ไม่มีชื่อเรื่องภาพนิ่ง

advertisement
อธิบายพฤติกรรมมนุษย์ ตามแนวคิด
พฤติกรรมนิยม
ธรรมชาติของมนุษย์ (ผ้ นู า)ในทัศนะของนักจิตวิทยา
“ นักจิตวิทยากลุ่มนีเ้ ชื่อว่ ามนุษย์ เกิดมาไม่ ดี
ไม่ เลวมนุษย์ จะดีหรือเลวนั้นขึน้ อยู่กบั
สิ่ งแวดล้ อม ถ้ ามนุษย์ ในสิ่ งแวดล้ อมทีด่ กี จ็ ะ
เป็ นคนดี แต่ ถ้าอยู่ในสิ่ งแวดล้ อมทีเ่ ลวก็จะเป็ น
คนเลว มนุษย์ จึงเป็ นผลิตผลของสิ่ งแวดล้ อม
”
Learning refers to the change in a subject’s behavior
or behavior potential to a given situation brought
about by the subject’s repeated experiences in that
situation, provided that the behavior change cannot
be explained on the basis of the subject’s native
response tendencies, m aturation, or tem porary states
( such as fatigue, drunkenness, drives, and so on ).
Skinner, B.F. “ Cognitive Science and Behaviorism .”
British Journal of Psychology ( 1985 ). 76, 291-301.
จิ ต วิ ท ยาพั ฒ นาการ
Developm ental Psy.
จิ ต วิ ท ยาการเรี ย นรู้
Learning Psychology

