Uploaded by boom_za45

Entrepreneurial-Accounting-and-Finance (1)

advertisement
นายธีรนันท์ ฉุดกลาง ทบง. 64/2 เลขที่ 8 รหัส 076460304259 - 0
หลักสูตร Entrepreneurial Accounting and Finance
วิทยากร ดร.จิตรัตน์ ช่างหล่อ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
ข้อมูลบัญชีช่วยตอบคาถามอะไร
- กิจการมีฐานะการเงินอย่างไร มั่งคั่งแค่ไหน
- การทากาไรเป็นอย่างไร
- มีสินทรัพย์และหนี้สินเท่าไร
- จะปรับลดค่าใช้จ่ายตัวไหนดี
- มีกาไรสะสมหรือไม่
- การลงทุนให้ผลตอบแทนอย่างไร
- ผลประกอบการเป็นอย่างไร
- ได้กาไรตามแผนหรือไม่
- ได้กาไรปีละเท่าไร
- ส่วนงานหรือผลิตภัณฑ์ไหนทากาไรได้ดี
- แต่ละปีสร้างเงินสดได้เท่าไร • ต้องใช้จ่ายอะไรบ้าง
- ส่ ว น ง า น ห รื อ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ไ ห น ไ ม่ ท า ก า ไ ร
ส่วนงานหรือผลิตภัณฑ์ไหนเติบโตขึ้น
- มีปัญหาสภาพคล่องหรือไม่
- ต้องขายกี่ชิ้นถึงจะคุ้มทุน
Agenda
- Key Financial Statements
- Key accounting concepts
- Read and write financial statements
- Financial Analysis for Decision Making
- Trends and common size analysis
- Financial ratio analysis
- Financial analysis by business units
•
นายธีรนันท์ ฉุดกลาง ทบง. 64/2 เลขที่ 8 รหัส 076460304259 - 0
- Financial Projection
- Financial projection with reasonable assumptions
- Testing your assumption
- Investment Appraisals
งบการเงินที่สาคัญ
งบแสดงฐานะการเงิ น (งบดุ ล ) - เป็ น งบที่ แ สดงฐานะการเงิ น ณ
วันใดวันหนึ่ง (ณ วันสินี้) ว่ากิจการมั่งคั่งแค่ไหน
ง
บ
ก
า
ไ
ร
ข
า
ด
ทุ
น
แสดงผลการดาเนินงานในช่วงทีผ่านมาว่ามีกาไรหรือขาดทุนเท่าไร
งบกระแสเงินสด - แสดงการได้มาและใช้ของเงินสด ในช่วงที่ผ่านมา
งบแสดงฐานะการเงิน (Statement of Financial Position)
- เดิมเรียกว่า งบดุล (Balance Sheet)
- แ ส ด ง ถึ ง ฐ า น ะ ก า ร เ งิ น ข อ ง กิ จ ก า ร ณ วั น ใ ด วั น ห นึ่ ง
(งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่…)
- ประกอบด้วย 2 ส่วนที่เท่ากัน (ดุลกัน) :
1. ข้างหนี่งคือสินทรัพย์:หมายถึงทรัพยากรของกิจการ
2 . อี ก ข้ า ง ห นึ่ ง คื อ แ ห ล่ ง เ งิ น ทุ น ข อ ง สิ น ท รั พ ย์
(หรือผูม
้ ีสิทธิเรียกร้องในสินทรัพย์)
- หนี้สินภาระผูกพัน หรือสิทธิเรียกร้องของบุคคลที่สาม
ส่วนของเจ้าของ:สิทธิเรียกร้องของเจ้าของจากเงินทุนที่ลงไป
สมการบัญชี สินทรัพย์ = หนสิน้ + ส่วนของเจ้าของ
สิ น ท รั พ ย์ ( Assets)
