นางพันธ์ทิพ อึ้งผาสุข

advertisement
1
มุมมองความพร้อมด้านวิจยั ทางวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยีเพือ่ ก้าวสู่ AEC
National STI Competitiveness
นางพันธทิ
์ พ อึง้ ผาสุข
ประธานคณะกรรมการเทคโนโลยีกลุม
่ ปตท.
February 2013
Agenda
• AEC และยุทธศาสตร์ไทย
• STI (Science Technology and Innovation)
“วิจยั และนวัตกรรมทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี”
• ความพร้อม STI ของไทย
• มุมมอง การวิเคราะห์ และตัวอย่าง (Gap Analysis)
Strictly Confidential
2
Agenda
• AEC และยุทธศาสตร์ไทย
• STI (Science Technology and Innovation)
“วิจยั และนวัตกรรมทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี”
• ความพร้อม STI ของไทย
• มุมมอง การวิเคราะห์ และตัวอย่าง (Gap Analysis)
Strictly Confidential
3
ASEAN Economic Community
การรวมตัวประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
AEC Overview – Key Characteristics
Deepening and broaden economic integration in ASEAN from 2015
■ Competition policy
■ Free flow of goods
■ Free flow of services
■ Free flow of investment
■ Free flow of capital
■ Free flow of skilled labour
■ SME development
■ Initiative for ASEAN Integration
Single
market and
production
base
Region of
equitable
economic
development
■ Consumer protection
Competitive
economic
region
Region fully
integrated into
the global
economy
Strictly Confidential
■ Intellectual property rights
■ Infrastructure development
■ Taxation & E-commerce
■ Coherent approach towards
external economic relations
■ Enhanced participation in
global supply networks
4
ภาพรวมยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนประเทศ
6 ยุทธศาสตร์การพ ัฒนา ตามแผนพ ัฒนาฯ ฉบ ับที่ 11
4 ยุทธศาสตร์ข ับเคลือ
่ นประเทศรองร ับการเข้าสู่ AEC
สงั คมอยูร่ ว่ มกันอย่างมีความสุข ด ้วยความเสมอภาค
ประเทศมีขด
ี ความสามารถในการแข่งขัน
เป็ นธรรมและมีภม
ู ค
ิ ุ ้มกันต่อการเปลีย
่ นแปลง
คนไทยอยูด
่ ก
ี น
ิ ดี มีความเสมอภาคและเป็ นธรรม
1
ั
1. การสร้างความเป็นธรรมในสงคม
ั
่ งคมแห่
2. การพ ัฒนาคนสูส
งการ
เรียนรูต
้ ลอดชวี ต
ิ อย่างยงยื
่ั น
3. ความเข้มแข็งภาคเกษตร ความ
มนคงของอาหารและพล
่ั
ังงาน
4
่ าร
4. การปร ับโครงสร้างเศรษฐกิจสูก
เติบโตอย่างมีคณ
ุ ภาพและยงยื
่ั น
ื่ มโยงในภูมภ
5. การสร้างความเชอ
ิ าคเพือ
่
ั
ความมนคง
่ั
ทางเศรษฐกิจและสงคม
2
3
6. การจ ัดการทร ัพยากรธรรมชาติและ
สงิ่ แวดล้อมอย่างยงยื
่ั น
5
ASEAN Economic Community
หลากหลายมุมมอง AEC และ ยุทธศาสตร์ไทย
AEC as a single market and
production base
AEC as the first partner and single
investment base
“36 กลุมอุ
่ ตสาหกรรมจัดอยูในประเภท
่
ป่วย” สศอ.
“ความสาเร็จในการลงทุนตางประเทศนั
้น
่
ขึน
้ อยูกั
านวิ
ทยาศาสตร ์
่ บความพรอมทางด
้
้
เทคโนโลยี และนวัตกรรมของประเทศ
ไทย”
รศ.ดร.ชโยดม สรรพศรี
การเคลือ
่ นยายแรงงานฝี
มอ
ื ไปยัง
้
ประเทศทีม
่ ค
ี าแรงสู
งกวา่
่
“AEC กาวแรกต
อง..ปฏิ
รป
ู การศึ กษา
้
้
ไทย” สมเกียรติ ออนวิ
มล
่
“แนะเอกชนใช้นวัตกรรมสรางความ
้
แตกตาง
มูลคาเพิ
่ ” ม. หอการคาฯ
่
่ ม
้
“ไทยตองสร
างแนวทางในการใช
้
้
้เทคโนโลยี
เพือ
่ การผลิตในรูปแบบของตัวเอง”
ศูนยวิ์ จย
ั กสิ กรฯ
Source: http://www.thai-aec.com
ผูประกอบการไทยยั
งขาดฐานทาง
้
เทคโนโลยี
ทาให้โครงการลงทุนในไทยไมได
่ รั
้ บความ
สนใจจากตางชาติ
่
Megatrend opens up
investment opportunities
FP7, crucial in promoting scientific
excellence to boost growth in the EU.
