Module 1 The Spirit of Motivational Interviewing (MI Spirit) Pilot Training of MI & MET for AUD Curriculum Thai Motivational Interviewing Network (TMIN) What is Motivational Interviewing (MI)? Motivation Definition: Motivation is the driving force which causes us to achieve goals. Motivation (แรงจูงใจ) มาจากคาในภาษาละตินว่า movere หมายถึง “เคลื่อนไหว” (move) ซึง่ จะทาให้ เราไปสูเ่ ป้าหมายได้ Motivational Interviewing : MI Definition: Motivational interviewing is a directive, client-centered counseling style for eliciting behavior change by helping clients to explore and resolve ambivalence. Compared with nondirective counseling, it is more focused and goal-directed. Motivational Interviewing : MI MI เป็ นการให้ การปรึกษา ยึดหลักผู้รับการปรึกษาเป็ นศูนย์กลาง เพื่อที่จะทาให้ เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม เป็ นการช่วยให้ ผ้ รู ับการปรึกษาสารวจและจัดการกับ ความรู้สกึ ก ้ากึง่ ลังเลใจ (Ambivalence) ในการที่จะ เปลี่ยนแปลงตัวเอง ผู้ให้ การปรึกษาแบบ MI จะเป็ นผู้ชกั จูงและชี ้นาให้ ผ้ รู ับ การปรึกษาไปถึงเป้าหมายของเขา Client-Centered Humanistic - Carl Rogers - genuineness Unconditional positive regard - acceptance, and caring, but not approval of all behavior Accurate empathic understanding - empathy, understanding of client’s frame of refer ability to deeply grasp the client’s subjective world & communicate this to the client Congruence การยึดผ้ ูป่วยเป็ นศูนย์ กลาง ยึดแนวทฤษฎี Humanistic ของ Carl Rogers ความสอดคล้ องเหมาะสม จริ งใจ ของตัวผู้ให้ การปรึกษา การยอมรับอย่างไม่มีเงื่อนไข ยอมรับในสิง่ ที่เขาเป็ น การเห็นอกเห็นใจ เข้ าใจผู้รับการปรึกษาอย่างถูกต้ อง ลึกซึ ้ง Skills used in Client-Centered ทักษะที่ใช้ ในหลักของการยึดผู้ป่วยเป็ นศูนย์ กลาง Verbal - non verbal communication (+) ทักษะการสื่อสารที่ใช้ ภาษาพูดและไม่ใช้ ภาษาพูด ที่เป็ นไปในทางบวก Reflective listening ทักษะการฟั งอย่างตังใจแล้ ้ ว สะท้ อนความ Summarizing ทักษะการสรุปความ Supportive ทักษะการให้ กาลังใจ อื่นๆ การชีน้ าไปส่ ูเป้าหมาย (Goal-Directed) The goals of MI is to move the pertinent in the direction of making a positive change. เป้าหมายของ MI ก็คือ การชักนาผู้รับการปรึกษาให้ ไปสูท่ ิศทางของการเปลี่ยนแปลงตนเองในทางที่ดขี ึ ้น MI แตกต่างจากแนวคิดของ Rogers เนื่องจาก Rogers ไม่มงุ่ เน้ นที่การชี ้นาผู้ป่วย The Spirit of MI (ลักษณะเด่ นของ MI) Three components ประกอบด้ วย 3 องค์ ประกอบ Evocative / Elicit การกระตุ้นให้ เกิดความคิดและตอบ เพื่อเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมให้ ไปสูเ่ ป้าหมาย Collaborative ร่ วมมือกับผู้รับการปรึกษาในการเข้ าใจ รายละเอียด และสิ่งที่เขาเป็ นพร้ อมทังคิ ้ ดหาวิธีจดั การแก้ ไข Autonomy สนับสนุนและให้ อิสระแก่ผ้ รู ับการปรึกษาให้ คิด และตัดสินใจด้ วยตัวของเขาเอง ผู้ให้ การปรึกษาเป็ นเพียงผู้คอยเสริม ให้ กาลังใจและชื่นชมในสิ่งทีถ่ ูกต้ อง Self Perception Theory (ทฤษฎีการรั บรู้ ตนเอง) เป็ นทฤษฎีที่นามาใช้ ใน MI Perception (การรับรู้ ) เป็ นการแปลความจากการได้ รับสัมผัส สิ่งเร้ า อวัยวะรับสัมผัส สมอง (แปลความ) รับรู้ “As I hear myself talk, I learn what I believe” “หากฉันได้ ยินสิ่งที่ฉนั คุยกับตนเอง ฉันก็ได้ เรี ยนรู้ในสิ่งที่ฉนั เชื่อ” การได้ ยินสิ่งที่ตนเองพูด ทาให้ เข้ าใจว่า ตนเองคิดอย่างไร เชื่อ อย่างไร อาจทาให้ เกิดการทบทวนตนเอง วิเคราะห์ข้อดีข้อเสีย และมีความต้ องการอยากปรับเปลี่ยนถ้ าเป็ นข้ อเสีย ทักษะที่ใช้ ประกอบทฤษฎีการรั บรู้ ตนเอง Verbal - non verbal communication (+) ทักษะการสื่อสารที่ใช้ ภาษาพูดและไม่ใช้ ภาษาพูด ที่เป็ นไปในทางบวก Reflective listening ทักษะการฟั งอย่างตังใจแล้ ้ ว สะท้ อนความ Summarizing ทักษะการสรุปความ Supportive ทักษะการให้ กาลังใจ อื่นๆ การพัฒนาการรั บรู้ ตามทฤษฎีของ Piaget Assimilation รับรู้สงิ่ ใหม่เข้ ามา Accommodation ปรับขยายความคิดให้ มากขึ ้น ประยุกต์ใช้ ให้ มีประโยชน์มากขึ ้น Adaptation นาความคิดความเข้ าใจไปใช้ ในการ แก้ ปัญหาและปรับตัวอย่างเหมาะสม MI นามาประยุกต์ ว่า การรั บรู้ ตนเอง จะก่ อให้ เกิดการพัฒนาตนเอง เปลี่ยนแปลงตนเอง หรื อแก้ ปัญหาที่มีอยู่ให้ ดีขนึ ้ ได้ การรั บรู้ ตนเองตามแนวคิดของนักทฤษฎี Carl Rogers เชื่อว่ามนุษย์มีศก ั ยภาพ มีความดีงาม มีมโนภาพเกี่ยวกับตนเอง Frederick Solomon Peris นักจิตวิทยากลุม ่ เกสตอลท์ เชื่อว่ามนุษย์มีธรรมชาติสาคัญหลายประการ เช่น เมื่อเขาเกิดการรับรู้ เขาจะมีการตัดสินใจ เมื่อเขาเกิดการรับรู้ เขาจะรับผิดชอบตนเองอย่าง มีประสิทธิภาพ เมื่อเขาเกิดการรับรู้ เขาจะมีแรงจูงใจพัฒนาชีวิต ให้ เป็ นไปในทางที่ดีขึ ้น Motivational interviewing Motivation to change is elicited from the client, and not imposed from without. กระตุ้นให้ ผ้ รู ับการปรึกษาเปลี่ยนแปลงตนเอง It is the client's task, not the counselor's, to articulate and resolve his or her ambivalence. ผู้รับการปรึกษาต้ องแก้ ไขความก ้ากึง่ ลังเลใจด้ วยตนเอง Motivational interviewing Direct persuasion is not an effective method for resolving ambivalence. การชักชวนโดยตรงไม่ใช่วิธีการที่ได้ ผลในการแก้ ไข ความก ้ากึง่ ลังเลใจ The counseling style is generally a quiet and eliciting one. รูปแบบการปรึกษาแบบ MI ควรเงียบและกระตุ้น การชักชวนโดยตรง การเผชิญหน้ าและการโต้ แย้ ง เป็ นทักษะที่ตรงข้ ามกับ MI Motivational interviewing The counselor is directive in helping the client to examine and resolve ambivalence. ผู้ให้ การปรึกษาจะชี ้นา ช่วยเหลือให้ ผ้ รู ับการปรึกษา ตรวจสอบหรื อแก้ ไขความก ้ากึง่ ลังเลของเขา Motivational interviewing Readiness to change is not a client trait, but a fluctuating product of interpersonal interaction. ลักษณะผู้รับการปรึกษา ยังกลับไปกลับมา ไม่พร้ อมจะเปลี่ยนแปลง ไม่ถึงกับต่อต้ าน เป็ นเพียงเหมือนจะโต้ กลับ “พฤติกรรมเอาใจใส่ ” ของผู้ให้ การปรึกษาผู้รับการปรึกษา มักมองผู้ให้ การปรึกษาว่า คาดหวังว่าจะเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมตนได้ Motivational interviewing The therapeutic relationship is more like a partnership or companionship than expert / recipient roles. ความสัมพันธ์ของการรักษามีบทบาทของการร่วมกัน แสดงความคิดเห็นมากกว่า ผู้รับการช่วยเหลือกับ ผู้เชี่ยวชาญ Summary Motivational Interviewing is an interpersonal style, not at all restricted to formal counseling settings. It is a subtle balance of directive and client–centered components. MI ก็คือรูปแบบของแต่ละบุคคล ไม่ใช่การปรึกษาที่มีรูปแบบตายตัวทังหมด ้ แต่เป็ นหลักของการชี ้นาและยึดผู้ป่วยเป็ นศูนย์กลาง อย่างเหมาะสมชาญฉลาด