สมุนไพรที่ทำให้เกิดความเป็นพิษต่อตับ

advertisement
Safety Evaluation of
Natural Ingredients
ภญ.ดร.วีณา นุกลู การ
ภาควิชาเภสัชวินิจฉัย คณะเภสัชศาสตร์
มหาวิทยาลัยมหิดล
การประชุมวิชาการ
ต่อยอดภูมิปัญญา พัฒนางานวิจยั ประยุกต์ใช้สมุนไพรในเวชสาอาง
2 เมษายน 2553
Introduction
 The WHO defines an herb as being fresh or dried,
fragmented or powdered plant material, which can be
used in this crude state or further processed and
formulated to become the final herbal product.
 Treatment of herbs by squeezing, steaming, roasting,
decocting or infusing in water, extracting with alcohol
 ‘‘herbal products’’ such as juices, tinctures, decoctions,
infusions, gums, fixed oils, essential oils, and resins.
2
Introduction
 Phytotherapeutic formulations : drugs, botanicals,
dietary supplements, food ingredients
 Standardization: particular ingredients in amounts
consistent with the bioreactivity of certain of their
chemotaxonomic markers
 herbal products which are usually clinically validated:
phytopharmaceuticals or botanical drugs
3
Introduction
 ASEAN Harmonization
 Harmonizing “Standard & Requirement”
 Free Trade Area (FTA), AFTA
4
Introduction
 WHO: Guidelines for the Regulation of Herbal Medicines in the
South-East Asia Region
 Classified into 4 groups
◦ Category 1: Indigenous herbal medicines
◦ Category 2: Herbal medicines in systems
◦ Category 3: Modified herbal medicines
◦ Category 4: Imported products with a herbal medicine base
5
Minimum requirements for assessment
of safety of herbal medicines
 Safety category
◦ Category 1: safety established by use over long time
◦ Category 2: safe under specific conditions of use (such herbal
medicines should preferably be covered by well-established
documentation)
◦ Category 3: herbal medicines of uncertain safety (the safety data
required for this class of drugs will be identical to that of any new
substance)
6
Minimum requirements for assessment
of safety of herbal medicines
 Data will be required on the following:
◦ Acute toxicity
◦ Long-term toxicity
 Data may also be necessary on the following:
◦ Organ-targeted toxicity
◦ Immunotoxicity
◦ Embryo/fetal and prenatal toxicity
◦ Mutagenicity/genotoxicity
◦ Carcinogenicity
7
Specific requirements for assessment of
safety of 4 categories of herbal medicines
 Category 1: Indigenous herbal medicines
◦ used freely by the local community or region
◦ no safety data would be required
 Category 2: Herbal medicines in systems
◦ have been used for a long time and have been officially documented
◦ Review of the safety category is necessary.
8
Specific requirements for assessment of
safety of 4 categories of herbal medicines
 Category 3: Modified herbal medicines
◦ have to meet the requirements of safety of herbal medicines or
requirements for the safety of ‘herbal medicines of uncertain safety’,
depending on the modification.
 Category 4. Imported/exported products with a herbal
medicine
◦ shall require safety data
◦ depending on the safety requirement of the importing/recipient
countries.
9
GUIDANCE FOR TESTING OF COSMETIC INGREDIENTS
FOR THEIR SAFETY EVALUATION

THE SCIENTIFIC COMMITTEE ON COSMETIC PRODUCTS AND NONFOOD PRODUCTS INTENDED FOR CONSUMERS (SCCNFP)

1. Class of cosmetic product(s) in which the ingredient may be used.
2. Method of application: rubbed-on, sprayed, applied and washed off,
etc.
3. Concentration of ingredients in product.
4. Quantity of product used at each application.
5. Frequency of application.




10
GUIDANCE FOR TESTING OF COSMETIC INGREDIENTS
FOR THEIR SAFETY EVALUATION








6. Total area of skin contact.
7. Site of contact (e.g., mucous membrane, sunburnt skin).
8. Duration of contact (e.g., rinse-off products)
9. Foreseeable misuse which may increase exposure.
10. Nature of consumers (e.g., children, people with sensitive skin).
11. Quantity likely to enter the body.
12. Projected number of consumers.
13. Application on skin areas exposed to sunlight.
11
GENERAL TOXICOLOGICAL REQUIREMENTS FOR
COSMETIC INGREDIENTS










Acute toxicity
Skin absorption
Skin irritation
Mucous membrane irritation
Skin sensitisation
Sub-chronic toxicity
Mutagenicity
Phototoxicity and Photomutagenicity (in case of UV-light absorbing
substances)
Human data (if available)
12
GENERAL TOXICOLOGICAL REQUIREMENTS FOR
COSMETIC INGREDIENTS
Toxicokinetics
 Teratogenicity, Reproduction toxicity, Carcinogenicity, and
 additional Genotoxicity
 Metabolism studies