FP7: the Seventh Framework Programme of the European Community for research,
Strictly Confidential
6
technological development and demonstration activities (2007-13)
Agenda
• AEC และยุทธศาสตร์ไทย
• STI (Science Technology and Innovation)
“วิจยั และนวัตกรรมทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี”
• ความพร้อม STI ของไทย
• มุมมอง การวิเคราะห์ และตัวอย่าง (Gap Analysis)
Strictly Confidential
STI (วทน): วิทยาศาสตร ์
เทคโนโลยี และนวัตกรรม
7
8
INNOVATION CAPACITY vs National competitiveness:
R2 = 0.90
Innovation Capacity Index
2000 GDP per Capita
2001 Current Competitiveness Index
พืน้ ฐานด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม
เป็ นปัจจัยหลักในการสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันและมี
ความสาคัญอย่างยิ่งต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ
R2 = 0.83
Innovation Capacity Index
Innovative capacity grows in parallel with overall
competitiveness to produce a rising standard of living.
Source: MICHAEL E. PORTER National Innovative Capacity, Harvard Business School and Director, Institute for Strategy and Competitiveness)
http://www.isc.hbs.edu/Innov_9211.pdf
Strictly Confidential
8
MEGATRENDS Driving through emerging technologies
9
การสร้างวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เป็ นปัจจัยสร้างความแข็งแกร่งของเศรษฐกิจในอนาคต
Megatrends
Emerging
technologies
Business
opportunities /
strength
National
Competitiveness
Only leading edge research community, who
have the Scientific strength will be successful.
Employing Science to create innovation sales
Strictly Confidential
9
10
การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานความรู้ของประเทศสิงค์โปร์
Singapore Petrochemical Industry
จากการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ
สู่เศรษฐกิจฐานความรู้
Three main Singapore's
petrochemical competitiveness
The third largest refining hub in the
world despite having no natural
resources of its own!
1. economies of scale
2. strong financial
3. modern technology
The largest petrochemical producer
in ASEAN.
Cluster Development: A Case of Singapore’s Petrochemical Industry (Australian National University)
http://www.crawford.anu.edu.au/degrees/pogo/discussion_papers/PDP05-18.pdf
Strictly Confidential
Singapore offers a full range of chemical
industry services.
Human resource development
10
11
มุมมองการใช้ STI เพิ่มความสามารถในการแข่งขันของประเทศ
Innovationdriven
economy
Production
and service
Resource and
knowledge
• การเกิดขึน้ ของเศรษฐกิจและธุรกิจใหม่ทใ่ี ช้
ความรูเ้ ทคโนโลยีเป็ นรากฐาน
• การมีเทคโนโลยีระดับก้าวหน้าสาหรับการผลิต
และบริการ
• ความสามารถด้านนวัตกรรมของบริษทั
• ผลิตภาพของธุรกิจ
• STI เป็ นหนึ่งในทรัพยากรของประเทศทีเ่ ป็ น
รากฐานของธุรกิจและคุณภาพชีวติ
Strictly Confidential
11
ศักยภาพฐานความรูว้ ิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของ ASEAN
เมื่อเปรียบเทียบกับ EU
เมือ
่ เปรียบเทียบกับ EU กลุมอาเซี
ยนมี
่
ศั กยภาพดาน
“เทคโนโลยีนาโน” สูง
้
ทีส
่ ุด
ASEAN Research Output Relative to EU
% of EU
9
8
7
Publications
Citations
6
5
4
3
2
1
0
Source: SEA-EU-NET, Spotlight on: Science and Technology Cooperation Between
Strictly Confidential
Southeast Asia and Europe
12
13
ความร่วมมือด้าน STI ภายใต้ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
ASEAN Visions
Emerging themes of STI Collaboration in AEC*
Green
Food
Energy
Water
Communication
Life Sci
*Source: Krabi Initiative in 2010 as endorsed by ASEAN S&T ministers as a policy framework for STI cooperation
Strategic Areas of STI for Thailand ??
STI Solutions we offer to ASEAN and global community.
Strictly Confidential
13
ศักยภาพฐานความรูว้ ิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของไทย
เทคโนโลยี 5 กลุ่มของไทยที่มีศกั ยภาพ
อาหาร สุขภาพ เกษตร Life Science เทคโนโลยีชีวภาพ
Number of publications
R&D Strength
Nanotechnology
Singapore
7000
6000
Thailand
Health
5000
4000
3000
2000
Health,
ICT
•
Number of
publications
Thailand leads in publications, but has
near half the citations of Singapore.
1000
0
Industrial
Technology
Environment
Food, Agricultural,
Biotech
•
The highest number of publications in
the ASEAN region is in the area of
health.
•
Thailand and Singapore are close in
publication and citation volume.
Energy
Source: Elsevier’s Scopus database; SEA-EU-NET, Spotlight on: Science and
Technology Cooperation Between Southeast Asia and Europe
Source: WIPO Statistics Database (2008)
Food, Agriculture, and Biotechnology,
Strictly Confidential
14
14
Agenda
• AEC และยุทธศาสตร์ไทย
• STI (Science Technology and Innovation)
“วิจยั และนวัตกรรมทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี”
• ความพร้อม STI ของไทย
• มุมมอง การวิเคราะห์ และตัวอย่าง (Gap Analysis)
Strictly Confidential
15
THE REVIEW OF CURRENT STATUS: Global Competitiveness
Index (WEF, 2012)
Global Competitiveness Index
Score
Singapore
Thailand
TOP LOSERS
•
นวัตกรรม
•
ความพรอมด
านเทคโนโลยี
้
้
•
การศึ กษาและฝึ กอบรม
Efficiency-driven
economies
Source: Global Competitiveness Index, World Economic Forum (2012)
Efficiency-driven economies begin to develop more efficient production processes and increase product quality because wages
Strictly Confidential
16
have risen and they cannot increase prices.
