เป็ นระเบียบแบบแผนมากยิ่งขึ ้น ตัวอย่างเช่น องค์กรสามารถใช้ ซอฟต์แวร์ วิสาหกิจในการบูรณาการองค์กรทัว่ ทังภู ้ มิภาค เช่น บริ ษัทเนสเล่ย์ ได้ ติดตัง้ ซอฟต์แวร์ วิสาหกิจ SAP R/3 เพื่อใช้ เป็ นวิธีการกาหนดมาตรฐานและประสานงานกระบวนการธุรกิจ ในสาขาจานวน 500 แห่งที่กระจายอยู่ใน 80 ประเทศทัว่ โลกเข้ าด้ วยกัน การปฏิบัตงิ านที่มีประสิทธิภาพ และกระบวนการทางธุรกิจที่มีลูกค้ าเป็ นตัวผลักดัน ซอฟต์แวร์ วิสาหกิจสามารถช่วยในการสร้ างพื ้นฐานที่ดีให้ แก่องค์กรที่มีลกู ค้ าเป็ นตัวผลักดันด้ วย การบูรณาการกระบวนการทางธุรกิจที่แยกกันอยู่ในฝ่ ายขายและการตลาด ฝ่ ายการผลิต ฝ่ ายการเงินและ บัญชี ฝ่ ายทรัพยากรบุคคล และฝ่ ายการขนส่งสินค้ า เข้ าด้ วยกัน องค์กรจะมีประสิทธิภาพมากขึ ้นในการ สนองตอบต่อความต้ องการของลูกค้ าในเรื่ องของตัวสินค้ าหรื อข่าวสาร ในการพยากรณ์สินค้ าใหม่ และในการ สร้ างสินค้ าตามความต้ องการของผู้ใช้ (จาก mass production มาเป็ น mass customization ซึง่ Dell ประสบความสาเร็จทางธุรกิจด้ วยวิธีนี ้) ฝ่ ายโรงงานผลิตสินค้ าจะได้ รับการแจ้ งข่าวสารที่ดียิ่งขึ ้น กว่าเดิมเกี่ยวกับการผลิตเฉพาะสินค้ าตามรูปแบบที่ลกู ค้ าสัง่ ซื ้อ การจัดหาวัตถุดิบในจานวนที่พอดีกบั การผลิต การแยกขันตอนการผลิ ้ ตออกเป็ นส่วน ๆ และการลดระยะเวลาที่วตั ถุดิบ หรื อสินค้ าที่ผลิตเสร็ จแล้ วจะต้ องถูก เก็บในคลังสินค้ า กรณีตวั อย่าง ภายหลังจากที่บริ ษัท Lucent Microelectronics Group ได้ ทาการติดตังซอฟต์ ้ แวร์ วิสาหกิจ Oracle enterprise system ในปี ค.ศ. 1999 ปรากฏว่าบริ ษัทสามารถลดกระบวนการ ต่างๆที่ใช้ งานอยู่ลงจาก 10 – 15 วันเหลือเพียงน้ อยกว่า 8 ชัว่ โมง บริ ษัทสามารนาส่งสินค้ าที่เป็ นชิพ ซิลิคอนที่ใช้ ในโทรศัพท์มือถือให้ แก่ลกู ค้ า เช่น บริ ษัทอีริคสันได้ ภายใน 56 ชัว่ โมงหลังจากที่ได้ รับคาสัง่ ซื ้อ สินค้ าเข้ ามา ถ้ าหากว่าโรงงานผลิตไม่สามารถปฏิบตั ิงานได้ เนื่องจากการขาดแคลนพลังงาน เพราะเกิดเหตุ ไฟดับ หรื ออุบตั ิภยั ทางธรรมชาติ บริ ษัท Lucent ก็สามารถส่งคาสัง่ ในการผลิตไปยังโรงงานอื่นได้ ข่ าวสารทั่วทัง้ องค์ กรเพื่อช่ วยในการตัดสินใจที่ดีขนึ ้ นอกเหนือจากการเฝ้าตรวจกิจกรรมในการปฏิบตั ิงาน เช่นการติดตามสถานะของคาสัง่ ซื ้อ และ ระดับสินค้ า ตลอดจนวัตถุดิบในคลังสินค้ าแล้ ว ซอฟต์แวร์ วิสาหกิจยังสามารถปรับปรุงการรายงาน สารสนเทศทังองค์ ้ กร และกระบวนการตัดสินใจให้ ดียิ่งขึ ้นด้ วย ซอฟต์แวร์ วิสาหกิจจะสร้ างคลังเก็บข้ อมูล กลาง central database 1 ชุด (แต่อาจมีการประมวลผลแบบรวมศูนย์ หรื อแบบกระจายก็ได้ ) และ บูรณาการข้ อมูลทังหมดของทั ้ งองค์ ้ กรเข้ าด้ วยกัน ข้ อมูลดังกล่าวจะมีความเหมือนกัน มีการกาหนด มาตรฐานและข้ อกาหนดต่าง ๆ (business logic) รวมทังรู้ ปแบบที่เหมือนกันที่ได้ รับการยอมรับทัว่ ทังองค์ ้ กร ประสิทธิภาพของส่วนต่าง ๆ จะเหมือนกันทัว่ ทังองค์ ้ กร และสามารถจัดให้ มีระบบอัตโนมัติโดย ที่ไม่ต้องให้ พนักงานคนใดเข้ าไปจัดการเลย ผู้บริ หารระดับสูงสามารถค้ นหาข้ อมูลการปฏิบัติงานของแต่ละ ส่วนขององค์กรได้ ย่างง่ายดาย และในทุกเวลาที่ต้องการ ตัวอย่างเช่น ระบบวิสาหกิจช่วยให้ ผ้ บู ริ หาร สามารถทราบได้ ในทันทีว่าสินค้ าใดที่มีผลกาไรมากที่สดุ หรื อน้ อยที่สดุ ได้ ซอฟต์แวร์ วิสาหกิจประด้ วยเครื่ องมือสาหรับการวิเคราะห์ข้อมูลที่ระบบได้ จัดเก็บรวบรวมไว้ เพื่อนามาใช้ ในการประเมินค่าประสิทธิภาพโดยรวมของทังองค์ ้ กร ซอฟต์แวร์ วิสาหกิจ SAP มีเครื่ องมือใน การวิเคราะห์ผลกาไร การจัดการค่าดาเนินการ การบริ หารความเสี่ยง balanced scorecard การ วางแผนการลงทุน และเครื่ องมือ อื่น ๆ ที่ช่วยให้ ผ้ บู ริ หารได้ รับทราบข้ อมูลอย่างละเอียดของประสิทธิภาพ องค์กร การนา ERP มาใช้ และการเชื่อมโยงไปสู่ กจิ กรรมการปฏิรูปองค์ กร การนา ERP มาใช้ และการเชื่อมโยงไปสู่กจิ กรรมการปฏิรูปองค์ กร (ต่ อ) 1. ริเริ่มกิจกรรมปฏิรูปองค์ กรโดยการนา ERP มาใช้ การนา ERP มาใช้ นนั ้ จะต้ องผลักดันกิจกรรมการปฏิรูปองค์กรทุกระดับชัน้ ตังแต่ ้ ชนรากฐาน ั้ องค์กร ชันกระบวนการทางธุ ้ รกิจ และชันระบบสารสนเทศองค์ ้ กร พลังขับเคลื่อนของกิจกรรมการปฏิรูปองค์กรจากการนา ERP มาใช้ 1. ริเริ่มกิจกรรมปฏิรูปองค์ กรโดยการนา ERP มาใช้ (ต่อ……) การนา ERP มาใช้ ไม่ได้ หมายถึงเพียงแค่การสร้ างระบบข้ อมูลสารสนเทศ องค์กรใหม่ทงระบบโดยใช้ ั้ ระบบ ERP เท่านัน้ ก่อนอื่นต้ องเริ่มจากกิจกรรมเพื่อ เปลี่ยนแปลงจิตสานึกให้ เห็นความสาคัญของการปฏิรูปองค์กร ซึง่ เป็ นการปฏิรูปในชัน้ รากฐานขององค์กร เพื่อทาให้ เกิดความเข้ าใจในแนวคิดของ ERP ทัว่ ทังองค์ ้ กร ต่อจากนันต้ ้ องทบทวนห่วงโซ่กิจกรรม(ห่วงโซ่ของมูลค่า) เดิมและสร้ างระบบใหม่ขึ ้น ให้ สามารถสร้ างมูลค่าเพิ่มเพื่อสนองตอบความต้ องการของลูกค้ าได้ ดียิ่งขึ ้น จากนันจะใช้ ้ กระบวนการทางธุรกิจเป็ นฐาน เพื่อสร้ างระบบ ERP ขึ ้นมาใหม่เป็ นระบบสารสนเทศ ขององค์กร ซึง่ ถือว่าเกิดการปฏิรูปในชันระบบสารสนเทศขององค์ ้ กรจากการนา ERP มาใช้ 2. การฝั งลึกของกิจกรรมปฏิรูปองค์ กรที่เกิดจากการนา ERP มาใช้ การฝั งลึกของกิจกรรมปฏิรูปองค์ กรที่เกิดจากการปฏิรูปรากฐานองค์ กร 2. การฝั งลึกของกิจกรรมปฏิรูปองค์ กรที่เกิดจากการนา ERP มาใช้ (ต่อ……) เมื่อมีการปฏิรูปชันรากฐานขององค์ ้ กรฝั