13
Harmfulness of medicinal plants
อันตรายจากการใช้สมุนไพรอาจจาแนกเป็ น 7 กลุ่ม







สมุนไพรทีท่ าให้เกิดการแพ้ (Allergic reactions)
สมุนไพรทีท่ าให้เกิดความเป็ นพิษต่อตับและไต (hepatotoxicity และ renal
toxicity)
สมุนไพรทีท่ าให้เกิดอาการไม่พงึ ประสงค์ซง่ึ สัมพันธ์กบั ฤทธิ ์ทางเภสัชวิทยาที่
ต้องการ
สมุนไพรทีอ่ าจก่อให้เกิดการกลายพันธุ์ (Mutagenic effects)
การใช้สมุนไพรผิดชนิด (Mistaken plants)
การปนเปื้อนในสมุนไพร (Contaminations)
สมุนไพรทีม่ กี ารปลอมปน (Adulterants)
14
สมุนไพรที่ทาให้เกิดการแพ้ (Allergic reactions)
นมผึง้ (Royal jelly)
ผลิตจากต่อม hypopharyngeal ของผึง้ งานสาหรับเลีย้ งตัวอ่อนในช่วง 3 วันแรก
 ลักษณะเป็ นครีมสีขาว ข้น มีรสเผ็ดเล็กน้อย
 สารสาคัญเป็ นกลุม
่ วิตามินบีรวม กรดไขมัน HDA ฮอร์โมนเพศ โปรตีน
 ใช้เป็ นยาบารุงร่างกาย ส่วนผสมในเครือ่ งสาอาง


อาการไม่พงึ ประสงค์จากนมผึง้
◦ ปี 1993 ในประเทศออสเตรเลีย พบผูป้ ว่ ย 7 คน เกิดปฏิกริ ยิ าตอบสนองไว
เกิน มีอาการหืด หลอดเลือดบวม ความดันโลหิตต่า
Allergy 1996; 51: 440.15
สมุนไพรที่ทาให้เกิดการแพ้ (Allergic reactions)
นมผึง้ (Royal jelly)

อาการไม่พงึ ประสงค์จากนมผึง้
◦ ปี 1994 เด็กหญิงอายุ 11 ปี เสียชีวติ ด้วยอาการหืด หลังได้รบั นมผึง้ 500
มก. เพือ่ รักษาต่อมทอนซิลอักเสบ
Med J Aust 1994; 460: 44.
◦ ปี 1996 พบ 3 รายในประเทศสเปนเกิดอาการหลอดลมหดเกร็ง
Allergy 1996; 51: 440
◦ ปี 1996 WHO ได้รบั รายงานพบผูป้ ว่ ยอาการหืดจากการได้รบั นมผึง้ 15 ราย
◦ นอกจากนี้ในบางผลิตภัณฑ์มกี ารปนเปื้อนของโลหะหนักและสารเคมีทใ่ี ช้ใน
ยาฆ่าแมลง การปนเปื้อนในเกสรผึง้ ส่วนอื่นๆของพืช
16
สมุนไพรที่ทาให้เกิดการแพ้ (Allergic reactions)
ฟ้ าทะลายโจร (Andrographis paniculata (burm.f.)nees.)
วงศ์ Acanthaceae
 ข้อบ่งใช้ – บรรเทาอาการท้องเสียไม่ตดิ เชือ้ บรรเทาอาการเจ็บคอ บรรเทาอาการ
ของโรคหวัด เช่น เจ็บคอ อ่อนเพลีย ปวดเมือ่ ยกล้ามเนื้อ น้ามูกไหล เป็ นต้น
 ข้อควรระวัง
◦ อาจทาให้เกิดอาการแพ้ตงั ้ แต่อาการผื่นคัน ลมพิษ จนถึงอาการแพ้ขนั ้ รุนแรง
แบบ anaphylactic shock ถ้าให้โดยการฉีดหรือในขนาดสูง

17
http://en.wikipedia.org/wiki/File:Andrographis-paniculata.jpg
สมุนไพรที่ทาให้เกิดความเป็ นพิษต่อตับ (Hepatotoxicity)
ขีเ้ หล็ก (Cassia siamea)
วงศ์ Fabaceae (Leguminosae)
 ข้อบ่งใช้ – มีฤทธิ ์กระตุน
้ การเคลื่อนไหวของลาไส้ และฤทธิ ์ยาถ่าย
 สารสาคัญ- anthraquinone
 หลักฐานความเป็ นพิษและการทดสอบความเป็ นพิษ

◦ การทดสอบความเป็ นพิษ - พิษเฉียบพลันของสารสกัดจากใบขีเ้ หล็ก โดยป้อนและฉีด
สารสกัดเข้าใต้ผวิ หนังของหนูถบี จักรในขนาดต่างๆ กัน พบว่าสารสกัดจากใบขีเ้ หล็ก
ขนาด 10 ก./กก. ไม่ก่อให้เกิดความเป็ นพิษในสัตว์ทดลอง ไม่วา่ จะให้โดยวิธกี ารป้อนหรือ
ฉีดเข้าใต้ผวิ หนัง
Bull Dep Med Sci, Thailand 1971; 12(2): 36-65.
18
สมุนไพรที่ทาให้เกิดความเป็ นพิษต่อตับ (Hepatotoxicity)
ขีเ้ หล็ก (Cassia siamea)