พฤติ ก รรมนิ ย ม

M aturation
Behaviorism

Stage

Classical Conditioning
: Piaget

O perant Conditioning
: K olhberg
: skiner
: Erikson
: Freud

ปั ญ ญ านิ ย ม
Cognitivism

Inform ation Processing

G estalt Psychology

มนุ ษยนิ ย ม
H um anism

Actualizing Tendecy

Self Individuality
: M aslow
: Rogers
การเรียนรู้ เกิดขึน้ ได้ อย่ างไร
เงือ่ นไขภายนอกบุคคล
• Contiguity : ต่ อเนื่อง
•Repetition : ทาซ้า ๆ
•Reinforcement : เสริมแรง
เงือ่ นไขภายในบุคคล
• Sensation : รู้ สึก
•Retrieval : ถอดรหัส
•Coding : เข้ ารหัส
•Storage : เก็บรหัส
ประโยค
John B. Watson
1878 - 1958
“ Give me a dozen healthy infants, well formed, and my own
specified world go bring them up in, and I will guarantee to
take any one at random and train him to become any type of
specialist I might select-doctor, lawyer, artist, merchant chief - regardless of his talents , tendencies , abilities ,
vocations , and race of his ancestors.” (Watson, 1925 : 65)
- main concern of a psychologist should be behavior and how
behavior varies with experience
- consciousness & introspection for philosophers/
- behavior could be studied systematically and objectively
- Watson believed study of behavior could pave the way to a more
rational meaningful life
- career cut short by scandal
- began the movement of behaviorism that dominated American
psychology through the seventies.
- continued by a number of researchers most notably B.F. Skinner
E. L. Thorndike
(1874-
Pavlov
Burrhus Frederic Skinner
(1904-1990 )
แนวคิด Skinner
Skinner กล่าวว่า "ถ้าหากว่าเขาสามารถควบคุม
สิ่ งแวดล้ อมได้ เขาก็จะสามารถกาหนดพฤติกรรมของมนุษย์ ให้ เป็ นไป
ตามทีเ่ ขาต้ องการได้ ทุกประการ" เขามีความเห็นว่ ามนุษย์มี
พฤติกรรมตามสิ่ งแวดล้ อม ถ้ าสามารถควบคุมสิ่ งแวดล้ อมได้ ก็
สามารถกาหนดพฤติกรรมมนุษย์ ให้ เป็ นไปตามทีต่ ้ องการได้ Skinner
ทีไ่ ด้ ทดลองเรื่องการเรียนรู้ ด้วยการวางเงือ่ นไขแบบแสดงการกระทา
Operant Conditioning)
Reinforcement
Positive
Negative
Punishment
ตัวอย่ างพฤติกรรมการกระทา
Operant Behaviors
การกระทา
เท้าเตะก้อนหิ น
เท้าเตะก้อน
Consequence
ผลกรรม
เท้าเจ็บ
เก้าอี้เลื่อน
กดสวิทช์ไฟฟ้ า
หลอดไฟสว่าง
ขยันเรี ยนหนังสื อ
สอบได้คะแนนดี
ร้องไห้
แม่อุม้
ข้ามถนนนอกทางม้าลาย
ถูกรถชน
การเสริมแรงทางบวก (Positive Reinforcement)
การทีอ่ ะไรก็ได้ เกิดขึน้ ตามหลังพฤติกรรม แล้ วมีผลทาให้
บุคคลนั้นแสดงพฤติกรรมนั้นสมา่ เสมอหรือเพิม่ ขึน้
A
B
+
C
C+ = การเสริมแรงทางบวก
การลงโทษ (Punishment)
การทีอ่ ะไรก็ได้ เกิดขึน้ ตามหลังพฤติกรรม แล้ วมีผลทาให้
บุคคลนั้นแสดงพฤติกรรมลดลง หรือยุตกิ ารแสดงพฤติกรรม
นั้น
A
B
C
C- = การลงโทษ
การหยุดยั้ง (Extinction)
การยุตกิ ารให้ การเสริมแรงทางบวกต่ อพฤติกรรมทีเ่ คยได้ รับ