งลึกขึ ้น จะทาให้ เกิดแรงผลักดันเพื่อ การปฏิรูปองค์กรอย่างต่อเนื่องและสามารถส่งผลให้ เกิดความสามารถ ที่จะผลิตสินค้ า และบริการใหม่ๆ ที่สร้ างสรรค์ได้ อย่างรวดเร็วตรงตามความต้ องการของตลาด การ สร้ างผลิตภัณฑ์หรื อบริการใหม่ๆ นี ้ จะส่งผลเรี ยกร้ องให้ เกิดการปฏิรูปใหม่ๆ ในชัน้ ระบบสารสนเทศองค์กรด้ วย เช่น เกิดความคิดว่าแนวคิด ERP นันน่ ้ าจะขยายขอบเขต ให้ ใหญ่ขึ ้น ซึง่ จะเป็ นผลทาให้ เกิดการปฏิรูปอย่างต่อเนื่องของระบบ ERP กิจกรรมปฏิรูปองค์ กรโดยการนา ERP มาใช้ การนา ERPมาใช้ สง่ ผลให้ เกิดการปฏิรูปด้ านต่างๆ คือ 1. การปฏิรูปการทางาน การนา ERP มาใช้ จะทาให้ เกิดการปฏิรูประบบการทางานที่มีอยู่เดิมโดยปริ ยาย การ ปฏิรูปการทางานส่งผลกระทบต่อการบริ หารธุรกิจด้ าน - การเพิ่มประสิทธิภาพและความเหมาะสมให้ กบั กระบวนการทางธุรกิจ - การทาให้ การบริ การรวดเร็ ว ไวต่อเหตุการณ์ - การลดลงของค่าใช้ จ่าย 2. การปฏิรูปการบริหารธุรกิจ การนา ERP มาใช้ นนั ้ จะทาให้ สามารถรวมศูนย์งานทังหมดในห่ ้ วงโซ่กิจกรรม (ห่วงโซ่ ของมูลค่า) ได้ และสามารถรู้ถึงกิจกรรมในห่วงโซ่กิจกรรมได้ แบบ real time เมื่อสามารถรับรู้ถึง สภาพการณ์โดยรวมของการบริ หารอย่างชัดเจน ก็จะทาให้ สามารถดูแลบริ หารและลงทุนทรัพยากร ทางการบริ หารต่างๆ ได้ อย่างมีประสิทธิภาพ กิจกรรมปฏิรูปองค์ กรโดยการนา ERP มาใช้ (ต่ อ.......) 3. การปฏิรูปวัฒนธรรมและวิถีขององค์ กร ในการปฏิรูปการทางาน มีความจาเป็ นต้ องแก้ ไขรูปแบบโครงสร้ างองค์กร แบบดังเดิ ้ มที่แบ่งแยกในแนวตังตาม ้ function และมีชนมากมาย ั้ โดยจะต้ อง ปฏิรูปโครงสร้ างให้ เป็ นแบบแนวราบ (flat) ซึง่ สามารถควบคุมห่วงโซ่ของกิจกรรม เพิ่มมูลค่าตลอดตามแนวนอนได้ อย่างมีประสิทธิภาพ การเปลี่ยนแปลงโครงสร้ าง องค์กรแบบนี ้จะส่งผลให้ เกิดการปฏิรูปวัฒนธรรมและวิถี ขององค์กรในด้ าน - การเป็ นตัวเองและความกระตือรื อร้ นของพนักงาน - การใช้ ความสามารถของพนักงานให้ เกิดผล (empowerment) - การใช้ ความคิดสร้ างสรรค์ในฐานะขององค์กรให้ เกิดผล ทาไมองค์ กรจึงไม่ พัฒนาซอฟต์ แวร์ ERP ขึน้ มาใช้ เอง 1. ใช้ เวลานานมากในการพัฒนา software การที่จะพัฒนา ERP software ขึ ้นมาเองนัน้ มักต้ องใช้ เวลานานมากในการพัฒนา และจะต้ องพัฒนาทุกระบบงานหลักขององค์กรไปพร้ อมๆ กันทังหมด ้ จึงจะสามารถรวมระบบงาน ได้ ตามแนวคิดของ ERP ซึง่ จะกินเวลา 5-10 ปี แต่ในแง่ของการบริ หารองค์กร ถ้ าต้ องการใช้ ระบบ ERP ฝ่ ายบริ หารไม่สามารถจะรอคอยได้ เพราะสภาพแวดล้ อมในการบริ หารมีการ เปลี่ยนแปลงตลอด ระบบที่พฒ ั นาขึ ้นอาจใช้ งานไม่ได้ ดังนันผู ้ ้ บริ หารจึงไม่เลือกวิธีการพัฒนา ERP