หลักฐานความเป็ นพิษและการทดสอบความเป็ นพิษ
◦ การทดสอบความเป็ นพิษ - เมือ่ ฉีดสารสกัดใบขีเ้ หล็กด้วยน้าและแอลกอฮอล์ (1:1) แก่
หนูตวั เมีย พบว่าขนาดทีท่ าให้หนูตายครึง่ หนึ่งคือ 1 ก./กก.
Proceeding of Siriraj Symposium, Thailand, 1950: 275-281.
◦ พิษต่อตับ - ผูป้ ว่ ยอย่างน้อย 9 รายในปี พ.ศ. 2542 มีภาวะตับอักเสบ โดยความสัมพันธ์
ของภาวะตับอักเสบจากยากับยาขีเ้ หล็กจัดอยูใ่ นระดับความสัมพันธ์ตงั ้ แต่ขนเป็
ั ้ นไปได้
(probable) จนถึงขันแน่
้ นอน (definite) ตามเกณฑ์มาตรฐานการวินิจฉัย หรือ DILI scale
(drug induced liver injury scale)
◦ มีผปู้ ว่ ยอย่างน้อย 2 ราย ได้ทดลองกินยาขีเ้ หล็กซ้าใหม่หลังภาวะตับอักเสบเฉียบพลันดี
ขึน้ แล้ว พบว่าเกิดอาการของตับอักเสบซ้าอีก
19
สมุนไพรที่ทาให้เกิดความเป็ นพิษต่อตับ (Hepatotoxicity)
ขีเ้ หล็ก (Cassia siamea)

หลักฐานความเป็ นพิษและการทดสอบความเป็ นพิษ
◦ พิษต่อตับ - มีการทดสอบพิษต่อตับของบาราคอลซึง่ เป็ นสารสาคัญทีส่ กัดจากใบอ่อนของ
ต้นขีเ้ หล็ก พบว่าบาราคอลและอะเซตามิโนเฟน มีผลเป็ นพิษต่อตับ โดยขึน้ กับขนาดและ
เวลาทีไ่ ด้รบั สารบาราคอลมีพษิ ต่อตับอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ (P<0.05) และเมือ่
เปรียบเทียบพิษต่อเซลล์ระหว่างบาราคอลและอะเซตามิโนเฟน ทีค่ วามเข้มข้น 1 มิลลิโม
ลาร์ พบว่าบาราคอลมีพษิ ต่อเซลล์มากกว่าอะเซตามิโนเฟน อย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ
(P<0.05) ทีเ่ วลาต่างๆ กันของการสัมผัส
ไทยเภสัชสาร 2544;25(3-4):149-59.
Barakol
20
สมุนไพรที่ทาให้เกิดความเป็ นพิษต่อตับ (Hepatotoxicity)
ขีเ้ หล็ก (Cassia siamea)

หลักฐานความเป็ นพิษและการทดสอบความเป็ นพิษ
◦ พิษต่อตับ – การศึกษาพิษเรือ้ รังของใบขีเ้ หล็ก
◦ การศึกษาเนื้อเยือ่ ทางจุลพยาธิวทิ ยาของตับ แสดงให้เห็นว่า ใบขีเ้ หล็กมีพษิ ต่อตับอย่าง
เห็นได้ชดั ในกลุ่มทีไ่ ด้รบั ใบขีเ้ หล็กขนาด 2,000 มก./กก. โดยทาให้เซลล์ตบั ของหนูขาว
เสือ่ มและมีการตาย (degeneration and necrosis) และความรุนแรงของพยาธิสภาพนี้ม ี
แนวโน้มเพิม่ ขึน้ ตามขนาดของใบขีเ้ หล็กทีไ่ ด้รบั
สานักงานข้อมูลสมุนไพร คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
◦ สานักงานคณะกรรมการอาหารและยามีมติให้ระงับการผลิตและเก็บยาสมุนไพรขีเ้ หล็กซึง่
เป็ นสูตรยาเดีย่ วออกจากตลาด
21
สมุนไพรที่ทาให้เกิดความเป็ นพิษต่อไต ( Nephrotoxicity)
Aristolochic acid
ผลิตภัณฑ์ลดน้าหนักจากหลายประเทศ ระบุบนฉลากว่าผลิตจากสมุนไพรชื่อ
Stephania tetrandra แต่จากการพิสจู น์เอกลักษณ์พบว่ามีสว่ นการใช้
Aristolochia fangchi ผสมอยู่
 มี aristolochic acid เป็ นสารสาคัญ
 สาเหตุการเกิดความผิดปกติทไ่ี ต โดยพบว่าเนื้อไตมีสภาพเป็ นผังผืด บางรายเกิด
ภาวะไตวายในระยะสุดท้าย
 USFDA ได้มจี ดหมายถึงภาคอุตสาหกรรมทีเ่ ป็ นผูผ
้ ลิตผลิตภัณฑ์เสริมสุขภาพ
โดยได้กล่าวถึงสาร aristolochic acid เป็ นสารทีก่ ่อมะเร็งและมีพษิ ต่อไตอย่างแรง
สารนี้มใี นพืชทีอ่ ยูใ่ นวงศ์ Aristolochiaceae และมี aristolochic acid อย่างน้อย 14
ชนิดทีเ่ ป็ นทีร่ จู้ กั กัน และมีรายงานค่อนข้างมากถึงภาวะไตเสือ่ มอย่างรุนแรงใน
ผูบ้ ริโภคผลิตภัณฑ์ทม่ี สี ารนี้ผสมอยู่

