บทบาทของประเทศไทยต่อการพัฒนา REDD+ ระดับนานาชาติ และการเตรี ยมความพร้ อมในประเทศ สุจิตรา จางตระกูล ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้ านวิจยั การอนุรักษ์ ป่าไม้ สานักวิจยั การอนุรักษ์ ป่าไม้ และพันธุ์พืช กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช 1 ประเด็นนาเสนอ 1. ข้ อมูลพื ้นฐานและสาระสาคัญของ REDD+ 2. บทบาทของประเทศไทย (กรมอุทยานฯ) ต่อการพัฒนา REDD+ ระดับนานาชาติ - เป็ นผู้แทนประเทศไทยในการเจรจาต่อรอง REDD+ - เผยแพร่องค์ความรู้แก่หน่วยงานที่เกี่ยวข้ อง 3. การเตรี ยมความพร้ อมในประเทศในการดาเนินกิจกรรม REDD+ 2 ข้ อมูลพื ้นฐานและสาระสาคัญ ของ REDD+ 3 REDD + Reducing Emissions from Deforestation and Forest Degradation in Developing countries (REDD) ; and the role of conservation, sustainable management of forests and enhancement of forest carbon stocks in developing countries (Plus) = REDD Plus คือ การลดการปล่อยก๊ าซเรื อนกระจกจากการตัดไม้ ทาลายป่ า และ การทาให้ ป่าเสื่อมโทรม, กิจกรรมในการอนุรักษ์ ป่าไม้ และการจัดการป่ าไม้ ที่ยงั่ ยืนในการเพิ่มคาร์ บอนสต๊ อกในพื ้นที่ป่าในประเทศกาลังพัฒนา 4 แล้วสาเหตุอะไรล่ะ ที่ทาให้ เกิดREDD+ ?? 5 แนวคิดพื ้นฐาน IPCC ได้ ประเมินว่า การปลดปล่อยก๊ าซเรื อนกระจกอันเนื่องมาจากการตัดไม้ ทาลาย ป่ ามีประมาณ 17-20 % ของการปลดปล่อยก๊ าซเรื อนกระจกของทังโลก ้ ประเทศที่มีความประสงค์และความสามารถในการลดการปลดปล่อยก๊ าซเรื อนกระจก จากการตัดไม้ ทาลายป่ าและการทาให้ ป่าเสื่อมโทรมโดยสมัครใจ จะต้ องได้ รับการชดเชย และช่วยเหลือในการดาเนินการดังกล่าว เนื่องจากในการดาเนินการทัว่ โลกในการแก้ ปัญหา การตัดไม้ ทาลายป่ ายังไม่ประสบความสาเร็จ อย่างไรก็ตาม REDD+ จะทาให้ เกิดกรอบการทางานใหม่ให้ ประเทศที่มีปัญหาการตัด ไม้ ทาลายป่ า สามารถลดหรื อชะลออัตราการตัดไม้ ทาลายป่ าที่มีอยูเ่ ดิมในอดีตและปั จจุบนั ได้ 6 การปลดปล่อย CO2 จากกิจกรรมต่างๆ ทัว่ โลก 20 % Of Emission around the world Source: Union of Concerned Scientists. Recognizing Forest’s Role in Climate Change. http://www.ucsusa.org/global_warming/solutions/recognizing-forests-role-in-climate-change.htm 7 ปั ญหาการลดลงของพื ้นที่ป่าทัว่ โลก Extent of forest 2010 Forest area (1000 ha) Percent of land area (%) 4,033,060 31 Annual change rate 1990-2000 (1000 ha) (%) -8,323 -0.2 2000-2010 (1000 ha) (%) -5,211 -0.1 Source: FAO (2011) 8 Source: www. maplecroft.com Griscom and et al.,n.d. 10 พื ้นที่ป่าของประเทศไทยในช่วงปี 1973-2009 Year 1973 1976 1978 1982 1985 1988 1989 1991 1993 1995 1998 2000 2004 2005 2006 2009 Area Sq.km % 221,707.00 198,417.00 175,224.00 156,600.00 150,866.00 143,803.00 143,417.00 136,698.00 133,554.00 131,485.00 129,722.00 170,110.78 167,590.98 161,001.30 158,652.59 171,585.65 43.21 38.67 34.15 30.52 29.40 28.03 27.95 26.64 26.03 25.62 25.28 33.15 32.66 31.38 30.92 33.44 11 เปอร์ เซ็นต์พื ้นที่ป่าของประเทศไทยในช่วงปี 1973-2009 50 45 40 % 35 30 25 Forest Area (%) 20 15 10 5 0 1973 1976 1978 1982 1985 1988 1989 1991 1993 1995 1998 2000 2004 2005 2006 2009 Year REDD+ จะทาให้ เกิดกรอบการทางานใหม่ให้ ประเทศที่มีปัญหาการตัดไม้ ทาลายป่ า สามารถลดหรื อชะลออัตราการตัดไม้ ทาลายป่ าที่มีอยูเ่ ดิมในอดีตและปั จจุบนั ได้ 12 UNFCCC REDD+ FCPF/ UN-REDD REDD+ Partnership กลุม่ ประเทศ กาลังพัฒนา (ประเทศพัฒนาแล้ว และประเทศกาลัง พัฒนา) UNFCCC : United Nations Framework Convention on Climate Change REDD+ Partnership : หุ น ้ ส่ วนความร่ วมมือระหว่างประเทศเฉพาะกิจในการดาเนินการกิจกรรมด้าน REDD + เพื่อเสริ มศักยภาพประเทศกาลังพัฒนาในการดาเนินการ REDD+ ที่อยูน่ อกกรอบ UNFCCC FCPF/UN-REDD : ตัวกลางในการเสริมศักยภาพ REDD+ ในการพิจารณาให้เงินสนับสนุ น ประเทศกาลังพัฒนา 13 การดาเนินงานกลไกทางด้ านป่ าไม้ ภายใต้ FAO (2011) UNFCCC 14 เริม ่ มีการเจรจา REDD+ กันตัง้ แตเมื ่ ไหร่ ?? ่ อ ถูกเสนอครัง้ แรกในที่ประชุม COP11 (2005) โดยประเทศปาปาวนิกินี และ คอสตาริกา ถูกบรรจุเข้ าใน Bali Action Plan ในการประชุม COP 13 (2007) COP 15 (2009) : ให้ ความสาคัญต่อบทบาทของ REDD+ และจะมีกลไกทาง การเงินสนับสนุนการดาเนินการ (Copenhagen Accord) COP 16 (2010) : เอกสาร REDD+ ได้ รับการเห็นชอบ (Cancun Agreement) COP 17 (2011) : เห็นชอบในเรื่ อง safeguard , REL, RL และแนวทาง นโยบายและทางเลือกกลไกทางการเงิน 15 RED REDD REDD+ : SBSTA/ AWG-LCA (UNFCCC) 16 Process of REDD+ text Proposals and views by Parties or group of Parties Reading Negotiating text Through Facilitator / assignment ( bilateral consultation) -Revised negotiation text -Consolidated text Note by the chair, President 17 กิจกรรมของ REDD+ มี อะไรบ้ าง?? ลดอัตราการ ทาลายป่ า เพิ่มการสะสม คาร์ บอนในป่ า ด้ วยการปลูกเพิ่ม ลดการเสื่อม โทรมของป่ า REDD+ รักษาคาร์ บอนใน ป่ าด้ วยการ จัดการป่ าอย่าง ยัง่ ยืน อนุรักษ์ พื ้นที่ป่า 18 กระบวนการดาเนินงานของ REDD+ 3 ระยะ 1. เตรี ยมความพร้ อมและเสริมศักยภาพ โดยการจัดทา กลยุทธ์แห่งชาติ หรื อแผนปฏิบตั ิ งาน, นโยบายและมาตรการเกี่ยวกับ REDD+ 2. ดาเนินการตามกลยุทธ์แห่งชาติหรื อแผนปฏิบตั ิงาน ซึง่ รวมถึงการเสริมศักยภาพด้ าน วิชาการและเทคโนโลยี ตลอดจนการจัดทาโครงการนาร่องที่แสดงผลสัมฤทธิ์ของการ ดาเนินงานกิจกรรม REDD+ 3. การดาเนินกิจกรรม REDD+ ที่สมั ฤทธิ์ผลในระดับชาติ ซึง่ จะต้ องมีกระบวนการ ติดตาม ประเมินผลในรูปแบบ ตรวจวัดรายงานและสอบทาน ตรวจสอบของผลสัมฤทธิ์ ของการดาเนินงานด้ าน REDD+ ก่อนได้ รับผลตอบแทนทางการเงิน ผ่านกองทุน หรื อ กลไกตลาด (ขึ ้นอยูก่ บั นโยบายของแต่ละประเทศ และผลการหารื อ เจรจาในอนาคต) - ใช้ เส้ นฐานอ้ างอิง (Reference Emission Level :REL/ Reference Level; RL) เป็ นเกณฑ์พิจารณาถึงศักยภาพในการดาเนินงานด้ าน REDD+ 19 BAU and crediting baselines Angelsen (2008) - BAU baseline is the benchmark for judging the impact of the REDD measures implemented (and ensuring additionality) - Crediting baseline is the benchmark for rewarding the country (or project) if emissions are below that level or not giving any reward. 