software เองในองค์กร 2. ค่ าใช้ จ่ายในการพัฒนาสูงมาก การพัฒนา business software ที่รวมระบบงานต่างๆเข้ ามาอยู่ใน package เดียวกัน จะมีขอบเขตของงานกว้ างใหญ่มากครอบคลุมทุกประเภทงาน ต้ องใช้ เวลานานมากในการ พัฒนาและค่าใช้ จ่ายก็สงู มากตามไปด้ วย หรื อถ้ าให้ บริ ษัทที่รับพัฒนา software ประเมินราคา ค่าพัฒนา ERP software ให้ องค์กร ก็จะได้ ในราคาที่สงู มาก ไม่สามารถยอมรับได้ อีกเช่นกัน ทาไมองค์ กรจึงไม่ พฒ ั นาซอฟต์ แวร์ ERP ขึน้ มาใช้ เอง (ต่ อ.......) 3. ค่ าดูแลระบบและบารุ งรักษาสูง เมื่อพัฒนา business software ขึ ้นมาใช้ เอง ก็ต้องดูแลและบารุงรักษา และถ้ ามีการ เขียนโปรแกรมเพิ่มหรื อแก้ ไขโปรแกรม การบารุงรักษาจะต้ องทาอยู่อย่างยาวนานตลอดอายุการใช้ งาน เมื่อรวมค่าบารุงรักษาในระยะยาวต้ องใช้ เงินสูงมาก อีกทังกรณี ้ ที่มีการปรับเปลี่ยน Software ไป ตาม platform หรื อ framework ที่เปลี่ยนไปหรื อเกิดขึ ้นใหม่ ก็เป็ นงานใหญ่ ถ้ าเลือกที่จะดูแล ระบบเองก็ต้องรับภาระค่าใช้ จ่ายในการบารุงรักษานี ้ พร้ อมกับรักษา บุคลากรด้ าน IT นี ้ไว้ ตลอดด้ วย โครงสร้ างของ ERP package โครงสร้ างของ ERP package 1. Business Application Software Module ประกอบด้ วย Module ที่ทาหน้ าที่ในงานหลักขององค์กร คือ การบริหารการขาย การ บริหารการผลิตการบริหารการจัดซื ้อ บัญชี การเงิน บัญชีบริหาร ฯลฯ แต่ละ Module สามารถทางานอย่างโดดๆ ได้ แต่ก็มีการเชื่อมโยงข้ อมูลระหว่าง Modules กัน เมื่อ กาหนด parameters ให้ กบั module จะสามารถทาการเลือกรูปแบบ business process หรื อ business rule ให้ ตอบสนองเป้าหมายขององค์กร ตาม business scenario โดยมี business process ที่ปรับให้ เข้ ากับแต่ละ องค์กรได้ ERP package ที่ตา่ งกันจะมีเนื ้อหา และน ้าหนักการเน้ นความสามารถ ของแต่ละ Module ไม่เหมือนกัน และเหมาะกับการนาไปใช้ งานในธุรกิจที่ต่างกัน ใน การเลือกจึงต้ องพิจารณาจุดนี ้ด้ วย โครงสร้ างของ ERP package (ต่อ.....) 2. ฐานข้ อมูลรวม (Integrated database) Business application module จะ share ฐานข้ อมูลชนิด Relational database (RDBMS) หรื ออาจจะเป็ น database เฉพาะ ของแต่ละ ERP package ก็ได้ Software Module จะประมวลผลทุก transaction แบบเวลาจริง และบันทึกผลลงในฐานข้ อมูลรวม โดยฐานข้ อมูลรวม นี ้สามารถถูก access จากทุก Software Modules ได้ โดยตรงโดยไม่ จาเป็ นต้ องทา batch processing หรื อ File transfer ระหว่าง Software Module เหมือนในอดีต และทาให้ ข้อมูลนันมี ้ อยู่ “ที่เดียว” ได้ โครงสร้ างของ ERP package (ต่อ.....) 3. System Administration Utility Utility กาหนดการใช้ งานต่างๆ ได้ แก่ การลงทะเบียนผู้ใช้ งาน, การกาหนดสิทธิการใช้ , การรักษาความปลอดภัยข้ อมูล, การบริ หารระบบ LAN และ network ของ terminal, การ บริ หารจัดการ database เป็ นต้ น 4. Development and Customize Utility ERP สามารถออกแบบระบบการทางานใน business process ขององค์กรได้ อย่าง หลากหลาย ตาม business scenario แต่บางครัง้ อาจจะไม่สามารถสร้ างรูปแบบอย่างที่ต้องการ ได้ หรื อมีความต้ องการที่จะ Customize บางงานให้ เข้ ากับการทางานของบริ ษัท ERP package จึงได้ เตรี ยม Utility ที่จะสนับสนุนการพัฒนาโปรแกรมส่วนนี ้ไว้ ด้วย โดยจะมีระบบพัฒนาโปรแกรม ภาษา 4 GL (Fourth GenerationLanguage) ให้ มาด้ วย Function ของ ERP package ERP package โดยทัว่ ไปจะจัดเตรี ยม Software module สาหรับ งานหลักของธุรกิจต่าง ๆ ไว้ ดงั นี ้ 1. ระบบบัญชี 1.1 บัญชีการเงิน – General, Account Receivable, Account Payable, Credit/Debit, Fixed Asset, Financial, Consolidated Accounts, Payroll, Currency Control(multi-currency) 1.2 บัญชีบริหาร – Budget Control, Cost Control, Profit Control, Profitability Analysis, ABC Cost Control, Management Analysis, Business Plan Function ของ ERP package (ต่ อ.....) 2. ระบบการผลิต 2.1 ควบคุมการผลิต – Bill of Material, Production Control, MRP, Scheduling, Production Cost Control, Production Operation Control, Quality Control, Equipment Control, Multi-location Production Supporting System 2.2 ควบคุมสินค้ าคงคลัง – Receipt/Shipment Control, Parts Supply Control, Raw Material, Stocktaking 2.3 การออกแบบ – Technical Information Control, Parts Structure Control, Drawing Control, Design RevisionSupport System 2. 4 การจัดซื ้อ – Outsourcing/Purchasing, Procurement, Acceptance, การคืนสินค้ า, ใบเสนอราคา, ใบสัญญา 2.5 ควบคุมโครงการ – Budget, Planning, Project Control Function ของ ERP package (ต่ อ.....) 3. ระบบบริหารการขาย – Demand/Sales Forecasting , Purchase Order, Sales Planning/Analysis, Customer Management, Inquiry Management, Quotation Management, Shipment Control, Marketing, Sale Agreement, Sale Support, Invoice/Sales Control 4. Logistics – Logistic Requirement Planning , Shipment/Transport Control, Export/Import Control, Warehouse management, Logistics Support Function ของ ERP package (ต่ อ.....) 5. ระบบการบารุ งรั กษา – Equipment Management, Maintenance Control, Maintenance Planning 6. ระบบบริหารบุคคล – Personnel