22
สมุนไพรที่ทาให้เกิดความเป็ นพิษต่อไต ( Nephrotoxicity)
Aristolochic acid

เยอรมัน ญีป่ นุ่ มาเลเซีย นิวซีแลนด์ สหราชอาณาจักร และสหรัฐอเมริกา ออก
ประกาศเตือนอันตรายจากการใช้สมุนไพรทีท่ ราบว่า ประกอบด้วยหรืออาจเจือปน
กรด aristolochic เช่นพืชในวงศ์ Aristolochia และ Asarum รวมทัง้ ขอความ
ร่วมมือจากผูผ้ ลิตให้ทาการตรวจสอบผลิตภัณฑ์จากสมุนไพรว่าปนเปื้ อนกรด
aristolochic หรือไม่
23
สมุนไพรที่มีผลต่อระบบประสาท
อาการไม่พงึ ประสงค์ทอ่ี าจเกิดขึน้ เช่น อาการตื่นเต้น ซึมเศร้า งางซึม อ่อนเปลีย้
ประสาทหลอน ปวดศีรษะ นอนไม่หลับ ฝนั ร้าย ปวดหู มึนงง เป็ นต้น
Ma huang





Ephedra spp. วงศ์ Ephedraceae
ปลูกแถบประเทศจีนและเทือกเขาหิมาลัย แต่พบได้บา้ งทีอ่ เมริกาแถบตะวันตก
เฉียงใต้ ยุโรปและออสเตรเลีย
มีหลายชนิด เช่น E. alata, E. altissima, E. andina, E. intermedia, E.
torreyana, E. vulgaris เป็ นต้น
ชาวจีนใช้มากว่า 5000 ปี เป็ นยาแก้ไอ แก้หอบหืด
มีการนามาใช้เป็ นยากระตุน้ ทาให้ทางานได้มากขึน้ ยาลดความอ้วน ยาสร้าง
กล้ามเนื้อในนักกีฬา
24
สมุนไพรที่มีผลต่อระบบประสาท
Ma huang
การใช้ตามภูมปิ ญั ญาในประเทศจีนและประเทศทางตะวันออกกลางมีการใช้ E.
sinensis และ E. gerardiana แก้หอบหืด หวัด ไอ ท้องเสีย ไข้ ปวดศีรษะ
มาลาเรีย ปวดข้อ โดยใช้ในรูปยาตารับ ได้แก่ ตารับหมาหวงทัง (หมาหวง กิง่
อบเชยจีน ซิง่ เหริน ชะเอมเทศผัดน้าผึง้ ) ตารับยาเสีย่ วชิงหลงทัง (หมาหวง กิง่
ั ้ ย่ ชะเอมเทศผัดน้าผึง้ )
อบเชยจีน ขิงแห้ง ซีซ่ นิ ไป๋เสา อู่เว่ยจ์ ่อื ปนเซี
 ไม่ให้ใช้ตดิ ต่อกันเป็ นเวลานาน ห้ามใช้ในผูป
้ ว่ ยทีอ่ ่อนแอหรือมีเลือดออกจากจมูก
ง่าย
 ประเทศสหรัฐอเมริกา ใช้ E. nevadensis ไม่ม ี ephedrine แต่ม ี
pseudoephedrine แทน ใช้ในรูปแบบชาชง (Mormon tea)
เป็ นยาแก้ไอ ยากระตุน้ และแก้ไข้ แทนกาแฟและชา