การเสริมแรงทางบวก อันอาจจะเป็ นผลทาให้ พฤติกรรมนั้น
ค่ อยๆ ลดลง หรือยุตใิ นทีส่ ุ ด
A
B
0
C
..ในการเปลีย่ นแปลงพฤติกรรมใดก็ตาม เราจะไม่ สนใจ B
สนใจเฉพาะ A และ C ว่ าเหมาะสมหรือไม่
ถ้ าคุม A , C ได้ จะเปลีย่ น B ได้ ..
๏ ผลกรรม : Consequences
ผลลัพธ์จากการกระทาพฤติกรรมในอดีตเป็ นตัวควบคุม
ให้เกิด / ไม่ให้เกิดพฤติกรรมอีกในอนาคต
๏ Positive Consequence
๏ Negative Consequence
1. แบบได้รบั แรงเสริมทุกครัง้ ที่กระทาพฤติกรรม
(Continuous Ratio of Reinforcement)
2. แบบได้รบั แรงเสริมบางครัง้
(Intermittent Schedule of Reinforcement)
2.1 Fixed Ratio
อัตราคงที่
2.2 Fixed Interval
ช่วงเวลาคงที่
2.3 Variable Ratio
อัตราการให้แปรเปลี่ยน
2.4 Variable Interval
ช่วงเวลาการให้แปรเปลี่ยน
พฤติกรรมเกิด
ระยะแรก
ให้ทุกครัง้ : continuous ratio
ต่อมา
ให้บางครัง้ แบบคงที่ : fixed ratio
ต่อมา
ให้แบบบางครัง้ : Variable ratio / interval
ต่อมาเมื่อกลายเป็ นนิสยั ถาวร
หยุดให้แรงเสริม
B. F. Skinner ผูเ้ ขียนหนังสือ Beyand Freedom and Dignity
หนังสือพิมพ์นิวยอร์ค ไทม์ ยกให้เป็ นหนังสือสาคัญที่สดุ ของทศวรรษ 1970
“มนุษย์ไม่ต้องรับผิดชอบต่อพฤติกรรมของเขา มนุษย์จะค่อยๆ ถูก
ครอบงาโดยสิ่งแวดล้อม และการกระทาทัง้ หมดของเขาเป็ นการกระทาที่
เขาถูกบังคับโดยสภาวะต่าง ๆ ที่เขาประสบมาในชีวิต... เขาไม่สมควรที่จะ
ถูกพิจารณาว่าเป็ นคน “ดี” เพียงเพราะความประพฤติของเขาดี หรือถูก
ลงโทษว่าเป็ นคน “ไม่ดี” เมื่อเขามีความประพฤติไม่ดี ไม่มีคนดีคนเลว
ทุกอย่างที่เขากระทาลงไปล้วนแล้วแต่มาจากสภาวะต่าง ๆ ที่มีอยู่ในตัวเขา
หรือล้อมรอบตัวเขา”
จาก Richard M. Devos and Charles Paul Conn.
จากหนังสื อ Belive.
ผลกรรมที่เป็ นรางวัลอะไรได้บ้าง
1. รับประทานอาหารมือ้ พิเศษกับคนสาคัญของบริษทั
2. จัดโอกาสให้เพื่อนร่วมงานได้แสดงความยินดี เช่น เลี้ยงกาแฟกับขนมตอนพัก
3. ส่งไปสัมมนาหรือฝึ กอบรมเพื่อเตรียมความสามารถในงานที่สงู ขึน้ ไป
4. ผนังเกียรติยศสาหรับติดรูปพนักงาน (มีวาระตามเวลากาหนด)
5. จัดงานเลี้ยงเล็ก ๆ สั ่งพิซซ่าจากร้านให้มาส่งที่ทางาน
6. ส่งไปร่วมการประชุมวิชาชีพของเขา
7. จ่ายค่าที่พกั และอาหารสาหรับเขากับภรรยาไปพักผ่อนตามสถานตากอากาศ
8. เลีย้ งฉลองทัง้ แผนกในโอกาสบรรลุเป้ าหมายของแผนก
9. ให้โบนัสเป็ นเงินทันที
ผลกรรมที่เป็ นรางวัลอะไรได้บ้าง
10. แอบถ่ายวีดิทศั น์ พนักงานที่ทางานดี แล้วจัดโอกาสให้ฉายต่อที่ประชุมโดยไม่
บอกว่ามีใครอยู่ในวีดิทศั น์ นัน้ บ้าง
11.
12.
13.
14.
ทาหนังสือประจาปี ของหน่ วยงานเพื่อบอกว่าใครในหน่ วยงานทาอะไรสาเร็จบ้าง
จัดป้ ายประกาศขอบคุณที่ใครในหน่ วยงานจะมาเขียนแสดงความขอบคุณ
ให้โล่หรือประกาศเกียรติคณ
ุ
ให้ห้นุ ของบริษทั
15. จัดระบบคะแนนสะสมสาหรับพนักงานที่ได้
16. จัดรางวัล Service Ninja Award สาหรับพนักงานสนับสนุนส่วนหลังซึ่ง
17. ผูจ้ ดั การบริการชงและและเสร์ ิ ฟกาแฟรสพิเศษให้แก่พนักงานผูท้ างานบรรลุ
เป้ าหมาย
ผลกรรมที่เป็ นรางวัลอะไรได้บ้าง
18. เมื่อลูกน้ องทางานหามรุ่งหามคา่ จนเสร็จโครงการแล้ว หัวหน้ าอนุญาตให้
สิทธิพิเศษหยุดงานหนึ่ งวัน
19. ผูบ้ ริหารทาหน้ าที่บริการเครื่องดื่มระหว่างพักย่อยในการทางานของพนักงานเมื่อ
เขาแสดงให้เห็นว่าได้ทางานหนักมาตลอดในช่วงเวลาที่มีงานหนักมาตลอด
20. อนุญาตพักกลางวันไปรับประทานอาหารยาวสามชัวโมงส
่
าหรับพนักงานที่ เช้า
21. ให้สิทธิพิเศษเป็ นที่จอดรถเฉพาะของเขาเป็ นเวลาหนึ่ งเดือน
22. ให้วนั หยุดพิเศษ
23. อนุญาตให้ทางานที่บา้ นได้ตามกาหนดเวลา เช่น สามวัน
ิ่ มเติมจากเติม
24. ให้อานาจในการสังงานเพ
่
25. แต่งตัง้ ให้เป็ นหัวหน้ าทีม
ผลกรรมที่เป็ นรางวัลอะไรได้บ้าง
26. ให้รกั ษาการแทนหัวหน้ า
27. ให้ไปประชุมกับผูใ้ หญ่แทนหัวหน้ า
28. สาหรับพนักงานที่ชอบทาอะไรแหวกแนวอาจจะชอบรางวัลเป็ นการอนุญาตให้ เขา
สามารถทางานในแบบที่เขาต้องการได้
29. เปิดโอกาสให้พนักงานได้รบั รางวัลเป็ นการมีสิทธ์ ิ เลือกทางานในโครงการที่
เขาอยากทา
30. อนุญาตให้พนักงานได้เลือกทางานที่เขาชอบเป็ นพิเศษในเวลาหนึ่ งวัน
31. อนุญาตให้พนักงานได้แลกงานที่ตนเองไม่ชอบกับงานของหัวหน้ าที่เขาชอบทา
32. เขียนจดหมายขอบคุณไปยังสมาชิกของครอบครัวทางาน ที่พนักงานต้องมา
ทางานในบริษทั นอกเวลาทางานมากขึน้
33. จัดให้ผบู้ ริหารสูงสุดโทรศัพท์มาคุยกับพนักงานที่ทางานได้ดีมาก
ผลกรรมที่เป็ นรางวัลอะไรได้บ้าง
34. หัวหน้ างานโทรศัพท์ไปหาพ่อแม่ของพนักงานที่ทางานได้ผลดีเพื่อบอกให้
ทราบว่าลูกของเขาเป็ นพนักงานที่บริษทั ภาคภูมิใจในผลการทางาน
35. ขอให้ผบู้ ริหารสูงสุดเดินมาจับมือแสดงความยินดีกบั พนักงานถึงโต๊ะทางาน
36. จัดการให้มีระบบที่ลกู ค้าสามารถให้ความเห็นชมเชยพนักงานที่บริการดี
37. แจ้งให้ผท้ ู าวารสารขององค์การมาสัมภาษณ์พนักงานที่ทางานดี
38. ทาการ์ดขอบคุณที่มีลายเซ็นต์ของทุกคนในแผนกให้แก่พนักงานที่มีพฤติกรรม
เสียสละเพื่อคนอื่นหรือทาชื่อเสียงให้แก่หน่ วยงาน
39. ในช่วงเวลาที่เหมาะสมอาจจะทาเสียงออดหรือระฆังให้ได้ยินทัวไปเพื
่
่อประกาศ
ความสาเร็จของพนักงาน
40. เรียกชื่อพนักงานว่าเป็ น มิสเตอร์ เช่น มิสเตอร์เซฟตี้ ถ้าเขามีผลงานทางความ
ปลอดภัยจากการทางาน อาจจะเป็ นมิสเตอร์.....อื่น ๆ ได้อีก
ผลกรรมที่เป็ นรางวัลอะไรได้บ้าง
41.
42.
43.
44.
45.
46.
47.
48.
49.
50.
51.
ทาบุญในนามของพนักงานที่ได้รางวัล
บริษทั จ่ายค่าสมัครเป็ นสมาชิกในสโมสรสาหรับออกกาลังกายให้
ส่งแชมเปญหนึ่ งขวดไปให้พนักงานถึงโต๊ะทางาน
ส่งช่อดอกไม้ไปให้พนักงานถึงโต๊ะทางาน
ถ่ายรูปพนักงานคู่กบั ผูบ้ ริหารสูงสุดของบริษทั แล้วอัดใส่กรอบให้
ให้ของรับประทานเล่นที่มีชื่อเสียง เช่น คนชอบกาแฟให้กาแฟรสแปลก ๆ
ให้ของใช้ประจาโต๊ะทางานที่มีตราพิเศษ
ให้ปากกาที่มีตราบริษทั
รับเป็ นสมาชิกวารสารวิชาชีพให้พนักงานในนามของเขา
ให้หนังสือที่เกี่ยวกับงานของเขาพร้อมเซ็นชื่อมอบให้
ซื้อลอตเตอรี่ให้
ผลกรรมที่เป็ นรางวัลอะไรได้บ้าง
52. ให้กระดาษบันทึกเล็ก ๆ ที่เขียนบอกชื่อเขาในฐานะของผูท้ างานสิ่งใดสาเร็จ
เป็ นจานวนหนึ่ งเล่ม สาหรับให้เขาใช้เป็ นของใช้สานักงานบนโต๊ะของเขา
53. ให้ต ั ๋วชมภาพยนตร์สองใบให้พาแฟนไป