16
17
ความพร้อม STI ของไทย:
ประเทศไทยขาดปัจจัยพืน้ ฐานในการขับเคลื่อน STI
1. บุคคลากรดาน
R&D
้
Innovation
and National
competitiveness
3. ความรวมมื
อระหวาง
่
่
ภาควิชาการ ภาคธุรกิจ
และภาครัฐ
2. โครงสรางพื
น
้ ฐานทีเ่ อือ
้ อานวย
้
Strictly Confidential
17
18
1. บุคคลากรด้าน R&D
Human Resource in R&D (per million people)
1.1
จานวนบุคคลากรด้านวิจยั
พัฒนาไม่เพียงพอ
Global innovation Index (Insead, 2012)
Percent Rank
1
0.8
1.2
Quality of scientific
research institutions
0.6
Tertiary
Education
0.4
Human Capital
0.2
ความเชี่ยวชาญของบุคลากร
ด้านR&D ไม่ตรงกับความ
ต้องการของภาคอุตสาหกรรม
0
Singapore Malaysia
Thailand Indonesia Philippines
Strictly Confidential
Source: Global innovation index 2012 (Insead)
18
19
1. บุคคลากรด้าน R&D
สั ดส่วนนักวิจย
ั ภาครัฐและภาคเอกชน
1.3
บุคลากรด้าน R&D ของ
ประเทศไทยส่วนใหญ่อยู่ใน
ภาครัฐและภาคการศึกษา
Source: IMD, WCY (2009)
Strictly Confidential
19
20
2. โครงสร้างพืน้ ฐานที่เอื้ออานวย
World Competitiveness Yearbook
Percent Rank
1
0.9
0.8
0.7
0.6
“จุดอ่อนด้านกฏระเบียบและปัจจัยเอื้อ”
1.
2.
3.
Knowledge transfer
4.
0.3
กฎระเบียบด้านการวิจยั ที่
เอือ
้ ตอการสร
างนวั
ตกรรม
่
้
IP protection
0.5
0.4
นักวิทยาศาสตร ์
Researchers and
scientists are attached
Scientific research
legistration
การดึงดูดนักวิจยั และ
การคุ้มครอง IP
การถ่ายทอดความรู้
0.2
0.1
0
Source: World Competitiveness Yearbook 2009 (IMD)
*
Strictly Confidential
20
21
2. โครงสร้างพื้นฐานที่เอื้ออานวย
หลากหลายช่องทางสาหรับการการถ่ายทอดเทคโนโลยี:
จุดอ่อนด้านการรับเทคโนโลยีระดับบริษทั การลงทุนด้าน R&D จากต่างชาติ
การฝึ กอบรมเฉพาะทาง การเผยแพร่ความรู้ S&T จากภาคการศึกษา
Linkages
Transferor
Transferee
Internal
sourcing
(R&D / Lab)
Ranking*
Market channel
Exporting
/
Importing
capital
goods
• High Tech Import2
: 0.89
• High Tech
Export2: 0.9
FDI bring
new Tech.
& JV
channel
• FDI bring new
tech1: 0.77
R&D
financed
by abroad
• R&D financed by
abroad 2: 0.41
• JV (No.
deal/GDP)2: 0.68
Licensing
Company
Industry
community
• License fees
receipts2: 0.63
• license fees
payments2: : 0.95
Ranking*
Non- market channel
Movement
of
personnel
S&T
Communi
cation
• Brain drain-in1:
0.71
• S&T Literature2:
0.49
Training
UI
Collaborat
ion
Firm-level
technology
adsorption1 (0.47)
• Extent of staff
• UI collaboration1:
training1: 0.61
0.72
• Local availability of
specialized training1:
0.48
*Global Ranking–Thailand rank reported in Global competitiveness index (WEF)1 or Global innovation index 2012 (Insead)2
Strictly Confidential
Unit: (Percent rank) (out of 142 and 125, respectively)
21
3. ความร่วมมือระหว่าง ภาควิชาการ ภาคธุรกิจ และภาครัฐ
ขาดความร่วมมือฯ พัฒนาต่อยอดงานวิจยั สู่การผลิตเชิงพาณิชย์
Strictly Confidential
22
22
R&D ของภาคธุรกิจ: พร้อม?