25
สมุนไพรที่มีผลต่อระบบประสาท
Ma huang
Ephedrine
Pseudoephedrine
 ฤทธิ ์ทางเภสัชวิทยาของสมุนไพร Ma huang – ทาให้น้ าหนักตัวลดลง มีฤทธิ ์
ขยายหลอดลม รักษาอาการหอบหืด ทาให้ความดันโลหิตสูงขึน้
 การศึกษาความเป็ นพิษ
◦ ความเป็ นพิษเฉียบพลัน – ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารทีม่ หี มาหวงและกัวรานาใน
ปริมาณน้อยทีส่ ดุ ทีท่ าให้สนุ ขั ตายคือ 19.1 มก.ของกัวรานา/กก. น้าหนัก และ
5.8 มก.ของหมาหวง/กก. น้าหนัก
จุลสารข้อมูลสมุนไพร 2550, 24, 12.
26
สมุนไพรที่มีผลต่อระบบประสาท
Ma huang
การศึกษาความเป็ นพิษ
◦ ความเป็ นพิษเรือ้ รัง – สาร ephedrine ทาให้น้าหนักลด นอนไม่หลับและมี
อาการเหมือนสาร amphetamine คือ ความดันโลหิตสูง ปากแห้ง หัวใจเต้น
เร็วผิดปกติ วิตกกังวล ถ้าใช้เป็ นเวลานานจะทาให้กล้ามเนื้อหัวใจตาย
จุลสารข้อมูลสมุนไพร 2550, 24, 12.
◦ อาการไม่พงึ ประสงค์ – มีผลต่อจิตประสาท หัวใจและหลอดเลือด ต่อมไร้ทอ่
ต่อไต เกิดนิ่วทีไ่ ต ต่อระบบกล้ามเนื้อ
◦ ปี 1997 มีรายงานผลข้างเคียง 800 ราย และเสียชีวติ มากกว่า 22 ราย
◦ ปี 2003 มีรายงานผลข้างเคียง 926 ราย และมีผเู้ สียชีวติ ทันทีจากหัวใจขาด
เลือด
27
สมุนไพรที่มีผลต่อระบบหัวใจและหลอดเลือด
อาการไม่พงึ ประสงค์ทอ่ี าจเกิดขึน้ เช่น เจ็บหน้าอก หัวใจเต้นผิดจังหวะ ความดัน
โลหิตสูง หมดสติ ชีพจรเต้นเร็ว เป็ นต้น
ชะเอมเทศ (Glycyrrhiza glabra L.)
วงศ์ Fabaceae (Leguminosae)
 glycyrrhizin ซึง่ เป็ นไทรเทอร์ปีนสารผสมเกลือโพแทสเซียมและเกลือแคลเซียม
ของกรด glycyrrhizic acid มีรสหวานมากกว่าซูโครส 50-150 เท่า ส่วนอกลัยโคน
คือ glycyrrhetic acid มีคุณสมบัตใิ นการต้านอักเสบ

D-glucuronic acid
Glycyrrhetic acid
28
สมุนไพรที่มีผลต่อระบบหัวใจและหลอดเลือด
ชะเอมเทศ (Glycyrrhiza glabra L.)

การทดสอบความเป็ นพิษ
◦ เมือ่ นาสารสกัดน้าจากรากชะเอมเทศ ไปใช้เป็ นยาระบายในคน พบ 5 ราย เกิดเป็ นพิษ
โดยมีอาการความดันโลหิตสูง โดยระดับโพแทสเซียมไอออนเพิม่ พลาสมาเรนินและระดับ
aldosterone ลดลง
J Endocrinol Invest 1990;13(10):847-8.
◦ คนทีร่ บั ประทานสารสกัดน้าจากรากไม่ระบุขนาด พบว่ามีอาการความดันโลหิตสูง กระดูก
จมูก ขากรรไกร นิ้วมือนิ้วเท้าโตกว่าปกติ (acromegaly) และมีอาการบวมน้าร่วมด้วย
Hypertens Physiopathol Treat 1977;1977:755.
◦ ชายอายุ 15 ปี รับประทานรากชะเอมเทศขนาด 100-200 ก./วัน มีอาการกล้ามเนื้อไม่ม ี
แรง
29
Ultrastruct Pathol 1992;16(5):529-35.
สมุนไพรที่มีผลต่อระบบอื่นๆ

ฤทธิ ์ต่อระบบทางเดินอาหาร เช่น นมผึง้ ทาให้ลาไส้ใหญ่อกั เสบและมีเลือดออก
เพชรสังฆาต ทาให้เกิดอาการระคายเคืองทางเดินอาหาร คลื่นไส้ จุกเสียด แน่น
ท้อง เป็ นต้น

สมุนไพรทีม่ ผี ลต่อระบบโลหิต เช่น แปะก้วย ทาให้เกิดอาการเลือดออก
(spontaneous bleeding)

สมุนไพรทีอ่ าจก่อให้เกิดการกลายพันธุ์ เช่น Aristolochia fangchi เพิม่ ความเสีย่ ง
ในการเกิด urothelial tract tumors
30
ปฏิกิริยาสัมพันธ์ระหว่างสมุนไพรกับยา
Pharmacokinetic interaction
 Pharmacodynamic interaction

