18th National Convention on Civil Engineering May 8-10, 2013 – Chiang Mai วิธีอย่ างง่ ายวิธีใหม่ ในการวัดค่ าสั มประสิ ทธิ์แรงเสี ยดทาน สาหรับลวดอัดแรงดึงทีหลัง A New Simple Method for Post-tension Strands Friction Coefficient Measurement ผศ. ดร. ฉัตร สุ จินดา สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม 1 18th National Convention on Civil Engineering May 8-10, 2013 – Chiang Mai ความเป็ นมา • คอนกรี ตอัดแรง แบ่งตามวิธีการก่อสร้าง/การดึงลวดได้ 2 ประเภทคือ 1. แบบอัดแรงก่อน (Pre-tensioning) Fjacking Friction=0 Fend=Fjacking 2 18th National Convention on Civil Engineering May 8-10, 2013 – Chiang Mai • แบบอัดแรงทีหลัง (Post-tensioning) Friction Fjacking Fdead end แรงเสี ยดทานระหว่างลวดและท่อร้อยลวด (Friction) ขึ้นอยูก่ บั • คุณสมบัติของผิววัสดุ: ท่อร้อยลวด, ลวด • ความยาวของเส้นลวด • ความโค้งที่เกิดขึ้นในเส้นลวด 3 18th National Convention on Civil Engineering May 8-10, 2013 – Chiang Mai แรงเสี ยดทานขึ้นอยูก่ บั ความยาวรวมของเส้นลวด 4 18th National Convention on Civil Engineering May 8-10, 2013 – Chiang Mai สมการประมาณค่าแรงเสี ยดทาน 𝐹𝑑𝑒𝑎𝑑 𝑒𝑛𝑑 = 𝐹𝑗𝑎𝑐𝑘𝑖𝑛𝑔 e− Klp +μp αp αp = α1 + α2 +α3 +α4 +α5 +… α2 Fjacking α3 α1 α4 α5 Fdead end 𝑙𝑝 K = Wobble Coefficient สัมประสิ ทธิ์ ความคต μp = Curvature Coefficient สัมประสิ ทธิ์ ความโค้ง 5 18th National Convention on Civil Engineering May 8-10, 2013 – Chiang Mai Adapt FELT 6 18th National Convention on Civil Engineering May 8-10, 2013 – Chiang Mai สัมประสิ ทธิ์แรงเสี ยดทานสาหรับลวดอัดแรงชนิดต่างๆ ACI318 คุณสมบัติของผิววัสดุ: ท่อร้อยลวด, ลวด Grouted tendons in metal sheathing Unbounded Tendon Mastic coated Pre-greased ความยาว ความโค้งที่เกิดขึ้น Wobble coefficient, per foot Curvature coefficient, per radian Wire tendons 0.0010-0.0015 0.15-0.25 High-strength bars 0.0001-0.0006 0.08-0.30 7-wire strands 0.0005-0.0020 0.15-0.25 7-wire strands 0.0010-0.0020 0.05-0.15 Wire tendons 0.0010-0.0020 0.05-0.15 7-wire strands 0.0003-0.0020 0.05-0.15 Wire tendons 0.0003-0.0020 0.05-0.15 7 18th National Convention on Civil Engineering May 8-10, 2013 – Chiang Mai ACI318 Commentary R18.6.2 — Friction loss in post-tensioning tendons The coefficients tabulated in Table R18.6.2 give a range that generally can be expected. Due to the many types of prestressing steel ducts and sheathing available, these values can only serve as a guide. Where rigid conduit is used, the wobble coefficient K can be considered as zero. For large diameter prestressing steel in semirigid type conduit, the wobble factor can also be considered zero. Values of the coefficients to be used for the particular types of prestressing steel and particular types of ducts should be obtained from