Global innovation Index (Insead, 2012)
การทา R&D ของภาคธุรกิจ
Percent Rank
1
R&D performed
by Business
R&D financed by
Business
0.8
0.6
R&D ของภาคธุรกิจไทยขาด
ความพรอมเนื
่องดวยขาด
้
้
ปัจจัยพืน
้ ฐานสามประการ
ดังกลาว
่
0.4
0.2
0
Singapore Malaysia
Thailand Indonesia Philippines
Source: Global innovation index 2012 (Insead)
Strictly Confidential
23
Agenda
• AEC และยุทธศาสตร์ไทย
• STI (Science Technology and Innovation)
“วิจยั และนวัตกรรมทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี”
• ความพร้อม STI ของไทย
• มุมมอง การวิเคราะห์ และตัวอย่าง (Gap Analysis)
Strictly Confidential
24
ตัวอย่างความร่วมมือฯ เชิงบูรณาการของมาเลเซีย (1/2)
The Economic Transformation Program (ETP)
The Economic Transformation Program
(ETP) in 2010
25
ETP target for 2020
Target :  Lift Malaysia's Gross National Income (GNI) to
US$523 billion by 2020
 Raise per capita income from US$6,700 to
at least US$15,000
(Performance Management and Delivery Unit)
National Key Economic Areas (NKEA)
with 131 Entry Point Projects (EPP).
Economic activities that are categorized as
NKEA will be prioritized in government
planning and funds allocation.
Strictly Confidential
25
ตัวอย่างความร่วมมือฯ เชิงบูรณาการของมาเลเซีย (2/2)
The Economic Transformation Program (ETP)
The National Biotechnology Policy (NBP) in 2005
Agency under MOSTI
Objective for
executing
the objectives of
NBP
Industrial Estate
• Owned and developed by Malaysian
Bio-XCell Sdn Bhd.
• Located in Nusajaya
(72.53 acre biotechnology park)
• Surrounding by a network of 5 deep
sea ports + 2 international airports
Owned by MOF
“One stop
service”
Bio-Xcell
•
•
•
•
Aim to be Asia’ Biotech Hub (To be completed in 2012)
Healthcare biotech platform
Industrial biotech optimization
Focus on manufacturing & R&D
Funding Support
BioNexus Status is a recognition awarded
through BiotechCorp to qualifying
biotechnology companies, making them
eligible for privileges contained within
the BioNexus Bill of Guarantees.
• Public & Private Sources (Govt agencies, local & foreign VC)/Grants
• RM 1.52 billion approved at Dec’09
• RM 1.27 billion realized (84% utilized)
Incentives
• Tax exemptions
Strictly
Confidential
• Tax
deductions
26
การมองภาพเทคโนโลยีในอนาคตของประเทศร่วมกัน
27
National Technology Foresight: จุดเริ่มการพัฒนาเทคโนโลยีพลังงานลมของเดนมาร์ก
Danish Technology Foresight
2012
เดนมารกมี
์ ลมเหลือเฟื อ ชาวเดนมารกให
์
้
ความสนใจพิเศษในเรือ
่ งการหาพลังงานทดแทน
ส่งผลให้รัฐบาลเดนมารกในช
ี่ านมา
์
่ วง 30 ปี ทผ
่
สนับสนุ นการพัฒนาเทคโนโลยีดานพลั
งงานลม
้
“ควรพิจารณาวามี
และควร
่ ทรัพยากรดานใด
้
เน้นความสาคัญเรงด
เ่ ป็ นประโยชนของคน
่ วนที
่
์
ส่วนใหญ่ และเมือ
่ มีความเห็นพองกั
นทัง้
้
ประเทศแลว
้ ก็จะทาให้การพัฒนาเทคโนโลยี
เป็ นไปอยางต
อเนื
่
่ ่องและไดรั
้ บการสนับสนุ นใน
วงกวาง”
้
Pedersen, TU Denmark
Source: นวัตกรรมไทย : ประสบการณและมุ
มมองจากสหภาพยุโรป โดย คณะผู้แทนไทยประจาประชาคมยุโรป http://news.thaieurope.net/content/view/2388/40
์
Danish Technology Foresight 2015: http://www.foresight-network.eu/index.php?option=com_docman&task=doc_view&gid=5
Strictly Confidential
27
28
โครงสร้างพื้นฐานที่เอื้ออานวย:
มาตรการจูงใจการลงทุนด้าน R&D ไทยไม่สามารถแข่งขันกับต่างชาติ
ประเทศไทยไม่สามารถแข่งขันใน ASEAN ได้ในด้านเงิน
ช่วย (Grants) เงินกู้หรือการร่วมลงทุนในงานวิจยั ฯ
มาตรการกระตุ้น
R&D investment