ห ม า ย ถึ ง
ทรั พ ยากรของกิ จ การสามารถให้ ร ะโยชน์ แ ก่ กิ จ การในอนาคต เช่ น
นายธีรนันท์ ฉุดกลาง ทบง. 64/2 เลขที่ 8 รหัส 076460304259 - 0
ช่ ว ยสร้ า งรายได้ หรื อ กระแสเงิ น สดในอนาคตได้ ทั้ ง ที่ มี ตั ว ตน
และไม่ตัวตน แบ่งออก 2 ส่วน คือ
- สิ น ท รั พ ย์ ห มุ น เ วี ย น ( Current Assets) คื อ
สิ น ท รั พ ย์ ที่ ค า ด ว่ า จ ะ ไ ด้ ป ร ะ โ ย ช น์ ภ า ย ใ น ห นึ่ ง ปี ไ ด้ แ ก่ เ งิ น ส ด
สินค้าคงเหลือ ลูกหนี้การค้า เงินลงทุนระยะสั้น
- สิ น ท รั พ ย์ ไ ม่ ห มุ น เ วี ย น ( Non- Current Assets) คื อ
สิ น ท รั พ ย์ ที่ มี ก า ร อ า ยุ ก า ร ใ ช้ ง า น ม า ก ก ว่ า ห นึ่ ง ปี เ ช่ น ที่ ดิ น
อาคารและอุปกรณ์
หนี้ สิ น (Liabilities) หมายถึ ง ภาระผู ก พั น ทกิ จ การม่ อ ยในปั จ จุ บั น นี้
เ กิ ด จ า ก ก า ร กู้ ยื ม ห รื อ ติ ด ค้ า ง ผู้ อื่ น ท า ใ ห้ ต้ อ ง น า
สิ น ทรั พ ย์ ม าจ่ า ยช าระภาระผู ก ผั น คื น ตามก าหนดเวลาที่ ต กลงกั น
แบ่งออก2 ส่วน คือ
- ห นี้ สิ น ห มุ น เ วี ย น ( Current Liabilities) คื อ
ห นี้ สิ น ที่ ถึ ง ก า ห น ด ภ า ย ใ น ห นึ่ ง ปี ช า ร ะ คื น ไ ด้ แ ก่ เ ช่ น
เ จ้ า ห นี้ ก า ร ค้ า เ งิ น เ บิ ก เ กิ น บั ญ ชี ธ น า ค า ร
เงินกู้ยืมระยะสั้นหนี้สินระยะยาวที่ถึงกาหนดชาระภายใน1 ปี
- ห นี้ สิ น ไ ม่ ห มุ น เ วี ย น ( Non-Current Liabilities) คื อ
หนี้ สิ น ที่ มี ก าหนดนานกว่ า หนึ่ ง ปี ช าระคื น ได้ แ ก่ เงิ น กู้ ยื ม ระยะยาว
หรือหุ้นกู้
ส่ ว น ข อ ง เ จ้ า ข อ ง ( Owner’s Equity) ห ม า ย ถึ ง
ส่วนได้เสียของเจ้าของกิจการ เรียกอีกอย่างว่า “สินทรัพย์สุทธิ” เพราะ
คื อ ส่ ว น ไ ด้ เ สี ย ค ง เ ห ลื อ ใ น สิ น ท รั พ ย์ ข อ ง กิ จ ก า ร ห ลั ก หั ก
หนี้สินทั้งสิ้นออกแล้ว ประกอบด้วย2 ส่วน คือ
- ทุน (Capital) คือ เงินทุนที่เจ้าของลงไว้เป็นทุนของกิจการ
นายธีรนันท์ ฉุดกลาง ทบง. 64/2 เลขที่ 8 รหัส 076460304259 - 0
ก า ไ ร ส ะ ส ม ( Retain Earnings) คื อ
ผ ล ก า ไ ร จ า ก ก า ร ป ร ะ ก อ บ กิ จ ก า ร ที่ ส ะ ส ม ไ ว้ ใ น
กิจการยังไม่ได้แบ่งสันคืนเจ้าของ
งบกาไรขาดทุน (Income Statement)
- แสด งถึ ง ผลการ ด าเนิ น งานของกิ จ การ สาหรั บร อบปี ที่ ผ่ า นมา
(งบกาไรขาดทุน สาหรับปี…)
- แสดงเป็นรายได้หักลบด้วยค่าใช้จ่าย เป็นกาไรหรือขาดทุนสาหรับปี
- กาไร(ขาดทุน) = รายได้- ค่าใช้จ่าย
- กาไรหรือขาดทุน จะถูกสะสมไว้ใน”กาไรสะสม” ในส่วนของเจ้า ของ
จ น ก ว่ า กิ จ ก า ร จ ะ แ บ่ ง สั น ผ ล ก า ไ ร ใ ห้ แ ก่ เ จ้ า ข อ ง ห รื อ หุ้ น ส่ ว น
