การระงับปวดหลังผ่ าตัด นัยนา อรุณพฤกษากุล 1 OUTLINE Pain pathway ผลเสี ยของความปวดหลังผ่าตัด การวางแผนเพื่อป้ องกันและรักษาความเจ็บปวดหลัง ผ่าตัด Pain assessment Drugs & dose & route 2 central sensitization Peripheral sensitization inadequate pain control • Histamine • Bradykinin • Prostaglandins 3 • Nerve growth factor Pathophysiology of pain Systematic responses to surgery Sympathetic nervous system activation Neuroendocrine stress response Immunologic–inflammatory changes Physiological disturbances Cardiovascular: increased heart rate, blood pressure Gastrointestinal: ileus Pulmonary: decreased lung volumes Renal: decreased renal blood flow ผลเสี ยของความปวดหลังผ่ าตัด (ACUTE PHASE) Hypercoagulability deep vein thrombosis vascular graft failure myocardial ischemia กดระบบภูมิคุม้ กันของร่ างกาย Hyperglycemia 5 ผลเสี ยของความปวดหลังผ่ าตัด (ACUTE PHASE) Increase sympathetic tone CVS กล้ามเนื้ อหัวใจใช้ O2 มากขึ้น เลือดมาเลี้ยงลดลงจากการหดตัวของหลอดเลือด เพิม ่ ความเสี่ ยงต่อกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด 6 ผลเสี ยของความปวดหลังผ่ าตัด (ACUTE PHASE) Increase sympathetic tone Respiratory system phrenic nerve จะทางานเลวลง ปวดแผลจึงไม่ ยอมหายใจลึกๆ และไอไม่ ได้ แรง ทาให้ เกิดภาวะแทรกซ้ อนทางระบบหายใจง่ าย GI paralytic ileus 7 Subacute phase Inadequate pain control Acute pain Chronic pain PLAN FOR POSTOP. PAIN Systemic analgesics Regional / peripheral nerve block Preemptive analgesia 9 วางแผนป้ องกันและรักษาความเจ็บปวดหลังผ่ าตัด Preemptive analgesia Multimodal perioperative management Analgesic drugs: Acetaminophen NSAIDs Opioids Regional / peripheral nerve block 10 PRE-OPERATIVE APPROACH Education วางแผนเลือกวิธีป้องกันและรักษาความเจ็บปวดหลังผ่าตัด Pre-medications NSAIDs Opioids 11 INTRA - OPERATIVE APPROACH Systemic opioids during GA Regional Spinal / epidural block ± opioids Peripheral nerve block Local anesthetics Wound infiltration 12 POST - OPERATIVE APPROACH Regional or peripheral nerve block single shot intermittent injection continuous infusion LA ± opioid 13 POST - OPERATIVE APPROACH Systemic drugs Opioids Strong :morphine, pethidine, fentanyl, ect. Weak : tramadol, codiene Non-opioid Acetaminophen NSAIDs Alpha 2 agonist: clonidine, dexmedetomidine Gabapentin Ketamine 14 POST - OPERATIVE APPROACH Non-opioid Acetaminophen NSAIDs Alpha 2 agonist: clonidine, dexmedetomidine Gabapentin Ketamine 15 Acetaminophen Actions : CNS by inhibit prostaglandin synthetase For mild pain, fever Increase effect when combined with NSAIDs Doses: 325-1000 mg/ dose Non-opioid Analgesics Time To Peak Levels (hr) Onset (hr) Half-Life (hr) Duration (hr) Maximum Recommended Daily Dose (mg) Acetaminophen 0.5–1 1.4 0.5 2–4 1,200 16 Acetaminophen + sulfate / glucoronide N-acetyl-p-benzoquinoneimine(NABQI) (toxic) + glutathione 17 ACETAMINOPHEN Use with caution • Malnutrition • Anti epileptic drugs • Liver disease • Decrease Glucoronide level • Accumulation of NABQI 18 Nonsteroidal antiinflammatory