Pharmacokinetic Interaction
 เป็ นการเปลีย่ นแปลงทาง bioavailability ซึง่ เป็ นผลมาจากการเปลีย่ นแปลง
absorption, distribution, metabolism, elimination
 การดูดซึม Absorption
◦ การจับกันระหว่างยากับสมุนไพรทาให้อยูใ่ นรูปสารประกอบทีไ่ ม่ละลาย มีขนาดใหญ่ ไม่
สามารถผ่านผนังลาไส้เข้าไปได้ เช่น psyllium กับ lithium
◦ การเปลีย่ นแปลง pH ของกระเพาะอาหาร
◦ ยาทีม่ ผี ลต่อการบีบตัวของทางเดินอาหาร
31
ปฏิกิริยาสัมพันธ์ระหว่างสมุนไพรกับยา
Pharmacokinetic Interaction
 การกระจายยาหรือสมุนไพร Distribution

◦ เกีย่ วข้องกับการจับกับ protein binding site เดียวกัน
◦ ยาทีม่ ี therapeutic index แคบและมีการจับกับ protein binding สูง
◦ เช่น warfarin เกิดปฏิกริ ยิ ากับยา สมุนไพร วิตามิน และอาหารหลายชนิด

Metabolism
◦ Enzyme induction
◦ Enzyme Inhibition
◦ Cytochrome P450 สมุนไพรทีม่ ผี ลต่อ CYP3A4 เช่น grapefruit มีผลยับยัง้ CYP3A4
มีผลต่อระดับยา เช่น omeprazole
◦ St. John’s Wort มีผลกระตุน้ CYP3A4 มีผลต่อระดับยา เช่น cyclosporin
32
ปฏิกิริยาสัมพันธ์ระหว่างสมุนไพรกับยา
Pharmacokinetic Interaction
 Elimination


Pharmocodynamic interaction
◦ เป็ นการเปลีย่ นแปลงของ bioavailability ของสิง่ ทีร่ า่ งกายรับเข้าไปว่ามีผลในการเสริมฤทธิ ์
หรือหักล้างกัน
◦ คาดการณ์ยาก การป้องกันทีด่ ที ส่ี ดุ คือ การติดตามอาการ สังเกตอาการ
Additive effect เช่น การใช้ยาต้านการแข็งตัวของเลือดร่วมกับสมุนไพรพวก
แปะก๊วย กระเทียม คาโมไมล์ หรือการใช้ยาต้านอาการซึมเศร้าร่วมกับ St John’s
Wort อาจทาให้เกิด serotonin syndrome ผูปว่ ยจะมีอาการสับสน กระสับกระส่าย
การตอบสนองไวกว่าปกติ กล้ามเนื้อไม่ประสานกัน
 Antagonist effect เช่น การใช้ชะเอมเทศกับยาลดความดันโลหิต

33
สมุนไพรที่มีการปนเปื้ อนและปลอมปน
โลหะหนัก จุลนิ ทรีย์ สารทีม่ ฤี ทธิ ์ทางเภสัชวิทยา
 มีการปลอมปนของสารทีม
่ ฤี ทธิ ์ทางเภสัชวิทยา เช่น ยากลุม่ สเตียรอยด์ ยาแก้ปวด
ลดไข้ ยาขยายหลอดลม
 ปลอมปนด้วยสมุนไพรทีม
่ ลี กั ษณะคล้ายกัน ซึง่ หาได้งา่ ยกว่า ถูกกว่าแต่
ประสิทธิภาพแตกต่างกัน