tax credit
30 %
150 %
200 %
การยกเวนภาษี
้
100 %
สูงสุด 100 %
100 %
รวมลงทุ
น 40%
่
เงินสนับสนุ น: 9%
ของภาษีพงึ ประเมิน
สนับสนุ นธุรกิจ
หน้าใหม่ (Start
ups)
เงินสนับสนุ นแกการลงทุ
น
่
โดยตรงในวิจย
ั และ
นวัตกรรม
> 9,000 ลาน
ยูโร + > 12,000 ลาน
ยูโร
้
้
38,000 ลานยู
โร
้
สาหรับVenture
Capital
Strictly Confidential
200 %
100 %
รวมลงทุ
น
่
50%
28
เปรียบเทียบการดึงดูดการลงทุนของประเทศไทยกับมาเลเซี ย
Strictly Confidential
29
29
โครงสร้างพืน้ ฐานทีเ่ อือ้ อานวย:
ตัวอย่าง การขอคืนภาษี
มูลค่าโครงการที่ได้รบั การรับรองจาก
สวทช. ระหว่างปี งบประมาณ 2545-2554
ประเด็นปัญหาทีพ
่ บ:
- งานวิจัยสว่ นใหญ่ผู ้รับจ ้างวิจัยไม่ได ้
ขึน
้ ทะเบียนต่อกรมสรรพากร ต ้องขอ
คืนภาษีเป็ น Non-fast track ซงึ่ มี
้
กระบวนการมากและใชระยะ
เวลานาน ควรลดขัน
้ ตอนสาหรับ
โครงการ non-fast track ลง
- บางครัง้ มูลค่าคืนภาษีทไี่ ด ้ไม่คุ ้ม
้
ค่าใชจ่้ ายและเวลาทีใ่ ชใน
กระบวนการขอคืนภาษี
Source: NSTDA
Strictly Confidential
30
31
โครงสร้างพื้นฐานที่เอื้ออานวยซ การดึงดูดนักวิจยั ฯ
มาตรการจูงใจบุคลากรด้านวิจยั พัฒนาที่มีความชานาญสูง
มาตรการจูงใจด้านภาษี เงินได้บคุ คลธรรมดาไม่สามารถแข่งขันได้
อัตราภาษีเงินพิเศษไดบุ
ั ตางชาติ
้ คคลธรรมดา* สาหรับนักวิจย
่
ไตหวั
้ น
เกาหลี
เวียดนา
ม
ไทย
มาเลเซีย
สิ งคโปร ์
(%)
0
5
10
15
*รายได้ 2 ลานบาทต
อปี
้
่ Strictly Confidential
20
25
30
35
40
31
32
โครงสร้างพื้นฐานที่เอื้ออานวย
ภาพปัจจุบนั ของระบบคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญา
ภาพปัจจุบนั ของระบบคุ้มครองทรัพย์สิน
ทางปัญญา
• ระบบจดทะเบียนทรัพยสิ์ นทางปัญญา
ล่าช้าซับซ้อน และไม่สะดวก
ความคาดหวังของเอกชน
•
การเร่งรัดการจดทะเบียนสิทธิบตั ร
เพือ
่ ให้ผูประกอบการสามารถใช
้
้ IP ที่
ไดรั
ง
้ บการปกป้องสาหรับการตอยอดเชิ
่
พาณิชย ์ หรือเพือ
่ การเขาถึ
้ งแหลงทุ
่ น
เช่น สิ นเชือ
่ เพือ
่ สนับสนุ นในการนา IP
ไปเพือ
่ เชิงพาณิชย ์
คนไทย
8,537
ต่ างชาติ
สิ่ง
ประดิษฐ์
การ
ออกแบบ
13,989
ต่ างชาติ
คนไทย
1,004
8,307
ิ ธิบต
ในปี 2522 – 2554 มีสท
ั รได ้รับการจด
ทะเบียน 31,837 ฉบับ จากจานวนยืน
่ ขอ
ิ ธิบต
สท
ั ร 158,596 ฉบับ
Strictly Confidential
32
33
โครงสร้างพื้นฐานที่เอื้ออานวย
ขาดแรงจูงใจในความเป็ นเจ้าของทรัพย์สินทางปัญญาในประเทศ
ความเป็ นเจาของ
IP: มหาวิทยาลัยเป็ นเจาของแต
เอกชนต
องการใช
้
้
่
้
้
ภาพปัจจุบนั ของการบริหารจัดการ IP ของไทย
•
ความคาดหวังของเอกชน
หน่ วยงานให้ทนุ วิจยั ของไทยถือครอง
สิทธิความเป็ นเจ้าของ IP ทีเ่ กิดจากการ
• ความเป็ นเจาของ
IP ตกเป็ นของเอกชน
้
ให้ทุนและมีระเบียบในการจัดการ IP
ของตนเอง
• กฎหมายทีเ่ กีย
่ วของในลั
กษณะเดียวกับ
้
กฎหมาย Bayh Dole Act (US)
• ยังไมมี
IP อยาง
่ การใช้ประโยชนใน
์
่
แทจริ
้ ง เนื่องจากติดปัญหาความเป็ น
ทัง้ หมด
• แนวทางการแบ่งปันผลประโยชน์ ที่เป็ น
เจ้าของทรัพย์สินทางปัญญา (IP
Ownership)
Strictly Confidential
ธรรม เป็ นเอกภพและจูงใจแกภาคเอกชน
่
ในการเขามาร
วมลงทุ
น R&D รวมกั
บ
้
่
่
ภาครัฐ
33
34
โครงสร้างพื้นฐานที่เอื้ออานวย
ตัวอย่างมาตรการส่งเสริมการสร้างและการใช้ประโยชน์ IP เชิงพาณิชย์ของ US
การให้ Ownership ในทรัพยสิ์ นทางปัญญาจากงานวิจย
ั
แกภาคเอกชนและมหาวิ
ทยาลัยซึ่งรัฐลงทุนให้
่
Government
Funding
Agency
Tax
Stimulate
economic
development
Bayh-Dole Act (US)
Commercialization
 IP Ownership เป็ นของผูร
้ บั ทุน
$$$
University /
Non-profit
org./SMEs
 IP Management ผูร
้ บั ทุนบริหาร

R&D
IP

Source: สวทน
Strictly Confidential
จัดการเอง
มีการจัดสรรผลประโยชน์ จาก
การใช้สิทธิบตั รในเชิงพาณิชย์
ให้แก่ผป้ ู ระดิษฐ์ โดยส่วนที่เหลือ
จัดสรรให้มีการนาไปใช้เพื่อการ
วิจยั วิทยาศาสตร์และเพื่อ
การศึกษา