ในรูปของเงินปันผล
ร า ย ไ ด้ ( Revenues)
ห ม า ย ถึ ง
การเพิ่มขึ้นของประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในรอบระยะเวลาบัญชีในรูปกระ
แส เข้ า หรื อ การเพิ่ ม ค่ า ของสิ น ทรั พ ย์ หรื อ การลดลงของหนี้ สิ น า
(มีผลให้ส่วนของเจ้าของเพิ่มขึ้น)
ร า ย ไ ด้ แ บ่ ง เ ป็ น ห ล า ย ป ร ะ เ ภ ท
ไ ด้ แ ก่ ร า ย ไ ด้ จา ก ก า ร ข า ย สิ น ค้ าแ ล ะ ก าร ใ ห้ บ ริ ก า ร ร า ย ไ ด้ อื่ น
รายได้ดอกเบี้ยหรือรายได้ทางการเงิน
แ บ่ ง เ ป็ น ห ล า ย ป ร ะ เ ภ ท
เ พ ร า ะ
รายได้ แ ต่ ล ะประเภทมี คุ ณ ลั ก ษณะและความส าคั ญ ที่ แ ตกต่ า ง กั น
รายได้จากการประกอบธุรกิจหลักย่อมมีน้าหนักมากกว่ารายได้ที่เป็นเพี
ยงผลพลอยได้ ในการดาเนินธุรกิจ
ค่ า ใ ช้ จ่ า ย
( Expenses) ห ม า ย ถึ ง
การลดลงของประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในรอบบัญชีในรูปกระแสออกหรือ
ก า ร ล ด ค่ า ข อ ง สิ น ท รั พ ย์ ห รื อ ก า ร เ พิ่ ม ขึ้ น ข อ ง ห นี้ สิ น
(มีผลให้ส่วนของเจ้าของลดลง)
นายธีรนันท์ ฉุดกลาง ทบง. 64/2 เลขที่ 8 รหัส 076460304259 - 0
ค่ า ใ ช้ จ่ า ย แ บ่ ง เ ป็ น ห ล า ย ป ร ะ เ ภ ท
ไ ด้ ต้ น ทุ น ขาย และ ต้ น ทุ น ก าร ใ ห้ บริ การ ค่ า ใ ช้ จ่ า ย ใ นการ ข า ย
ค่าใช้จ่ายในการบริหาร ค่าเสื่อมราคา ดอกเบี้ยจ่าย และภาษีเงินได้
ค่าใช้จ่ายจะต้องถูกบันทึกในงวดเดียวกับรายได้ที่เกี่ยวข้องกับค่าใช้จ่า
ยนั้น ตามหลักการ จับคู่รายได้กับค่าใช้จ่าย (Matching Concept)
สมการบัญชี(Accounting Equation)
สินทรัพย์= หนี้สิน + ส่วนของเจ้าของ
สินทรัพย์= หนี้สิน + ทุน+ กาไรสะสม
สินทรัพย์= หนี้สิน + ทุน+ กาไรสะสมต้นงวด+ กาไรสุทธิสาหรับปี
– เงินปันผล
สินทรัพย์= หนี้สิน + ทุน+ กาไรสะสมต้นงวด+ รายได้ – ค่าใช้จ่าย
– เงินปันผล
ร า ย ก า ร บั ญ ชี ที่ เ กิ ด ขึ้ น ใ น ร ะ ห ว่ า ง ปี จ ะ เ กี่ ย ว ข้ อ ง กั บ บั ญ ชี 5
หมวดคือสินทรัพย์ หนี้สินรายได้ทุน และะค่าใช้จ่าย
Accrual Basis of Accounting (เ ก ณ ฑ์ ค ง ค้ า ง ) คื อ
เ ก ณ ฑ์ ก า ร จั ด ท า บั ญ ชี
ซึ่ ง จะรั บรู้ ร ายการ ร ายไ ด้ แ ล ะค่ าใ ช้ จ่ า ยเ มื่ อธุ ร กร ร มนั้ น เ กิ ด ขึ้ น
ไม่ใช้เมื่อมีการรับหรือจ่ายเงินสด
ง บ แ ส ด ง ฐ า น ะ ก า ร เ งิ น แ ล ะ ง บ ก า ไ ร ข า ด ทุ น
จ ะ ถู ก จั ด ท า ต า ม เ ก ณ ฑ์ ค ง ค้ า ง เ พื่ อ ใ ห้
สามารถวัดผลการดาเนินงานที่แท้จริงของกิจการ
Accrual Basis: ตัวอย่าง