34
สมุนไพรที่มีการปนเปื้ อนและปลอมปน
35
ADVANCES IN FOOD AND NUTRITION RESEARCH VOL 50
สมุนไพรที่มีการปนเปื้ อนและปลอมปน
36
Methods to evaluate the safety
 Quality Control
◦ ข้อกาหนดทัวไปในการควบคุ
่
มคุณภาพของเครือ่ งยาสมุนไพร
 ชือ่ สมุนไพร
 แหล่งกาเนิด
 ลักษณะตัวอย่าง
 ปริมาณสารสาคัญหรือสารบ่งชี้
 สิง่ แปลกปลอม
 ปริมาณเถ้ารวม
 ปริมาณเถ้าทีไ่ ม่ละลายในกรด
 ปริมาณเถ้าทีล่ ะลายได้ในน้ า
 ปริมาณความชืน้
 ปริมาณของสารสกัด
37
Methods to evaluate the safety
 Quality Control
◦ ข้อกาหนดทัวไปในการควบคุ
่
มคุณภาพของเครือ่ งยาสมุนไพร
 การปนเปื้อนเชือ้ จุลชีพ
 การปนเอนโลหะหนัก
 การปนเปื้อนสารกาจัดศัตรูพชื
 Experimental, pharmacological and toxicological data
 Human Stdies
38
การศึกษาวิจยั ทางพิษวิทยาของสมุนไพรหรือสารสกัดสมุนไพร
สถาบันวิจยั สมุนไพร กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
 การศึกษาพิษเฉี ยบพลัน – สังเกตอาการเป็ นพิษทีแ่ สดงออกเมือ่ สัตว์ทดลอง
ได้รบั สมุนไพรหรือสารทีท่ ดสอบจานวน 1 ครัง้ หรือมากกว่า ภายในระยะเวลา 24
ชัวโมง
่
 การทดสอบในหนูนน
ั ้ จะใช้กลุม่ ละ 5 ตัวต่อเพศ โดยจะให้มจี านวนกลุ่มเพียง
พอทีจ่ ะหาขนาดทีท่ าให้ตายครึง่ หนึ่ง (LD50)
 หลังจากให้ยา เฝ้าสังเกตอาการพิษต่างๆ เป็ นช่วงระยะเวลา โดยติดตามดูจนครบ
7 วัน หรือ 14 วัน หนูทต่ี ายระหว่างการทดลองหรืออยูร่ อดจนครบกาหนดจะต้อง
ถูกผ่าซากชันสูตรเพือ่ หาความผิดปกติของอวัยวะภายใน ถ้าพบการเปลี่ยนแปลง
ทีม่ องเห็นได้ดว้ ยตาเปล่าก็ควรทีจ่ ะมีการตรวจหาความผิดปกติทางจุลพยาธิวทิ ยา
เพิม่ เติมซึง่ จะทาให้ทราบถึงอวัยวะเป้าหมายของการเกิดพิษได้
39
การศึกษาวิจยั ทางพิษวิทยาของสมุนไพรหรือสารสกัดสมุนไพร
สถาบันวิจยั สมุนไพร กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
 การศึกษาพิษเรือ
้ รัง (Long-term toxicity test) ของยาสมุนไพรนัน้ ระยะเวลาที่
ให้ยาแก่สตั ว์ทดลองขึน้ อยูก่ บั ระยะเวลาของการใช้ยาในทางคลินิก
 เกณฑ์ของระยะเวลาทีใ่ ช้ในการศึกษาพิษนี้กย็ งั แตกต่างกันไปในแต่ละประเทศ
 นาไปสูก
่ ารประเมินความเสีย่ งต่อสุขภาพของคน (Human risk assessment) โดย
ทาให้ทราบถึงขนาดของยาหรือสารทีไ่ ม่ทาให้เกิดผลอันไม่พงึ ปรารถนา หรือ
หมายถึงขนาดสูงสุดของยาทีใ่ ห้แล้วไม่ทาให้เกิดความเปลีย่ นแปลงที่แตกต่าง
อย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ ทีเ่ รียกว่า NOAEL (no–observed-adverse-effectlevel)
40
การศึกษาวิจยั ทางพิษวิทยาของสมุนไพรหรือสารสกัดสมุนไพร
สถาบันวิจยั สมุนไพร กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
 การศึกษาพิษเรือ
้ รัง (Long-term toxicity test) ของยาสมุนไพรนัน้ ระยะเวลาที่
ให้ยาแก่สตั ว์ทดลองขึน้ อยูก่ บั ระยะเวลาของการใช้ยาในทางคลินิก

เกณฑ์ของระยะเวลาทีใ่ ช้ในการศึกษาพิษนี้กย็ งั แตกต่างกันไปในแต่ละประเทศ

นาไปสูก่ ารประเมินความเสีย่ งต่อสุขภาพของคน (Human risk assessment) โดย
ทาให้ทราบถึงขนาดของยาหรือสารทีไ่ ม่ทาให้เกิดผลอันไม่พงึ ปรารถนา หรือ
หมายถึงขนาดสูงสุดของยาทีใ่ ห้แล้วไม่ทาให้เกิดความเปลีย่ นแปลงที่แตกต่าง
อย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ ทีเ่ รียกว่า NOAEL (no–observed-adverse-effectlevel)
41
การศึกษาความเป็ นพิษเฉียบพลันและพิษเรื้อรังของผงกระชายดา
กระชายดา
 ขนาดของผงกระชายดาทีท
่ าให้สตั ว์ทดลองตายครึง่ หนึ่ง(LD50) มีคา่ มากกว่า
13.33 กรัม/กิโลกรัมและไม่พบการเปลีย่ นแปลงทางจุลพยาธิวทิ ยาทีผ่ ดิ ปกติใดๆ
ของอวัยวะภายใน
 การศึกษาพิษเรือ้ รังระยะเวลา 6 เดือน ในหนูแรทพันธุว์ สิ ตาร์ 6 กลุม
่ ๆ ละ 30 ตัว
ประกอบด้วยกลุ่มที่ 1 เป็ นกลุ่มควบคุมด้วยน้า กลุ่ม 2 ถึง 5 เป็ นกลุ่มทดลองที่
ได้รบั ผงกระชายดาทางปากในขนาด 20, 200, 1000 และ 2000 มก./กก./วัน และ
กลุม่ ที่ 6 เป็ นกลุม่ ศึกษา Recovery ทีข่ นาด 2000 มก./กก/วันแล้วหยุดยา 2
สัปดาห์ ผลการทดลองพบว่า หนูทไ่ี ด้รบั กระชายดาทุกกลุม่ มีน้าหนักตัวทีเ่ พิม่ ขึน้
อาการ และ สุขภาพ ไม่แตกต่างจากกลุม่ ควบคุม
 ผลการตรวจอวัยวะทางจุลพยาธิวท
ิ ยานัน้ ไม่พบการเปลีย่ นแปลงทีบ่ ่งชี้วา่ เกิดจาก
ความเป็ นพิษของกระชายดา
42
วารสารการแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก 2547
การศึกษาความเป็ นพิษเรื้อรังของกวาวเครือขาว
กวาวเครือขาว
 ทาการศึกษาพิษเรือ้ รังของหัวกวาวเครือขาวในหนูขาวพันธุว์ สิ ตาร์เป็ นระยะเวลา
6 เดือน โดยป้อนผงกวาวเครือขาวแขวนตะกอนในน้ าแก่หนูขาวในขนาด 10, 50,
และ 250 มก./กก./วัน ทุกวันเปรียบเทียบกับกลุ่มควบคุมทีไ่ ด้รบั น้า 10 มล./กก/
วัน เป็ นเวลานาน 6 เดือน