drugs (NSAIDs) Conventional NSAIDs COX2 inhibitors 19 NSAIDS Contraindications • • • • • • Bleeding disorder Active peptic ulcer disease Asthma NSAIDS allergy Severe renal impairment Hypertension, congestive heart failure, impair cardiac function • Severe liver impairment 20 NSAIDS Non-opioid Analgesics Time To Peak Levels (hr) Aspirin/salicylate Ibuprofen Indomethacin Diclofenac 0.5–2 1–2 1–2 2–3 Onset (hr) Half-Life (hr) 2–3 0.5–1 1.8–2.5 0.5 4.5 0.5 2 1 Duration (hr) Maximum Recommended Daily Dose (mg) 2–4 4–6 4–6 1.6 3,600 3,200 200 200 21 KETAMINE adjuvant analgesic opioid-tolerant patients chronic pain or cancer pain surgical procedures higher incidences of persistent surgical pain Thoracotomy Mastectomy Limb amputations 22 GABAPENTIN antihyperanalgesic effects Peripheral sodium channel activation Binding to a specific calcium channel subunit Oral:1,200 mg gabapentin preoperative decreased opioid requirements improved pain scores both at rest and with movement (mod. pain sx) 23 DEXMEDETOMIDINE highly selective alpha 2 agonist shorter half-life than clonidine sedation and analgesia with minimal respiratory depression infuse 1 hour before the end of surgery and continued in PACU Lower opioid requirements better pain control not associated with respiratory depression in the morbidly obese patients 24 Systemic drugs: weak opioids Tramadol synthetic opioid , weak μ-agonist activity inhibits reuptake of serotonin and norepinephrine effective for moderate pain Advantages : lack of - respiratory depression - major organ toxicity - depression of gastrointestinal motility low potential for abuse Dose: 100mg, total 600mg/day 25 Tramadol Common side effects (incidence of 1.6% to 6.1%) Dizziness , drowsiness , headache Sweating, dry mouth Nausea, vomiting Should be used with caution in Patients with seizures Increased intracranial pressure Contraindicated in Patients taking monoamine oxidase inhibitors 26 Systemic drugs: weak opioids Codeine Morphine like effect (1/10 ) Increase dose : not increase analgesia but increase side effect Side effects: nausea, vomiting, constipation, lightheadedness, dizziness, drowsiness Combine with paracetamol increase efficacy 27 POST - OPERATIVE APPROACH Systemic drugs: opioids Morphine ( route ) Dose (mg.) Onset (min) Peak effect (min) Duration (hr) ( IV ) 2.5–15 3-5 20 2-3 (IM) 10–15 20 30-90 3-4 (PO) 30–60 30-60 1–2 4 28 POST - OPERATIVE APPROACH Systemic drugs: drugs opioids (route) Dose (mg) Onset (min) Peak effect (min) Duration (hr) Meperidine (IV) 25-100 1-3 - 2-4 Codeine (IM) 15–60 15-30 60 4–6 Codeine (PO) 15–60 15-60 30-120 3–4 Tramadol (PO) 100 60 120-180 3-6 Opioids 29 Side effects of opioids Urinary retention Nausea & vomiting Itching Sedation Respiratory depression 30 การให้ยากลุ่ม Opioid... น่ากลัว !!! กลัวคนไข้ หยุดหายใจ จะมีวธิ ีป้องกันอย่ างไร? 1. 2. 3. 4. 5. 