สิทธิของรัฐที่จะแทรกแซงหากไม่
มีการนางานวิจยั ไปใช้
34
การกระตุ้นตลาดสินค้านวัตกรรมโดยกลไกลด้านนโยบายและ
กฎระเบียบ
การจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐในการรองรับ
ผลิตภัณฑ์นวัตกรรมภาคเอกชน
สร้างตัวขับเคลื่อนด้านกฎระเบียบเพื่อ
กระตุ้นตลาดสินค้านวัตกรรม
มาตรฐานสินค้า
นวัตกรรม
Mandates help Taiwan PLA processors
“รัฐบาลของไตหวั
้ งต้นที่
้ นตัดสิ นใจในเบือ
กาหนดให้รานค
าปลี
กและรานอาหารใช
้
้
้
้
บรรจุภณ
ั ฑพลาสติ
ก
ที
เ
่
ป็
นพลาสติ
ก
์
ชีวภาพ”
ฟิ นแลนดใช
้ จัดจางใน
์ ้การจัดซือ
้
อุตสาหกรรมโทรคมนาคมในช่วงปลาย
ทศวรรษที่ 1970 ทาให้เกิดบริษท
ั
Nokia ซึง่ เป็ นผูผลิ
้ ตโทรศั พทมื
์ อถือราย
ใหญ่
"It's interesting that the most costcompetitive convertors of PLA in
the world are all Taiwanese."
Electric vehicles
Mark Verbruggen, president and CEO of Minnetonka,
Minn.-based NatureWorks LLC
Strictly Confidential
35
35
มุมมองปัญหาและตัวชี้วดั สาคัญที่ต้องเร่งพัฒนา
สรุปประเด็นปัญหา
Key Performance Indicators
ส่วนที่หนึ่ ง
“ภาคการผลิต S&T (Private or public R&D)”
1. “ความไม่พร้อมของทรัพยาการ” ทีใ่ ช้ในการผลิต S&T
• บุคลากร
• เงินลงทุน
• ความรูด้ า้ นการบริหารจัดการฯ
ตัวชี้วดั ผลผลิต S&T
• อัตราส่วนค่าใช้จา่ ยด้าน R&D ต่อ GDP
• จานวนนักวิจยั (Headcount / mn pop)
• การจ้างงานในภาคธุรกิจทีใ่ ช้ความรูห้ ลัก
• การมีเทคโนโลยีระดับก้าวหน้าสาหรับการผลิต
ตัวชี้วดั ด้านโครงสร้างพื้นฐานที่เกี่ยวข้อง
• คุณภาพและจานวนอาชีวะและอุดมศึกษาด้าน S&T
• ประสิทธิภาพของระบบ IP
2. “โครงสร้างพื้นฐานที่เกี่ยวข้อง”
• คุณภาพและความพร้อมทางเทคโนโลยีใหม่ของ
• การศึกษาและวัฒนธรรม STI
สถาบันวิจยั ฯ
• ระบบการคุม้ ครอง IP และแรงจูงใจในความเป็ นเจ้าของ IP
• การลงทุน R&D ทัง้ ในและจากต่างประเทศ
• กฏระเบียบเอือ้ ฯ มาตรการส่งเสริมฯ
• การมีแหล่ง specialized training และ oversea
• การจัดหาเทคโนโลยีฐานและความเชีย่ วชาญใหม่ๆ
talent ในประเทศ
• นโยบายระดับประเทศทีช่ ดั เจนในรายอุตสาหกรรม
• จานวนความร่วมมือวิจยั ภาครัฐ/อุตสาหกรรมที่
• โครงสร้างพืน้ ฐานด้านทางการถ่ายทอดเทคโนโลยี
ประสบความสาเร็จ
Strictly Confidential
36
มุมมองปัญหาและตัวชี้วดั สาคัญที่ต้องเร่งพัฒนา
สรุปประเด็นปัญหา
ส่วนที่สอง
“การนาผลผลิต S&T ไปต่อยอดสู่
commercialization”
Key Performance Indicators
ตัวชี้วดั การต่อยอด S&T ของภาคเอกชน
• Technology adsorption (Firm-level)
• R&D performed by business (Translational
research)
• Local availability of engineering service
• Innovation Sales to company R&D spending
ratio
• Industry funding received
1. ศักยภาพของภาคธุรกิจ
• ขาดแคลนเงินทุนและคนใน ”การทาวิจยั
ภาคอุตสาหกรรม” (Industry-oriented R&D or
Translational Research)
• “การบริหารจัดการนวัตกรรม” ทักษะในการสร้าง
Business model / Entrepreneurship และทาตลาด ตัวชี้วดั เชิงธุรกิจและเศรษฐกิจ
• ผลิตภาพของธุรกิจ
สินค้านวัตกรรมใหม่ทย่ี งั ไม่มตี ลาด
• ความสามารถด้านนวัตกรรมของบริษทั (Innovation
2. การสนับสนุนการสร้างนวัตกรรมจากภาครัฐยังไม่
capacity)
เพียงพอ
• การเกิดขึน้ ของธุรกิจใหม่
• เช่น Business Incubator, Professional consulting
• จานวนการจดทะเบียน trademark ของผลิตภัณฑ์
services, Financial support, การสร้างวัฒนธรรม
ใหม่ในประเทศ
นวัตกรรม
Strictly Confidential
37
38
สรุปข้อเสนอแนะ
ด้านความร่วมมือระหว่าง ภาควิชาการ ภาคธุรกิจ และภาครัฐ
• ข้อเสนอ 1: สร้างกลไกความร่วมมือและประสานงาน
• ข้อเสนอ 2: ความร่วมมือฯ เพือ่ เพิม่ ศักยภาพการทาวิจยั ภาคอุตสาหกรรม
• ข้อเสนอ 3: ร่วมกาหนดเป้าหมายเชิงเทคโนโลยีของประเทศในอนาคต
ด้านโครงสร้างพืน้ ฐานที่เอื้ออานวย
• ข้อเสนอ 4: พัฒนากฏระเบียบเพือ่ ส่งเสริมการพัฒนา วทน.