54. ให้บตั รรับประทานอาหารคา่ กับคนที่เขาอยากเชิญไปอีกหนึ่ งคน
55. อัดภาพการ์ตนู ที่มีความหมายบ่งบอกความสาเร็จเช่นเดียวกับที่เขาทาไปแล้ว
56. ให้ของที่เกี่ยวข้องกับงานอดิเรกของเขา
57. เมื่อฝ่ ายผลิตทางานได้บรรลุเป้ าหมายอย่างมีคณ
ุ ภาพตามเกณฑ์ดี ฝ่ าย
ควบคุมคุณภาพจะทากับข้าวมาเลี้ยงฝ่ ายผลิต
58. ลงข่าวหรือโฆษณาชื่อของพนักงานในหนังสือพิมพ์ สิ่งพิมพ์ของบริษทั
59. เมื่อพนักงานทางานสาเร็จดีมาก แอบนาหัวหน้ าเก่าและเพื่อนที่เคยทางาน
ร่วมกับเขามาแสดงความยินดีในงานเลี้ยงกาแฟตอนบ่าย
ผลกรรมที่เป็ นรางวัลอะไรได้บ้าง
60. เอารถประจาตาแหน่ งของกรรมการผูจ้ ดั การขับไปรับภรรยาและลูกของเวลา
หนึ่ งวัน
61. ทาให้คอมพิวเตอร์ของบริษทั ทุกเครื่องเปิดหน้ าจอด้วยรูปของพนักงานเป็ นเวลา
หนึ่ งวัน
62. ส่งไปรับการฝึ กอบรมในหัวข้อที่เป็ นการเตรียมตัวสาหรับการเลื่อนตาแหน่ ง
63. ส่งไปร่วมงานระยะเวลาสัน้ กับผูท้ ี่มีชื่อเสียงในสิ่งที่เขาสนใจทา
64. ให้เครื่องมือเกียรติยศสาหรับการทางานแก่ช่าง เช่น ไขควง คีม ฯลฯ
65. มอบเสื้อสามารถให้
66. ให้คะแนนสะสมเพื่อรับรางวัลอย่างอื่นต่อไป
67. ให้บตั รส่วนลดสาหรับซื้อสินค้าที่ห้างสรรพสินค้า
ผลกรรมที่เป็ นรางวัลอะไรได้บ้าง
68. จัดรายการพิเศษให้พนักงานเล่าวิธีการทางานที่ทาให้เขาประสบความสาเร็จ
70. ส่งไปเป็ นตัวแทนของหัวหน้ าในการทากิจกรรมร่วมกับหน่ วยงานอื่น
71. เพิ่มอานาจในการสั ่งการ เช่น สังจ่
่ ายเงินได้มากขึน้ ดูแลคนจานวนมากขึน้
72. แต่งตัง้ ให้เป็ นหัวหน้ าโครงการสาคัญและให้เลือกผูร้ ่วมงานเอง
73. ตัง้ ชื่อรางวัลของบริษทั ตามชื่อของพนักงานที่ทางานสาคัญมากได้สาเร็จ
74. เมื่องานของแผนกอื่นที่สมั พันธ์กบั แผนกท่านทาได้ดีมาก แผนกท่านพาเขา
ไปเลี้ยงอาหาร หรือส่งขนม หรือดอกไม้ขอบคุณให้กบั เขาในช่วงเวลาที่เหมาะสม
75. Solution Award สาหรับพนักงานที่คิดแก้ปัญหาสาคัญของหน่ วยงานได้สาเร็จ
พฤติกรรมนิยม
ปัญญานิยม
Cognitive - Behaviorism
อธิบายพฤติกรรมมนุษย์
ตามแนวอิทธิพลสั งคม
BANDURA
แนวความคิดของ Bandura
พฤติกรรมของมนุษย์ (behavior) มีปฏิสัมพันธ์ กับปั จจัยอีก
2 ปั จ จั ย คื อ ปั จ จั ย ทางปั ญ ญา และปั จ จั ย ส่ วนบุ ค คลอื่ น ๆ
(personal factors) รวมทั้งอิทธิ พลของสภาพแวดล้ อม
(environmental influences) ซึ่งปัจจัยทั้ง 3 มีอทิ ธิพลเชิ งเหตุ-ผล
ซึ่งกันและกัน (reciprocal causation) ดังนั้นในชี วิตจริ งของ
มนุษย์ นอกจากมนุษย์ จะได้ รับอิทธิพลจากสิ่ งแวดล้ อมแล้ ว มนุษย์
ยังมีอิทธิ พลต่ อ สิ่ งแวดล้ อ มด้ วย นอกจากนี้ค วามคิด ความเชื่ อ
และความคาดหวังยังมีอทิ ธิพลต่ อพฤติกรรมของเขาด้ วย
Social-Cognitive Personality Theories:
Reciprocal Determination
Personal/
Cognitive
Factors
Environment
Factors
Behavior
Internal World + External World = Us
Social-Cognitive Personality Theories:
Reciprocal Determination
สถาบัน
ทางสังคม
ตาแหน่ ง และ
บทบาท
บรรทัดฐานการ
คาดหวังในบทบาท
พฤติกรรมที่แสดง
ออกมาให้สงั เกตได้
ระบบ
สังคม
บุคคล
แต่ละคน
บุคลิกภาพ
ความต้องการ
อารมณ์ ความรู้สึก
Download