Management, Labor Management, Work Record Evaluation, Employment, Training & HRD, Payroll, Welfare Management คุณสมบัตทิ ่ ีดีของ ERP package 1. มีคณ ุ สมบัติ online transaction system เพื่อให้ สามารถใช้ งานแบบ real time ได้ 2. รวมข้ อมูลและ information ต่างๆ เข้ ามาที่จดุ เดียว และใช้ งานร่วมกันโดยใช้ integrated database 3. มี application software module ที่มีความสามารถสูงสาหรับงาน หลักๆ ของธุรกิจได้ อย่าหลากหลาย 4. มีความสามารถในการใช้ งานในหลายประเทศ ข้ ามประเทศ จึงสนับสนุนหลาย ภาษา หลายสกุลเงินตรา 5. มีความยืดหยุน่ และสามารถปรับเปลี่ยนขยายงานได้ ง่าย เมื่อระบบงานหรื อ โครงสร้ างองค์กรมีการเปลี่ยนแปลง คุณสมบัตทิ ่ ีดีของ ERP package (ต่อ......) 6. มีขนตอนและวิ ั้ ธีการในการติดตังสร้ ้ างระบบ ERP ในองค์กรที่พร้ อมและชัดเจน 7. เตรี ยมสภาพแวดล้ อม (ระบบสนับสนุน) สาหรับการพัฒนาฟั งก์ชนั ที่ยงั ขาดอยู่ เพิ่มเติมได้ 8. สามารถใช้ กบั เทคโนโลยีสารสนเทศใหม่ๆ 9. ใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศที่เป็ นมาตรฐานระดับโลก มีความเป็ นระบบเปิ ด (open system) 10. สามารถ interface หรื อเชื่อมโยงข้ อมูลกับระบบงานที่มีอยูแ่ ล้ วในบริษัทได้ 11. มีระบบการอบรมบุคลากรในขันตอนการติ ้ ดตังระบบ ้ 12. มีระบบสนับสนุนการดูแลและบารุงรักษาระบบ ชนิดของ ERP package 1. ERP ชนิดที่ใช้ กับทุกธุรกิจหรื อเฉพาะบางธุรกิจ ERP package โดยทัว่ ไปส่วนมากถูกออกแบบให้ สามารถใช้ ได้ กบั งาน แทบทุกประเภทธุรกิจ แต่งานหลักของธุรกิจซึง่ ได้ แก่ การผลิต การขาย Logistics ฯลฯ มักจะมีความแตกต่างกันตามประเภทของธุรกิจดังนันจึ ้ งมี ERP package ประเภทที่เจาะจงเฉพาะบางธุรกิจอยูใ่ นตลาดด้ วย เช่น ERP package สาหรับ อุตสาหกรรมเคมี อุตสาหกรรมกระดาษ อุตสาหกรรมยา เป็ นต้ น ชนิดของ ERP package (ต่ อ.......) 2. ERP สาหรั บธุรกิจขนาดใหญ่ หรื อสาหรั บ SMEs เดิม ERP package ได้ รับการพัฒนาขึ ้นเพื่อใช้ ในธุรกิจขนาดใหญ่อย่าง แพร่หลาย ต่อมาตลาดเริ่มอิ่มตัว ผู้ผลิตจึงได้ เริ่มหันเป้ามาสูบ่ ริษัทขนาดกลางและขนาด ย่อมมากขึ ้นเรื่ อยๆ ไม่วา่ จะเป็ นธุรกิจขนาดใหญ่ ขนาดกลาง หรื อขนาดย่อม ระบบและ เนื ้อหาของระบบงานหลักต่างๆจะไม่แตกต่างกันมาก เพียงแต่ในธุรกิจขนาดใหญ่จะมี ปริมาณของเนื ้องานมากขึ ้น ปั จจุบนั มี ERP package ที่ออกแบบโดยเน้ นสาหรับ การใช้ งานในธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อมโดยเฉพาะ ออกมาจาหน่ายมากขึ ้น เช่น - Tiny Soft - People Soft - SAP & Oracle Application/Oracle - CONTROL - IFS Application - MFG/PRO - J.D. Edwards__