– 4.1 การส่งเสริมการลงทุนด้าน R&D
– 4.2 การบริหารจัดการทรัพย์สนิ ทางปญั ญาของประเทศ
– 4.3 ด้านการกระตุน้ ตลาดสินค้านวัตกรรม
ด้านบุคคลากรด้าน R&D
• ข้อเสนอ 5: เพิม่ จานวนและศักยภาพบุคคลากรด้าน R&D สาหรับอุตสาหกรรม
– 5.1 การแลกเปลีย่ นคนระหว่างกัน
– 5.2 การฝึกอบรมเฉพาะด้านเทคโนโลยีฯ
Strictly Confidential
38
ด้านความร่วมมือระหว่าง ภาควิชาการ ภาคธุรกิจ และภาครัฐ
ข้อเสนอ 1: สร้างกลไกความร่วมมือและประสานงาน
“สร้างกลไกความร่วมมือและประสานงานอย่างใกล้ชิด” ระหว่างภาควิชาการ
ภาคธุรกิจ และภาครัฐเพือ่ ให้มีความชัดเจนและต่อยอดผลงานกันอย่าง
ต่อเนื อ่ ง
“ร่วมกาหนด demand-side and supply-side policies”
ภาครัฐรวมมื
ออยางใกล
ชิ
่
่
้ ดกับภาคเอกชนในการกาหนด
ยุทธศาสตรด
้ STI, การศึ กษา, ระเบียบและมาตรฐาน
์ าน
ฝ่ายขับเคลือ
่ นให้มีการคนคว
าและพั
ฒนาคือ
้
้
“ภาคธุรกิจร่วมมือกับกับภาควิชาการอย่างใกล้ชิด”
“ผลิตทรัพยากร S&T สนองความต้ องการภาคธุรกิจ”
เช่น งานวิจย
ั ฯ, Knowledge, Human Capital
Strictly Confidential
39
ด้านความร่วมมือระหว่าง ภาควิชาการ ภาคธุรกิจ และภาครัฐ
ข้อเสนอ 2: ความร่วมมือฯ เพื่อเพิ่มศักยภาพการทาวิจยั ภาคอุตสาหกรรม
PILOT PLANT
“การลงทุนสูง
ความเสี่ ยงสูง”
ขาดความ
เชีย
่ วชาญ
ผลที่คาดว่าจะได้รบั
• Platform technology ตามความต้องการของ
อุตสาหกรรมนาร่อง ทีช่ ว่ ยเสริมสร้างขีด
ความสามารถในการแข่งขัน
• การลดการพึง่ พาเทคโนโลยีสาเร็จรูปสาหรับการ
ผลิตจากต่างประเทศ (Technology Package)
2.1 ร่วมกับภาคการศึกษา / ภาครัฐสร้างเครือข่ายด้าน
วิจยั เพือ่ พัฒนาเทคโนโลยีสกู่ ารผลิตเชิงพาณิชย์
(Translational Research)
2.2 ภาครัฐสนับสนุนทางการเงินในรูปแบบเงินอุดหนุ น
หรือสมทบแบบให้เปล่า (มุง่ เน้นแก่ SMEs) โดย
ทรัพย์สนิ ทางปญั ญาทีเ่ กิดขึน้ เป็ นของผูร้ บั ทุน
2.3 การจัดหานักวิจยั และวิศวกรที่เชี่ยวชาญจาก
ต่างประเทศมาเข้าร่วมฯ
Key performance indicators
• Industry funding received
• Industry R&D spending in Thailand
• จานวนโรงงานต้นแบบหรือ Translational Research
• จานวนนักวิจยั แลกเปลีย่ นจากภาคการศึกษา/รัฐสูอ่ ุตสาหกรรม
Strictly Confidential
40
40
41
ด้านความร่วมมือระหว่าง ภาควิชาการ ภาคธุรกิจ และภาครัฐ
ข้อเสนอ 3: ร่วมกาหนดเป้ าหมายเชิงเทคโนโลยีของประเทศในอนาคต
Technology Foresight
ระดับประเทศ
เพือ่ เป็ นเครือ่ งมือในการมองภาพ
เทคโนโลยีและกาหนดอนาคต S&T
ของประเทศไทยร่วมกัน
3.1 สนับสนุนให้มกี ารทาTechnology Foresight
ระดับประเทศทุกๆ 5 ปี โดยการมีส่วนร่วมของ
ทุกภาคส่วนอย่างแท้จริง
3.2 ใช้ผลลัพธ์จากการทา Technology Foresight
ระดับประเทศในการร่างนโยบายระดับประเทศ
และระดับรายอุตสาหกรรม
3.3 สนับสนุนด้านความรูใ้ นการทา Technology
Foresight ระดับ sectorย่อย และระดับองค์กร
Source: นวัตกรรมไทย : ประสบการณและมุ
มมองจากสหภาพยุโรป โดย คณะผู้แทนไทยประจาประชาคมยุโรป http://news.thaieurope.net/content/view/2388/40
์
Strictly Confidential
Danish Technology Foresight 2015: http://www.foresight-network.eu/index.php?option=com_docman&task=doc_view&gid=5
41
42
ด้านโครงสร้างพืน้ ฐานที่เอื้ออานวย
ข้อเสนอ 4: พัฒนากฏระเบียบเพื่อส่งเสริมการพัฒนา วทน.