20 ในการเตรี ยมความพร้ อม REDD+ ใครจะให้เงิน ?? ประเทศพัฒนาแล้ ว สนับสนุนเงินทุน สนับสนุนเงินทุน ในรูปแบบทวิภาคี FCPF / UN-REDD ให้ เงินทุนเพื่อเตรี ยมความ พร้ อม REDD+ เสนอ R-PP ประเทศกาลังพัฒนา FCPF/UN-REDD : ตัวกลางในการเสริมศั กยภาพ REDD+ ในการพิจารณาให้เงิน สนับสนุ น ประเทศกาลังพัฒนา 21 Griscom and et al.,n.d. 22 UN-REDD Countries receiving support to National Programmes Other partner countries www.un-redd.org 23 24 Countries receiving support to National Programmes Other partner countries www.un-redd.org 25 Donor Contributions www.un-redd.org 26 Budget Allocations to UN-REDD Programmes (2009-2011) www.un-redd.org 27 FCPF www.forestcarbonpartnership.org 28 29 Argentina Bolivia, Plurinational State of Cameroon Cambodia Central African Republic Chile Colombia Congo, Democratic Republic of Congo, Republic of Costa Rica El Salvador Ethiopia Gabon Ghana Guatemala Guyana Honduras Indonesia Kenya Lao People’s Democratic Republic Liberia Madagascar Mexico Mozambique Nepal Nicaragua Panama Papua New Guinea Paraguay Peru Suriname Tanzania Thailand Uganda Vanuatu Vietnam REDD+ Country Participants 30 Donor Participants • Government of Australia • Government of Canada • Government of Denmark • Government of Finland • Government of France • Government of Germany • Government of Italy • Government of Japan • Government of the Netherlands • Government of Norway • Government of Spain • Government of Switzerland • Government of the United Kingdom • Government of the United States of America www.forestcarbonpartnership.org 31 ผลการประชุมที่ผา่ นมา มีอะไรบ้ าง ?? 32 ผลการประชุม SBSTA 35 (Technical issues) (ในการประชุม COP 17) 33 ผล.. COP17 1.แนวทางเกี่ยวกับระบบการจัดหาข้ อมูลว่า safeguards ถูกคานึงและเคารพ อย่างไร (การป้องกันผลกระทบต่อชุมชนและทรัพยากรธรรมชาติและ สิง่ แวดล้ อม จากการดาเนินกิจกรรม REDD+) 1.1 เห็นชอบว่าระบบการจัดหาข้ อมูลสาหรับ safeguards ที่อ้างไว้ ใน ภาคผนวก 1 ของ Cancun agreement) ถูกคานึงถึงและเคารพ ตามสภาพการณ์ ศักยภาพ อธิปไตย และข้ อกฎหมายของประเทศ และเกี่ยวข้ องกับข้ อบังคับ ข้ อตกลง ระหว่างประเทศ และเคารพเรื่ องเพศ (gender) 1.2 เห็นชอบว่าประเทศกาลังพัฒนาที่ดาเนินกิจกรรม REDD+ ควรจัดหาข้ อมูล แบบสรุปว่า safeguards ที่อ้างไว้ ในภาคผนวก 1 ของ Cancun agreement) มีการคานึง และเคารพอย่างไรตลอดของการดาเนินกิจกรรม REDD+ 34 1.3 ตัดสินใจว่าข้ อมูลแบบสรุปในข้ อ 2 นันควรจั ้ ดหาเป็ นช่วงเวลาและถูกรวมไว้ ในรายงานแห่งชาติซงึ่ สอดคล้ องกับมติของ COP เกี่ยวกับแนวทางของรายงานแห่งชาติ จากประเทศภาคีสมาชิกที่ไม่รวมประเทศพัฒนาแล้ ว หรื อช่องทางอื่นที่ได้ รับการยอมรับ จาก COP 1.4 ได้ ร้องขอให้ SBSTA สาหรับการประชุมครัง้ ที่ 36 พิจารณาระยะเวลาของ การนาเสนอข้ อมูลแบบสรุปในครัง้ แรกหรื อในครัง้ ต่อมาด้ วยข้ อคิดเห็นเพื่อเสนอแนะเป็ น มติเพื่อการยอมรับจาก COP 1.5 ร้ องขอ SBSTA สาหรับการประชุมครัง้ ที่ 36 พิจารณาความต้ องการสาหรับ แนวทางต่อไปที่รับประกันความโปร่งใส ความคงที่ ความเข้ าใจ และประสิทธิผล เมื่อมี การแจ้ งว่า safeguards ถูกคานึงถึงและเคารพอย่างไร และถ้ ามีความเหมาะสม ก็ พิจารณาแนวทางเพิ่มเติม และรายงานต่อ COP .