6. การประเมิน pain score, sedation score วัดอัตราการหายใจ และ O2saturation การให้ยาแก้ปวดให้เหมาะสมกับความปวดที่ประเมินได้ Slow titration of opioid ประเมิน pain score และ sedation score ซ้ าหลังให้ยา 5 นาที ถ้าผูป้ ่ วยหายใจช้า... ให้ตามแพทย์, เตรี ยมรถEmergency และ ยา Naloxone … (1-4 mcg/kg IV.) 31 Sedation Score ลักษณะผู้ป่วยที่ประเมิน Score 0 คะแนน ไม่ ง่วงเลย ตื่นอยู่ พูดคุยโต้ ตอบได้ อย่ างรวดเร็ว อาจนอนหลับตาแต่ ร้ ู ตัว 1 คะแนน ง่ วงเล็กน้ อย นอนหลับๆตื่นๆ ปลุกตื่นง่ าย ตอบคาถามได้ อย่ างรวดเร็ว 2 คะแนน ง่ วงพอควรอาจหลับอยู่แต่ ปลุกตืน่ ง่ าย ตอบคาถามได้ ผู้ป่วยจะอยากหลับมากกว่ าคุยด้ วยหรือมีอาการสั ปหงกให้ เห็น 3 คะแนน ง่ วงอย่ างมาก ปลุกตืน่ ยากมากหรือไม่ ตื่น ไม่ โต้ ตอบ 32 NUMERIC RATING SCALE การประเมินความปวดในเด็กที่อายุเกิน 6 ปี - ผูใ้ หญ่ ให้ประเมินความปวดเป็ นตัวเลข 0 = ไม่ปวดเลย 10 หรื อ 100 = ปวดมากที่สุด อายุ Pain scale Min-max คะแนนทีแ่ สดงว่ าปวดควรได้ รับยา 6 ปี ขึน้ ไป 0-10 คะแนน 5 คะแนน NRS 33 Drug concetration Respiratory depression Sedation analgesia Pain time 34 Drug concetration MEAC = (minimum effective analgesia concentration) time 35 Intramuscular injection ข้ อดี : เป็ นวิธีที่ง่าย ข้ อควรระวัง: การดูดซึมไม่ แน่ นอน จะดูดซึมได้ ช้าลง : hypovolemia, hypothermia, hypotension ข้ อเสี ย เจ็บบริเวณที่ฉีดยา 36 Drug concetration IM. PRN. time 37 Drug concetration IM. AROUND THE CLOCK time 38 INTRAVENOUS ROUTE Dose Interval Drug concetration Sedation score ≥ 2 Pain score ≥ 5 time 39 Drug concetration Intravenous infusion time 40 PCA (patient controlled analgesia) ข้ อดี บรรเทาอาการปวดได้ ตามที่ต้องการ ปรับตามกิจกรรมที่ทาให้ เกิดการปวดได้ ทันที ข้ อควรระวัง ต้ องศึกษาวิธีการใช้ จนผู้ป่วยเข้ าใจ ข้ อเสี ย เครื่องมือ : ขัดข้ อง ราคาแพง, ความผิดพลาดในการตั้งเครื่อง, เครื่อง 41 PCA (PATIENT CONTROLLED ANALGESIA) 42 PCA (patient controlled analgesia) Bolus dose, PCA dose หรือ demand dose : ขนาดยา/กดปุ่ ม1ครั้ง Lockout Interval : PCA 1 dose /ระยะเวลา Continuous Infusion, background infusion, basal rate : ขนาดยาที่ปล่ อยออกมาอย่ างต่ อเนื่อง 4-Hr Limit เป็ นการกาหนดขนาดยาสู งสุ ดต่ อช่ วงเวลา 43 IV AND INTRATHECAL OPIOID Intrathecal opioid (spinal / epidural) Smaller dose Longer duration Comparable side effect 45 ANALGESIC DRUGS Strong opioids : moderate - severe pain Weak opioids : moderate pain Morphine Tramadol Pethidine Codiene Fentanyl Non opioids : mild - moderate pain NSAIDs Acetaminophen 46 INTRATHECAL OPIOID Intrathecal opioids Fentanyl, Sufentanil คุณสมบัติ ระยะเวลาที่เริ่มออก ฤทธิ์แก้ ปวด ออกฤทธิ์แก้ ปวดนาน Morphine ละลายในไขมัน ได้ ดีละลายในนา้ ได้ ดี เร็ว (5-10นาที) ช้ า (30-60นาที) สั้ น (2-4ชั่วโมง) ยาว (6-24ชั่วโมง) 47 INTRATHECAL OPIOID ผลข้ างเคียง fentanyl morphine คลืน่ ไส้ อาเจียน + +++ คัน + +++ กดการหายใจ เกิดในระยะแรกหลังให้ ยาได้ ในระยะแรกหลังให้ ยา เกิดซ้าได้ หลังจากทีใ่ ห้ ยานาน มากกว่ า 6 ชั่วโมง 48 Postoperative Analgesia Among Various Techniques Epidural analgesia Continuous peripheral analgesia Parenteral opioids • Lower opioids PONV and sedation IV. PCA.with • Greater risk of pruritus or motor block Systemic opioids Continuous epidural infusions Patient-controlled epidural analgesia Epidural analgesia : local anesthetic Epidural analgesia : opioids Better technique 49 POST - OPERATIVE APPROACH 1. 