กิ จ การขายสิ น ค้ า เป็ น เงิ น เชื่ อ (ส่ ง มอบสิ น ค้ า ให้ กั บ ลู ก ค้ า แล้ ว
แต่ยังไม่ได้รับชาระเงินจาก ลูกค้า เพราะให้เครดิตลูกค้า 1 เดือน)
นายธีรนันท์ ฉุดกลาง ทบง. 64/2 เลขที่ 8 รหัส 076460304259 - 0
กิจการมีรายได้จากการขาย แต่ยังไม่มีกระแสเงินสดไหลเข้า
Accrual Basis: ตัวอย่าง
กิ จ ก า ร ซื้ อ สิ น ท รั พ ย์ ม า โ ด ย สิ น ท รั พ ย์ มี อ า ยุ ก า ร ใ ช้ ง า น 5 ปี
กิ จ การมี ก ระแสเงิ น สดไหลออกเท่ า กั บ เงิ น ที่ จ่ า ยซื้ อ สิ น ทรั พ ย์ นั้ น ไป
แต่ จ ะ ค่ อ ยๆทยอยคิ ด ค่ า ใช้ จ่ า ยจากการใช้ สิ น ทรั พ ย์ นั้ น ตลอด 5 ปี
ตามที่ใช้งานจริง เพราะ กิจกรรมการใช้งานเกิดขึ้นตลอด 5 ปี
งบกระแสเงินสด
- แ ส ด ง ก า ร ไ ด้ ม า แ ล ะ ใ ช้ ไ ป ข อ ง เ งิ น ส ด ใ น ร อ บ ปี ที่ ผ่ า น ม า
(งบกระแสเงินสดสาหรับปี…)
- แยกแสดงการได้มาและใช้ไปของเงินสดออกเป็นสามกิจกรรม คือ
- กิจกรรมดาเนินงาน (Operating Activities)
- กิจกรรมลงทุน (Investing Activities)
- กิจกรรมจัดหาเงิน (Financing Activities)
- สรุปว่ากิจการมีเงินสดเพิ่มขึ้นหรือลดลงเท่าไรในรอบปีที่ผ่านมา
กิจกรรมการได้มาและใช้ไปของเงินสด
1 . กิ จ ก ร ร ม ด า เ นิ น ง า น ( Operating Activities) ไ ด้ แ ก่
ก ร ะ แ ส เ งิ น ส ด ที่ ไ ด้ จ า ก ก า ร ข า ย สิ น ค้ า หั ก
ล บ ด้ ว ย เ งิ น จ่ า ย เ ป็ น ค่ า ใ ช้ จ่ า ย ใ น ก า ร ด า เ นิ น ง า น เ ช่ น
จ่ า ยเจ้ า หนี้ พ นั ก งานค่ า สิ น ค้ า กระแสเงิ น สดส่ ว นนี้ เ ป็ น ตั ว บ่ ง ชี้ ที่
สาคัญถึงความสามารถของกิจการในการสร้างเงินสดจาก ธุรกิจ
2 . กิ จ ก ร ร ม ล ง ทุ น ( Investing Activities) ไ ด้ แ ก่
กระแสเงินสดที่นาไปใช้ลงทุนต่อยอดจ่ายซื้ออาคารร้านค้าและอุปกรณ์เ
ครื่องจักรเพื่อผลิตสินค้า
3 . กิ จ ก ร ร ม จั ด ห า เ งิ น ( Financing Activities) ไ ด้ แ ก่
ก ร ะ แ ส เ งิ น ส ด ที่ ไ ด้ จ า ก ( ห รื อ จ่ า ย ช า ร ะ คื น ) แ ห ล่ ง เ งิ น ทุ น เ ช่ น
เ งิ น ส ด รั บ จ า ก ก า ร กู้ ยื ม
นายธีรนันท์ ฉุดกลาง ทบง. 64/2 เลขที่ 8 รหัส 076460304259 - 0
เ งิ น ส ด จ่ า ย ช า ร ะ คื น เ งิ น กู้ จ า ก ก า ร อ อ ก หุ้ น เ งิ น ส ด รั บ ทุ น เ พิ่ ม
เงินสดจ่ายเป็นเงินปันผลให้
ความสัมพันธ์ของสามงบการเงิน
ง บ แ ส ด ง ฐ า น ะ ก า ร เ งิ น แ ส ด ง ฐ า น ะ ก า ร เ งิ น ณ
วั น สิ้ น ง ว ด ง บ ก า ไ ร ข า ด ทุ น แ ล ะ ง บ ก ร ะ แ ส เ งิ น ส ด
แสดงการเปลี่ยนแปลงในช่วงเวลาหนึ่งงวดบัญชีของรายการบัญชีสองร
า ย ก า ร ใ น ง บ แ ส ด ง ฐ า น ะ