ในการประชุม COP18 35 2. Modalities สาหรับเส้ นฐานการปล่อยอ้ างอิง (reference emission level, REL) และเส้ นฐานอ้ างอิง (reference level,RL) จากป่ าไม้ 2.1 เห็นชอบว่า REL และ RL ในรูปของตันคาร์ บอนไดออกไซด์ตอ่ ปี คือฐาน สาหรับการประเมินการดาเนินกิจกรรม REDD+ ของประเทศ 2.2 เห็นชอบว่า step-wise approach สาหรับการทา REL,RL ของประเทศ อาจถูกใช้ ได้ ตามความเหมาะสมเพื่อช่วยในการปรับปรุงข้ อมูล วิธีการให้ ดีขึ ้น 2.3 เห็นชอบว่าประเทศกาลังพัฒนาควรอัพเดต REL, RL เป็ นช่วงเวลาตาม ความเหมาะสม โดยขึ ้นอยูก่ บั ความรู้และแนวโน้ มใหม่ๆ,ขอบเขตและวิธีการที่มีการ ปรับปรุงใหม่ 36 2.4 ได้ ร้องขอให้ SBSTA นาเสนอข้ อมูลเกี่ยวกับ REL, RL ใน UNFCCC REDD web platform รวมทังข้ ้ อคิดเห็นเกี่ยวกับ REL และ RL ที่มีการส่งไป แล้ ว 2.5 เห็นชอบในการกาหนดกระบวนการที่สามารถประเมินเชิงเทคนิค เกี่ยวกับ REL และ RL ที่มีการเสนอไปหรื อมีการอัพเดตโดยประเทศภาคี สมาชิกซึง่ สอดคล้ องกับข้ อ 2.3 และแนวทางที่มีการพัฒนาโดย SBSTA .ใน การประชุม SBSTA ครัง้ ที่ 36 37 บทบาทของประเทศไทยทีประสบความสาเร็จในการเจรจาต่อรองในที่ประชุม REDD+: SBSTA 35 มีการเสนอแก้ ไขร่างเอกสารระหว่างการเจรจาต่อรอง โดยเสนอให้ มีการใช้ คาว่า “should” ซึง่ มี ความหมายที่เป็ นความสมัครใจ (voluntary) มากกว่าการใช้ “shall” ซึง่ มีความหมายในเชิง ภาคบังคับ (mandatory) ที่เกี่ยวกับการจัดทาและการให้ ข้อมูลเกี่ยวกับ Safeguards ซึง่ ที่ ประชุมเห็นชอบ การดาเนินการจัดทาข้ อมูล Safeguards ต้ องยึดหลักอธิปไตยและกฎหมายของประเทศ การให้ ข้อมูลสรุปของ Safeguards ต้ องดาเนินการตาม decision 1/CP.16 ความโปร่งใสในการรายงานเกี่ยวกับ Safeguards สามารถดาเนินการได้ โดยผ่านการจัดทา รายงานแห่งชาติ (National Communications) ซึง่ ดาเนินการโดยหน่วยงานประสานงาน กลาง (focal point) ของ UNFCCC ของแต่ละประเทศ 38 Methodological guidance for activities relating to reducing emission from deforestation and forest degradation and the role of conservation, sustainable management of forest and enhancement of forest carbon stocks in developing countries 1. Guidance on systems for providing on how safeguards are addressed and respected 2. Modalities for forest reference levels and forest reference emission levels 3. Modalities for measuring, reporting and verifying 39 40 41 42 ผลการประชุ ม AWG-LCA : REDD+ (Policy approach and positive incentives) 43 ผลการประชุม… (COP 16) เป้าหมาย การสนับสนุนที่เพียงพอและคาดหวังได้ ให้ แก่ประเทศกาลังพัฒนา ซึง่ ประเทศภาคีสมาชิกควรมีเป้าหมายในการลดและหยุดผลกระทบต่อพื น้ ที่ ป่ าและการสูญเสียคาร์ บอนในพื ้นที่ป่าอย่างค่อยเป็ นค่อยไป โดยคานึงถึง สถานภาพและศักยภาพของแต่ละประเทศ 44 กิจกรรม REDD+ ลดการปลดปล่อยก๊ าซเรื อนกระจกจากการตัดไม้ ทาลายป่ า ลดการปลดปล่อยก๊ าซเรื อนกระจกจากการทาให้ ป่าเสื่อมโทรม การอนุรักษ์ คาร์ บอนสต๊ อค การจัดการป่ าไม้ อย่างยัง่ ยืน การเพิ่มคาร์ บอนสต๊ อคในพื ้นที่ป่า (กิจกรรมที่ประเทศกาลังพัฒนาต้ องดาเนินการ เมื่อเข้ าร่วมกลไก REDD+) 45 ประเทศกาลังพัฒนาที่มีเป้าหมายในการดาเนินการดังกล่าวข้ างต้ น และ ต้ องการความช่วยเหลือที่เพียงพอและคาดหวังได้ ซึง่ รวมถึงแหล่งเงินสนับสนุน และการสนับสนุนทางเทคนิคและวิชาการ ควรพัฒนาการดาเนินการตามสถานภาพและศักยภาพของประเทศดังนี ้ 1. ยุทธศาสตร์ แห่งชาติหรื อ แผนปฏิบตั ิการ 2. การจัดทาเส้ นฐาน อ้ างอิงป่ าไม้ ของ ประเทศ 3. ระบบการสารวจติดตาม และรายงานการปฏิบตั ิ กิจกรรม REDD+ อย่าง โปร่งใส 4. ระบบที่ให้ ข้อมูลในการดาเนินการด้ านการ ป้องกันการเกิดผลกระทบเชิงสังคมและ สิง่ แวดล้ อมโดยเคารพต่ออธิปไตยของประเทศ 46 เมื่อประเทศกาลังพัฒนา มีการพัฒนาและดาเนินการ ตามยุทธศาสตร์ แห่งชาติหรื อแผนปฏิบตั ิการ ควรคานึงถึง…. สาเหตุและปั จจัยของการตัดไม้ ทาลายป่ าและการทาให้ ป่า เสื่อมโทรม เรื่ องเกี่ยวกับที่ดิน การบริหารจัดการป่ าไม้ บทบาทของเพศในการร่วมดาเนินการดังกล่าว การป้องกันผลกระทบด้ านมิติสงั คมและสิ่งแวดล้ อม การดาเนินการดังกล่าวจะมีกระบวนการมีสว่ นร่วมของผู้มีสว่ นได้ ส่วนเสียที่เกี่ยวข้ องอย่างมีประสิทธิภาพ เช่น ชุมชนพื ้นเมืองท้ องถิ่น เป็ นต้ น 47 กิจกรรม REDD+ จะมีการดาเนินการ เป็ น 3 ระยะดังนี ้ 1. มีการวางนโยบายยุทธศาสตร์ แห่งชาติหรื อแผนปฏิบตั ิการและ การพัฒนาศักยภาพ 2. ดาเนินตามนโยบายยุทธศาสตร์ แห่งชาติและแผนปฏิบตั ิการที่สามารถ พัฒนาในการเสริมศักยภาพ พัฒนาและถ่ายทอดเทคโนโลยี ตลอดจนกิจกรรม นาร่องที่แสดงผลสัมฤทธิ์ของการดาเนินการ 3. ขันตอนการตรวจวั ้ ดรายงานและตรวจสอบแสดงผล ผลสัมฤทธิ์ของการดาเนินการ ( การดาเนินการ อาจเริ่มที่ระยะใดก็ได้ ตามสภาพความเหมาะสมและศักยภาพของ ประเทศระดับของการได้ รับการสนับสนุน ) 48 ผล… COP16 (ต่อ) • เป้าหมายที่ทกุ ประเทศควรลดและหยุดการสูญเสียพื ้นที่ป่าและคาร์ บอน สต็อก ตามศักยภาพของประเทศ โดยเน้ นว่าการสนับสนุนจะต้ องมีให้ แก่ ประเทศกาลังพัฒนาดาเนินการดังกล่าวอย่างเพียงพอ • มีการเร่งเร้ าให้ ประเทศภาคีสมาชิกกรอบอนุสญ ั ญาสหประชาชาติว่าด้ วย การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ โดยเฉพาะประเทศที่พฒ ั นาแล้ ว สนับสนุนผ่านช่องทางพหุภาคีและทวิภาคี ในการพัฒนายุทธศาสตร์ แห่งชาติหรื อแผนปฏิบตั ิการ แนวทางนโยบายและเสริมศักยภาพ ตลอดจนการพัฒนาและถ่ายทอดเทคโนโลยีและกิจกรรมนาร่อง 49 • การพิจารณาเกี่ยวกับด้ าน safeguards ทังมิ ้ ตเิ ชิงสังคมและสิ่งแวดล้ อม • ร้ องขอให้ AWG-LCA พิจารณาทางเลือกกลไกทางการเงิน เพื่อดาเนินการ Full Implementation ของ Result based action ภายหลัง โดยให้ จดั ทารายงาน และข้ อเสนอต่อ COP 17 เอกสารที่เกี่ยวข้ องกับ REDD+ อยูใ่ น chapter III- C ของเอกสาร FCCC/AWGLCA/2010/L.7 (Cancun agreement) ได้ รับการรับรองจากที่ ประชุม COP 16 50 กลไกสนับสนุนทางการเงินสาหรับการดาเนิน กิจกรรม REDD+ (COP 17) 1. ไม่วา่ จะเป็ นแหล่งหรื อรูปแบบทางการเงิน (regardless of source or type of financing) สาหรับกิจกรรม REDD+ ต้ องสอดคล้ องกับ Provision ใน Decision 1/CP.16, safeguards ใน appendix I ของ Decision 1/CP.16 รวมทัง้ COP Decision ที่เกี่ยวข้ องด้ วย 2. สาหรับประเทศกาลังพัฒนาที่ได้ รับการสนับสนุนทางการเงินสาหรับดาเนินการกิจกรรม REDD+ ใน ระยะที่ 3 (Results-based Actions) ที่กล่าวไว้ ในพารากราฟ 73 และ 77 ของ Decision 1/CP.16 ต้ องมีกระบวนการ MRV สาหรับการดาเนินกิจกรรม 3. การสนับสนุนทางการเงินสาหรับการดาเนินกิจกรรม REDD+ ในระยะที่ 3 (Results-based actions) สาหรับประเทศกาลังพัฒนา คือ new, additional, predictable ที่อาจมาจากหลายแหล่ง ทัง้ public และ private, bilateral และ multilateral, รวมทัง้ alternative sources 51 กลไกสนับสนุนทางการเงิน.. (ต่อ) 4. จากประสบการณ์การดาเนินกิจกรรม REDD+ จาก Demonstration activities, appropriate market-based approaches could be developed by the COP 5. ควรพัฒนา non market-based approaches เช่น join mitigation and adaptation approaches สาหรับการจัดการป่ าไม้ ที่ยงั่ ยืน เป็ น non – market alternative ซึง่ สนับสนุนและเพิ่มความเข้ มแข็งแก่รัฐบาล ซึง่ จะทาให้ เกิดความสมดุล ของสิง่ แวดล้ อม (Environmental integrity) รายละเอียดเพิ่มเติม : FCCC/AWGLCA/2011/L.4 52 บทบาทของประเทศไทยทีประสบความสาเร็จในการเจรจาต่อรอง ในที่ประชุม REDD+: AWG-LCA 14 ได้ ผลักดันไม่ให้ มีคาที่ผกู มัดและบังคับ แต่ให้ เป็ นคาที่เป็ นภาคสมัครใจ เช่น การใช้ คาว่า “should” แทนคาว่า “shall” ได้ ผลักดันให้ โอกาสทางเลือกกลไกทางการเงินที่เหมาะสมกับสภาพและนโยบายของแต่ละ ประเทศ ได้ ผลักดันให้ มีการดาเนินการวิเคราะห์ทางวิชาการด้ านการเงินของ REDD+ อยู่ภายใต้ AWG-LCA แทนที่จะอยู่ภายใต้ SBSTA เพื่อให้ มีความเชื่อมโยงกับภาคปฏิบตั ิ ไม่ใช่แค่ รายงานทางวิชาการ นอกจากนันเพื ้ ่อให้ การเจรจาของ REDD+ ภายใต้ AWG-LCA ดาเนินต่อไปได้ จนกว่าจะได้ ความชัดเจนตามกระบวนการดาเนินงานทางการเงิน ได้ สนับสนุนทางเลือกทางการเงินแบบ Joint Mitigation and Adaptation approach เพิ่ม อีกทางเลือกหนึง่ ซึง่ เป็ นทางเลือกหนึง่ ของประเทศกาลังพัฒนาบางประเทศที่ไม่เน้ นคาร์ บอน เครดิต 53 ตัว อย่ างบทบาทของประเทศไทยในการเจรจา ต่อรอง REDD+ ที่ถู ก รายงานไว้ ใน Earth Negotiations Bulletin (ENB) 54 PAPUA NEW GUINEA,supported by THAILAND, COLOMBIA and the PHILIPPINES, highlighted that discussions on REDD-plus are more advanced than those on NAMAs and that REDD-plus can inform development of NAMAs. GABONsaid decisions relating to REDD-plus for forest nations require greater national coordination than implementation of NAMAs. 55 ENB (2009) GUYANA, supported by COLOMBIA, suggested that a threephased approach should be integrated into the specific principles. Papua New Guinea, for the COALITION OF RAINFOREST NATIONS, COSTA RICA and INDONESIA noted that A link to financing for a three-phased approach had been lost. UGANDA expressed concerns about suggestions that developing countries take actions at their own cost. TUVALU, with the US, JAPAN and BRAZIL, questioned how REDD-plus relates to the discussions in other subgroups. INDIA, NEPAL and THAILAND highlighted the need to keep REDDplus separate from NAMAs. 56 ENB (2009) INDIA called on parties to use the term “sustainable management of forests” to ensure environmental integrity. Switzerland, for the ENVIRONMENTAL INTEGRITY GROUP, with THAILAND, noted a weakness in terms of linkages among elements throughout the text. The EU highlighted reporting requirements. ENB (2009) BRAZIL with THAILAND, LIBERIA and BANGLADESH, called for a quick and simple establishment 57 of REDD. SWITZERLAND said forest governance needs to be more fully