4.1 การส่งเสริมการลงทุนด้าน R&D
4.1.1 พัฒนาเชิงระบบสาหรับสิทธิประโยชน์ ทางภาษี
เพื่อการลงทุนการวิจยั และพัฒนาทัง้ ในและ
ต่างประเทศ เช่น การแก้ปญั หาเชิงระบบในการ
ยืน่ เรือ่ งฯ ทีใ่ ช้ระยะเวลานาน ยุง่ ยากและซับซ้อน
4.1.2 การสนับสนุนทางการเงินในรูปเงินให้เปล่า ซึง่
อาจสนับสนุนด้านการเงินในลักษณะของเงินร่วม
ลงทุนแก่บริษทั เกิดใหม่ในช่วงแรกของการ
ดาเนินการ
Strictly Confidential
42
43
ด้านโครงสร้างพืน้ ฐานที่เอื้ออานวย
ข้อเสนอ 4: พัฒนากฏระเบียบเพื่อส่งเสริมการพัฒนา วทน.
4.2 การบริหารจัดการทรัพย์สินทางปัญญาของประเทศ
4.2.1 ส่งเสริมให้กรมทรัพย์สนิ ทางปญั ญาเป็ นองค์กร
ของรัฐที่มีอิสระในการกาหนดอัตรากาลังและ
ค่าตอบแทน
4.2.2 การคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญาของคนไทย
โดยการพัฒนาระบบจดทะเบียนทรัพย์สนิ ทาง
ปญั ญาให้รวดเร็วขึน้
4.2.3 หน่วยงานให้ทุนของรัฐควรออกกฎเกณฑ์ให้
ทรัพย์สินทางปัญญาที่เกิดจากการรับทุนเป็ น
ของผูร้ บั ทุนคล้าย Bayh-Dole Act ของสหรัฐฯ
Strictly Confidential
43
44
ด้านโครงสร้างพืน้ ฐานที่เอื้ออานวย
ข้อเสนอ 4: พัฒนากฏระเบียบเพื่อส่งเสริมการพัฒนา วทน.
4.3 ด้านการกระตุ้นตลาดสินค้านวัตกรรม
4.3.1 การจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐในการรองรับ
ผลิตภัณฑ์นวัตกรรมภาคเอกชน
4.3.2 สร้างตัวขับเคลื่อนด้านกฎระเบียบเพือ่
กระตุน้ ตลาดสินค้านวัตกรรม
4.3.3 สร้างมาตรฐานสินค้านวัตกรรม
Strictly Confidential
44
45
ด้านบุคคลากรด้าน R&D
ข้อเสนอ 5: เพิ่มจานวนและศักยภาพบุคคลากรด้าน R&D สาหรับอุตสาหกรรม
5.1 แก้อปุ สรรคและเพิ่มแรงจูงใจในการแลกเปลี่ยนคนระหว่างภาครัฐและเอกชน ทัง้ ภายใน
และระหว่างประเทศ
5.1.1 เปลี่ยนการวัด KPI ของอาจารย์มหาวิทยาลัย จากนับจากผลงานตีพมิ พ์ทางวิชาการ
เป็ นตัวชีว้ ดั ด้านการนา S&T ไปใช้เชิงพาณิชย์ เช่น จานวน License ต่อโครงการวิจยั
จานวนผลิตภัณฑ์ตน้ แบบต่อโครงการวิจยั
5.1.2 การส่งเสริมนักวิจยั จากภาครัฐและภาคการศึกษาไปปฎิบตั ิ งานเต็มเวลาใน
ภาคอุตสาหกรรม
5.1.3 แรงจูงใจอื่นๆ เช่น อัตราภาษีเงินได้สว่ นบุคคลของนักวิจยั ต่างชาติ
5.2 จัดหาการฝึ กอบรมขัน้ สูงสาหรับเทคโนโลยีเฉพาะด้าน ที่ตรงกับความต้องการของการทา
R&D ภาคอุตสาหกรรม
Strictly Confidential
45
Download