the manufacturers of the tendons. An unrealistically low evaluation of the friction loss can lead to improper camber of the member and inadequate prestress. Overestimation of the friction may result in extra prestressing force. This could lead to excessive camber and excessive shortening of a member. If the friction factors are determined to be less than those assumed in the design, the tendon stressing should be adjusted to give only that prestressing force in the critical portions of the structure required by the design. 8 18th National Convention on Civil Engineering May 8-10, 2013 – Chiang Mai แนวคิดวิธีการหาค่าสัมประสิ ทธิ์ • PT System of Georgia, USA 𝑙𝑝 Fdead end Fjacking F𝑑𝑒𝑎𝑑 𝑒𝑛𝑑 Fjacking = e− Klp 𝑎𝑣𝑔1 𝑙𝑝 Fdead end Fjacking Fdead end F𝑗𝑎𝑐𝑘𝑖𝑛𝑔 Load Cell Load Cell = e− Klpx +μp αpx avg2 9 18th National Convention on Civil Engineering May 8-10, 2013 – Chiang Mai แนวคิดวิธีการหาค่าสัมประสิ ทธิ์ • Ning Ming-zhe and Li De-jian ชั้นตอนซับซ้อน ใช้ได้กบั โครงสร้างสะพาน (ยังไม่ได้ลองใช้กบั พื้นคอนกรี ตอัดแรง) • วิธีที่ผ่านมา ใช้ค่าตามที่มาตรฐาน ACI318 แนะนา: ผูอ้ อกมาตรฐานก็ไม่ได้รับรองความถูกต้องแต่อย่างใด ใช้วิธีของ บ. PT System of Georgia: ต้องมีการสร้างโครงสร้างหรื อลวดตัวอย่างพิเศษ สาหรับวัด ค่าแรงดึงและแรงที่ปลายด้านที่ไม่ได้ดึงลวด ใช้วิธีของ Ning Ming-zhe and Li De-jian: มีข้ นั ตอนที่ซบั ซ้อน และยังไม่ได้ลองใช้กบั พื้น คอนกรี ตอัดแรง • วิธีที่นาเสนอนี้ ไม่ตอ้ งใช้โครงสร้างที่มีการวางลวดสาหรับวัดค่าแรงเสี ยดทานโดยเฉพาะ สามารถใช้ขอ้ มูลของลวดที่มี Profile แตกต่างกันได้ ซึ่ งยิง่ จะทาให้เป็ นการสุ่ มตัวอย่างที่กระจายดีมาก ยิง่ ขึ้น ใช้ขอ้ มูลที่เก็บได้จากขั้นตอนการดึงลวด ตามมาตรฐานโดยปกติ จึงสามารถนาข้อมูลที่เคยเก็บไว้ขณะดึงลวด 10 มาใช้ได้ 18th National Convention on Civil Engineering May 8-10, 2013 – Chiang Mai แนวคิดวิธีการหาค่าสัมประสิ ทธิ์ วิธีใหม่ที่เสนอนี้ • หากนาค่าระยะยืด elongation ของลวดอัดแรงที่ดึง มาใช้คานวณ กลับเพื่อหาแรงดึงเฉลี่ยที่เกิดขึ้นในเส้นลวด ก็จะสามารถประมาณค่าแรง เสี ยดทานได้ และสามารถนามาหาสัมประสิ ทธิ์แรงเสี ยดทานได้ 11 18th National Convention on Civil Engineering May 8-10, 2013 – Chiang Mai ขั้นตอนในการหาสัมประสิ ทธิ์แรงเสี ยดทาน วิธีใหม่ 1. บันทึกค่าแรงดึงลวด Fjacking และระยะยืดลวด ∆ps ของแต่ละเส้น ลวดไว้ 2. จาก shop drawing คานวณความยาว lp และการเปลี่ยนมุมรวม αp ของลวดแต่ละเส้น 3. ใช้สมการความสัมพันธ์ระหว่าง stress และ strain ของเส้นลวด f ps B ps A D 1 C ps f pu 1 D 12 18th National Convention on Civil Engineering May 8-10, 2013 – Chiang Mai ขั้นตอนในการหาสัมประสิ ทธิ์แรงเสี ยดทาน วิธีใหม่ 4. จากระยะยืด ∆ps คานวณหน่วยการยืดตัว Ɛps= ∆ps/lp และหาค่า stress ในเส้นลวดโดยเฉลี่ยตลอดความยาวของเส้นลวด fps จากความสัมพันธ์ stress-strain และคานวณค่าแรงดึงเฉลี่ย