ก า ร เ งิ น ง บ ก ร ะ แ ส เ งิ น ส ด อ ธิ บ า ย ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ข อ ง เ งิ น ส ด
แ ล ะ ง บ ก า ไ ร ข า ด ทุ น แ ส ด ง ก า ร
เปลี่ยนแปลงในส่วนของเจ้าของที่เกิดจากผลการดาเนินงานของกิจการ
Ratio Analysis
• Profitability ratios
ความสามารถในการทากาไร
• Efficiency ratios
ประสิทธิภาพในการใช้สินทรัพย์
• Liquidity ratios
สภาพคล่อง: ความสามารถในการชาระหนี้สินระยะสั้น
• Leverage ratios
โ ค ร ง ส ร้ า ง เ งิ น ทุ น : ค ว า ม เ สี่ ย ง
ความสามรถในการชาระคืนหนี้สินระยะยาว
Profitability Ratio : บอกความสามารถในการทากาไร
Gross Profit Margin = Gross Profit
Sales
Net Profit Margin = Net Profit
Sales
นายธีรนันท์ ฉุดกลาง ทบง. 64/2 เลขที่ 8 รหัส 076460304259 - 0
ROA (Return on assets) =
Net Profit
Total Assets
ROE (Return on equity) =
Net Profit
Total Equity
Efficiency Ratio : บอกประสิทธิภาพในการบริหารทรัพย์สิน
Total Asset Turnover
=
Sales
Total Assets
Liquidity Ratio : บอกสภาพคล่อง
Current ratio = Current Assets
Current Liabilities
Quick ratio = Current Assets - Inventory
Current Liabilities
Cash ratio = Cash + Cash equivalent
Current Liabilities
Efficiency Ratio : บอกประสิทธิภาพในการบราหารทรัพย์สิน
Account Receivable Turnover =
Sales
Accounts Receivable
Account Receivable Days (ระยะเวลาเก็ บ หนี้ ) = 365 / Account
Receivable Turnover
Inventory Turnover = Cost of Sales
Inventory
Inventory Days (ระยะเวลาขายสินค้า) = 365 / Inventory Turnover
นายธีรนันท์ ฉุดกลาง ทบง. 64/2 เลขที่ 8 รหัส 076460304259 - 0
Account Payable Turnover
=
Cost of Sales
Account Payable
Account payable Days (ระยะเวลาช าระเจ้ า หนี้ ) = 365 / Account
Payable Turnover
Leverage Ratio: บอกความเสี่ยงและโครงสร้างทุน
Debt to equity ratio = Total Liabilities
Total Equity
Debt to total asset ratio = Total Liabilities
Total Assets
Interest coverage ratio = Income before Interest
Interest Expenses
Costing
Cost is the amount of resources, usually measured in
monetary terms, sacrificed to achieve a particular objective.
• Variable Costs (ต้ น ทุ น ผั น แปร) : Fixed per unit produced,
or sold.
• Fixed Costs (ต้นทุนคงที่) : Fixed per time unit.
• Investment (เ งิ น ล ง ทุ น ) : One time spending for capital
expenditure
Download