หนูเพศผูแ้ ละเพศเมียทีไ่ ด้รบั กวาวเครือขาวขนาด 50 และ 250 มก./กก./วัน มี
น้าหนักตัวต่ากว่ากลุม่ ควบคุมอย่างมีนยั สาคัญ

หนูทไ่ี ด้รบั กวาวเครือขาวขนาด 250 มก./กก./วัน บางตัวมีอาการขนร่วงนาน
ประมาณ 2 สัปดาห์ต่อมาจะดีขน้ึ จนปกติ
43
การศึกษาความเป็ นพิษเรื้อรังของกวาวเครือขาว
กวาวเครือขาว
 ผลการตรวจเนื้อเยือ่ อวัยวะทางจุลพยาธิวท
ิ ยาไม่พบการเปลีย่ นแปลงของอวัยวะ
ภายในต่างๆ ทีม่ คี วามสัมพันธ์กบั ความเป็ นพิษของกวาวเครือขาวยกเว้นไตของ
หนูเพศผูท้ ไ่ี ด้รบั กวาวเครือขนาดสูงมีอตั ราการเกิด tubular cyst เพิม่ ขีน้ อย่างมี
นัยสาคัญ

สรุปได้วา่ เมือ่ ให้กวาวเครือขาวขนาด 10 มก./กก. นานติดต่อกัน 6 เดือน ไม่ทาให้
เกิดการเปลีย่ นแปลงของค่าทางโลหิตวิทยาค่าทางชีวเคมีของซีรมั ่ และพยาธิ
สภาพของอวัยวะภายในต่างๆ ทีบ่ ่งชีถ้ งึ ความผิดปกติอนั เนื่องมาจากกวาวเครือ
ขาว
Thai J Pharmacol, 2005, 27, 76.
44
การศึกษาความเป็ นพิษเรื้อรังของกวาวเครือแดง
กวาวเครือแดง
 ทาการศึกษาพิษเรือ้ รังของผงกวาวเครือแดงในหนูขาวพันธุว์ สิ ตาร์เพศผูแ้ ละเพศ
เมียระยะเวลา 6 เดือน โดยแบ่งหนูขาวเป็ น 6 กลุม่

กลุม่ ควบคุมได้รบั น้ากลัน่ 10 มล./กก./วัน และหนูขาวกลุม่ ทดลอง 5 กลุ่ม โดยที่
กลุ่มที่ 1 ถึงกลุม่ ที่ 4 ได้รบั ผงกวาวเครือแดงทีส่ กัดจากส่วนรากในขนาด 10, 100,
250 และ 1000 มก./กก./วัน โดยป้อนเข้าทางปากตามลาดับ กลุม่ ที่ 5 เป็ นกลุม่
สาหรับศึกษา recovery ได้รบั ผงกวาวเครือแดงในขนาด 1000 มก./กก./วัน

ผงกวาวเครือแดงในขนาด 10 มก./กก./วัน ไม่มผี ลต่อค่าทางโลหิตวิทยา ค่าทาง
ชีวเคมีและพยาธิสภาพของอวัยวะภายในสัตว์ทดลอง
45
วารสารกรมวิทยาศาสต์การแพทย์ 2544, 43, 182
การศึกษาความเป็ นพิษเรื้อรังของกวาวเครือแดง
กวาวเครือแดง
 สัตว์ทดลองทัง้ เพศผูแ้ ละเพศเมียทีไ่ ด้รบ
ั กวาวเครือแดงในขนาดตัง้ แต่ 100 มก./
กก./วัน ขึน้ ไปพบการเปลีย่ นแปลงอย่างมีนยั สาคัญของค่าทางโลหิตวิทยา ค่าทาง
ชีวเคมีและพยาธิสภาพของอวัยวะภายใน

ผงกวาวเครือแดงในขนาด 250 มก./กก./วัน และมากกว่าทาให้เกิดพยาธิสภาพ
ของอวัยวะภายในของหนูขาวโดยเฉพาะทีต่ บั
46
วารสารกรมวิทยาศาสต์การแพทย์ 2544, 43, 182
Download