จากพื้นที่หน้าตัดของเส้นลวด Aps จาก Favg=Aps*fps และ ประมาณค่าแรงดึงที่ปลาย Dead End หรื อ FDead End จาก Favg=(Fjacking+Fdead end)/2 13 18th National Convention on Civil Engineering May 8-10, 2013 – Chiang Mai ขั้นตอนในการหาสัมประสิ ทธิ์ แรงเสี ยดทาน วิธีใหม่ และสามารถคานวณหาความสัมพันธ์เชิงเส้นไม่ตรงได้ดงั นี้ (Fdead end/Fjacking)=e-(K*lp+µp*αp) จากนั้นแปลงสมการข้างบนให้เป็ นสมการเชิงเส้นตรง ln(Fdead end/Fjacking)=-(K*lp+µp*αp) 14 18th National Convention on Civil Engineering May 8-10, 2013 – Chiang Mai ขั้นตอนในการหาสัมประสิ ทธิ์ แรงเสี ยดทาน วิธีใหม่ 5. หาค่าคงที่ของสมการถดถอยเชิงเส้นตรงหลังตัวแปร (Multiple Linear Regression) จากตัวแปรต้น lp , αp ของลวดแต่ละ เส้น และตัวแปรตาม ln(Fjacking/Fdead end) ของลวดทุกเส้น โดยใช้โปรแกรมที่สามารถหาสมการถดถอยเชิงเส้นตรงหลายตัวแปร โดยกาหนด Zero Constant จะได้ค่าสัมประสิ ทธิ์แรงเสี ยดทาน ออกมา 15 18th National Convention on Civil Engineering May 8-10, 2013 – Chiang Mai ขั้นตอนในการหาสัมประสิ ทธิ์ แรงเสี ยดทาน วิธีใหม่ SUMMARY OUTPUT Regression Statistics Multiple R R Square Adjusted R Square Standard Error Observations 0.910718954 0.829409014 0.826907751 0.122023181 470 ANOVA Regression Residual Total Intercept X Variable 1 X Variable 2 df 2 468 470 Coefficients 0 0.003487354 0.535759267 SS 33.87998497 6.968359342 40.84834431 Standard Error #N/A 0.000173258 0.095102048 MS 16.93999248 0.014889657 t Stat #N/A F Significance F 1137.702018 3.0325E-180 P-value #N/A 20.12815032 2.26924E-65 5.633519744 3.05203E-08 Lower 95% Upper 95% #N/A #N/A 0.003146895 0.348879389 0.003827813 0.722639145 Lower 95.0% #N/A 0.003146895 0.348879389 Upper 95.0% #N/A 0.003827813 0.722639145 18th National Convention on Civil Engineering May 8-10, 2013 – Chiang Mai สรุ ปและข้อเสนอแนะ • ค่าสัมประสิทธิ์แรงเสียดทานที่ได้ จากสมการถดถอย ได้ คา่ R2=0.829 ซึง่ แสดงถึงว่ามี สัมพันธ์อยู่ในระดับที่ดีและได้ คา่ สัมประสิทธิ์แรงเสียดทานความคด (Wobble coefficient) K=0.0035 ต่อฟุต (หรื อ 1.758 ต่อเมตร) ซึง่ มีคา่ สูงกว่าค่าบนที่แนะนาไว้ ใน ACI318 กรณี Grouted tendons in metal sheathing คืออยู่ในช่วง 0.0005-0.0020 ไปบ้ าง ส่วนค่าสัมประสิทธิ์แรงเสียดทานความโค้ ง (Curvature Coefficient) μp=0.536 ต่อเรเดียน ซึง่ มีค่าสูงกว่าค่าบนที่แนะนาไว้ ใน ACI318 คืออยู่ในช่วง 0.15-0.25 ต่อเรเดียนไปเกินสองเท่า • พบว่าค่าสัมประสิทธิ์แรงเสียดทานที่หามาได้ มีคา่ แตกต่างจากที่มาตรฐานแนะนาอย่างมี นัยสาคัญ ดังนันผู ้ ้ วิจยั จึงแนะนาว่าองค์กรวิศวกรรมควบคุม ควรจะออกข้ อกำหนดใน มำตรฐำนกำรออกแบบให้ ผ้ ูผลิตลวดอัดแรงและระบบท่ อร้ อย รวมไปถึงบริษัท ผู้รับเหมำวำงลวดอัดแรง หำค่ ำสัมประสิทธิ์แรงเสียดทำนสำหรับใช้ เฉพำะของแต่ ละ ผลิตภัณฑ์ เนื่องจากแต่ละบริ ษัทอาจใช้ วสั ดุและมีขนตอนมาตรฐานในการควบคุ ั้ มงานที่ แตกต่างกัน 17