2. How to give opioids in safe manner? How to detect and treat side effect of opioids? 50 54 55 Ambulatory surgical patient Discharge criteria vital signs ปกติ , ไม่ มีเลือดออก, การควบคุมอาการปวดแผล โดยใช้ ยากิน, ไม่ มีอาการคลืน่ ไส้ อาเจียนทีร่ ุนแรง multimodal analgesia: ฉีดยาชาที่แผล, peripheral nerve block, weak opioids NSAIDs, acetaminophen moderate pain decrease side effect 56 Elderly patient Inadequate pain relief ผู้ให้ การรักษากลัวการเกิดผลข้ างเคียงจากยา ผู้ป่วยไม่ บอกหรือไม่ สามารถสื่ อสารได้ Common postop. problem: delirium associate with pain Titration technique โดยให้ ยาขนาดน้ อยและต้ องรอนานกว่ าปกติให้ ยาออกฤทธิ์ ปริมาณยาทีใ่ ช้ จะลดลงผู้สูงอายุเนื่องจากการรับความรู้สึกปวดและ การกาจัดยาลดลง 57 Pediatric patient Main problems: the myths : children and infants do not feel pain, pain is not remembered there is no untoward consequence of experiencing pain communication barrier Pain assessment is essential in pediatrics 58 ขัน้ ตอนการรั กษาที่เหมาะสม ประกอบด้วย การประเมิน pain score และ sedation score การให้ยาแก้ปวดให้เหมาะสมกับความปวดที่ประเมินได้ เฝ้ าระวังภาวะแทรกซ้อนจากยา การชวนให้เด็กไปสนใจสิ่ งอื่น ชวนเล่น อนุญาตให้เด็กนาของเล่นหรื อตุก๊ ตามาในห้องพักฟื้ นได้ ได้อยูก่ บั พ่อแม่หรื อคนที่คุน้ เคยจะช่วยให้เด็กรู ้สึกดีข้ ึน 59 คะแนนทีI่แNFANT สดงว่าปวดควรได้ ยา NEONATAL PAIN รSับCALE (NIPS) การประเมินความปวดในเด็ 4 คะแนนกอายุ0 – 1 ปี การประเมิน 0 คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน สี หน้ า เฉยๆ สบาย แสยะปากเบะ จมูกย่ น หัวคิว้ ย่ น ปิ ดตา แน่ น - ร้ องไห้ ไม่ ร้อง ร้ องคราง กรีดร้ อง การหายใจ สม่าเสมอ หายใจเร็วขึน้ /ช้ าลง/กลั้นหายใจ - แขน วางสบายๆ งอ - ขา วางสบายๆ งอ / เหยียด - กระสั บกระส่ าย วุ่นวาย - ระดับการตืน่ หลับ / ตืน่ 60 คะแนนที แ ่ สดงว่ า ปวดควรได้ ร ั บ ยา CHILDREN HOSPITAL OF EASTERN ONTARIO PAIN SCALE 8 คะแนนกอายุ1 – 6 ปี (CHEOPS) การประเมินความปวดในเด็ การประเมิน 0 คะแนน ร้ องไห้ ยิม้ สี หน้ า การส่ งเสี ยง พูดสนุกร่ าเริง 1 คะแนน ไม่ ร้อง 2 คะแนน คราง,ร้ องไห้ 3 คะแนน หวีดร้ อง เฉย เบ้ - บ่ นปวด+ บ่ นอืน่ ๆ - ดิน้ /เกร็ง/สั่ น /ยืน/ดิน้ จนถูก จับตรึงไว้ - เอือ้ มมือมา/แตะเบาๆ/ตะปบ/ เอือ้ มมือมาจนต้ องจับไว้ บิดตัว/เตะ/ดึงขาหนี/เกร็ง/ยืน/ ดิน้ จนถูกจับหรือตรึงไว้ - ท่ าทาง (ลาตัว) สั มผัสแผล - บ่ นอืน่ ๆ (หิว,หาแม่ ) ธรรมดา สบายๆ - ไม่ สัมผัส ขา - ท่ าสบาย หรือไม่ พูด 61 - การรักษาความปวดในผู้ป่วยเด็ก Oral medications Mild – moderate pain Regional block / IV analgesics Moderate – severe pain IM is not appropriate Afraid of needle Keep still….. Report– “No pain” 62 Morbid obese ± obstructive sleep apnea High risk to postop. hypoxemia and apnea opioids increase risk of respiratory depression Recommend to avoid opioids Non opioid drugs continuous epidural block without opioids If !!! Cannot avoid opioids titration technique Close monitor in ICU during 24 hr. postop. Nasal CPAP may be useful 63