considered. PAPUA NEW GUINEA identified governance as a “loaded” word. LIBERIA highlighted the link between financing and governance. The EU and NORWAY called for eligibility requirements to be addressed. INDONESIA said REDD-plus should not be part of NAMAs. THAILAND, supported by TUVALU, called for a table to clarify parties’ positions in order to facilitate discussions in Barcelona. Facilitator La Viña outlined plans to have two meetings in Barcelona, one focusing on scope and objectives, and the other on operational issues. 58 ENB (2009) ภาพการประชุม COP 17 59 60 61 62 63 64 ในการประชุมครัง้ ต่อไป จะเจรจาเรื่ องอะไร ?? SBSTA 36 (พฤษภาคม 2555) : จะเจรจาในเรื่ อง MRV AWG-LCA (พฤษภาคม 2555) :จะหารื อเกี่ยวกับรูปแบบ กลไกทางการเงิน 65 บทบาทของประเทศไทย (กรมอุทยานฯ) ตอการพั ฒนา REDD+ ระดับ ่ นานาชาติ 66 1 เป็ นผู้แทนประเทศไทยเข้ าร่วมประชุมและเจรจา REDD+ ในระดับนานาชาติ 67 บทบาท DNP DNP (ผู้แทนประเทศไทยในการเจรจาต่อรอง) ร่วมประชุมเจรจา, ประสานงาน UNFCCC REDD+ Partnership AWG-LCA SBSTA FCPF 68 กรอบแนวทาง ในการเจรจาต่อรอง รักษา ผลประโยชน์ สร้ างโอกาส และ เสริมศักยภาพ ไม่มีข้อ ผูกมัด 69 แนวทางการเจรจา 1. แนวทางนโยบายและการสร้ างแรงจูงใจเชิงบวก ระดับนานาชาติ ควรเปิ ด กว้ างให้ แต่ละประเทศ(รวมประเทศไทย) สามารถดาเนินการตามแนวนโยบายและ ศักยภาพ โดยไม่มีผลกระทบต่อการพัฒนาประเทศในระยะยาว 2. เปิ ดโอกาสให้ ประเทศไทยได้ ตดั สินใจการเข้ าถึงกลไกทางการเงิน ทางเลื อก ที่เหมาะสมของประเทศในอนาคต เนื่องจากเนื ้อหาการเจรจายังไม่เสร็จสิ ้น 3. สนับสนุนให้ มีการส่งเสริ มการมีส่วนร่ วมทุกภาคส่วน โดยเฉพาะชุ มชน พื ้นเมืองท้ องถิ่นในการร่วมการอนุรักษ์ ทรัพยากรป่ าไม้ โดยการสร้ างแรงจูงใจเชิงบวก 4. สนับ สนุน ให้ มี ก ารเสริ ม ศัก ยภาพในทางวิ ช าการเพื่ อ ให้ ไ ด้ Reference Emission Level และ MRV system ที่เหมาะสมของประเทศ เพื่อรองรับกิจกรรมด้ าน REDD+ ในอนาคต 70 บทบาท DNP (ต่อ) 1. เป็ นผู้แทนประเทศไทยในการเจรจาต่อรองในประเด็น REDD+ ที่อยู่ ภายใต้ อนุสญ ั ญาสหประชาชาติวา่ ด้ วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (UNFCCC) โดย... เข้ าร่วมประชุมในเชิงเทคนิค (SBSTA) เข้ าร่วมการประชุมเชิงนโยบายและแรงจูงใจเชิงบวก (AWG-LCA) 71 ผลจากการเจรจาต่อรอง ที่รักษาผลประโยชน์ให้ กบั ประเทศไทย และประเทศกาลังพัฒนา A) ผลักดันให้ Forest Conservation อยู่ใน REDD+ B) Commitment ของประเทศพัฒนาแล้ วในการให้ ความช่วยเหลือแก่ประเทศกาลังพัฒนาในการ ดาเนินงานด้ าน REDD+ C) เปิ ดโอกาส แนวทางเลือก แรงจูงใจเชิงบวกให้ ประเทศไทยและประเทศกาลังพัฒนาอื่น สามารถ ตัดสินใจแนวทางที่เหมาะสมได้ ในอนาคต D) สนับสนุนแนวทางการมีสว่ นร่วมในทุกภาคส่วน โดยเฉพาะชุมชนพื ้นเมืองในการอนุรักษ์ รักษาป่ า E) ให้ ความสาคัญกับความหลากหลายทางชีวภาพในการอนุรักษ์ และจัดการป่ าไม้ อย่างยัง่ ยืน F) ผลักดันให้ มีการจัด REDD+ Technical expert meeting และได้ รับเงินสนับสนุนจากประเทศ ออสเตรเลีย จานวน 500,000 US$ และประเทศนอร์ เวย์ 72 บทบาท DNP (ต่อ) 2. เป็ น Focal Point ของ REDD+ Partnership โดยเข้ าร่วมประชุมในเชิง เทคนิค รวมถึงติดตามคณะรัฐมนตรี เข้ าร่วมการประชุมในเชิงนโยบาย (อยูน่ อกกรอบ UNFCCC เพื่อเสริมศักยภาพประเทศกาลังพัฒนาในการ ดาเนินการ REDD+ ซึง่ เป็ นหุ้นส่วนความร่วมมือระหว่างประเทศเฉพาะกิจในช่วง ระหว่างการเจรจา REDD+ ยังไม่เสร็จสิ ้น ) หารื อแนวทางที่เหมาะสมในการขับเคลื่อนกลไกทางการเงิน แลกเปลี่ยนประสบการณ์และให้ ข้อคิดเห็นในการดาเนินงาน 73 บทบาท DNP (ต่อ) 3. เข้ าร่วมประชุมและประสานงานกับ FCPF เป็ น Participant committee (PC) member ของ FCPF ซึง่ เป็ นส่วนหนึง่ ใน คณะกรรมการพิจารณาโครงการ R-PP ของประเทศกาลังพัฒนาในการเสนอเพื่อ ขอเงินสนับสนุนจาก FCPF เพื่อใช้ รองรับการดาเนินการด้ าน REDD+ - เป็ น Co-Chair ในการประชุม PC 8 ที่เวียดนาม - การประชุม PA4 (Participants Assembly) ประเทศไทยเสนอให้ ยืดเวลาส่ง R-PP จากเดือน สิงหาคม 2555 เป็ น เดือน มีนาคม 2556 ได้ สาเร็จ 74 Participants Assembly/Participants Committee • PA1/PC1, October 19-22, 2008, Washington, DC • PC2, March 11-13, 2009, Panama • PC3, June 16-18, 2009, Montreux, Switzerland • PA2/PC4, October 26-28, 2009, Washington, DC • PC5, March 22-25, 2010, La Lopé, Gabon • PC6, June 28-July 1, 2010, Georgetown, Guyana • PA3/PC7, November 1-3, 2010, Washington, DC • PC8, March 23-25, 2011, Da Lat, Vietnam (ประเทศไทยเป็ นประธานร่ วม) • PC9, June 20-22, 2011, Oslo, Norway • PA4/PC10, October 17-19, 2011, Berlin, Germany • PC11, March 28-30, 2012, Asunción, Paraguay • PC12, June 27-29, 2012, Santa Marta, Colombia 75 2 เผยแพร่องค์ความรู้ให้ แก่หน่วยงานที่เกี่ยวข้ อง 76 เผยแพร่องค์ความรู้ โดย… รายงานผลการประชุมเจรจา โดยเชิญหน่วยงานที่เกี่ยวข้ อง มาร่วมรับฟั ง และรับฟั งข้ อคิด ข้ อเสนอแนะของหน่วยงานที่เกี่ยวข้ อง ดังกล่าว เป็ นวิทยากรให้ กบั RECOFTC เป็ นวิทยากรให้ กรมป่ าไม้ เป็ นวิทยากรบรรยายในที่ประชุมนานาชาติที่เกี่ยวข้ องกับ REDD+ เป็ นผู้อภิปรายร่วมในการแสดงความคิดเห็นเพื่อการปรับปรุงการ ดาเนินงานต่อประเด็น REDD+ ในที่ประชุม REDD+ Partnership ให้ ความรู้ความเข้ าใจเจ้ าหน้ าที่ในหน่วยงานภายใต้ กรมอุทยานฯ เพื่อนาไปขยายผลและเตรี ยมความพร้ อมในการปฏิบตั ิงาน 77 ถ่ายทอด องค์ความรู้ให้ หน่วยงานที่เกี่ยวข้ อง 78 79 การเตรียมความพรอมใน ้ ประเทศในการดาเนิน กิจกรรม REDD+ 80 แนวคิด แม้ ว่าประเทศไทยจะดาเนิ นการในการป้องกันดูแ ลรั ก ษาป่ าอย่างเข้ ม ข้ น โดยเฉพาะสมัยอธิ บดีปัจจุบนั ได้ มีการดาเนินงานป้องกันการลดการทาลายป่ าอย่าง เข้ มข้ น แต่อย่างไรก็ตาม ในภาพรวม ของระดับประเทศ ระดับ ภูมิภาค และระดั บโลก การป้องกันยังไม่ประสบความสาเร็ จเท่าที่ควร เนื่องจากยังมีความต้ องการไม้ อย่างผิด กฎหมายระหว่างประเทศ และมีลกั ลอบค้ ากันอย่างต่อเนื่อง ดังนันกลไกการด ้ าเนินงาน REDD+ สามารถมาช่วยเสริ มศักยภาพในการ ด าเนิ น งาน การดูแ ลรั ก ษาป่ าและเพิ่ ม พื น้ ที่ ป่ าได้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ โดยเน้ น กระบวนการมีสว่ นร่วมทุกภาคส่วน 81 ในการดาเนินงานด้ าน REDD+ จะต้ องมี.. 1. กลยุทธ์หรื อแผนระดับชาติในการดาเนินงานแบบบูรณาการโดยเน้ นกระบวนการ การมี ส่วนร่ วมในทุกภาคส่วน โดยวิเคราะห์ถึงสาเหตุของการเกิดปั ญหา การตัดไม้ ทาลายป่ า และหาแนวทางการแก้ ไขอย่างเป็ นรู ปธรรม โดยไม่มีผลกระทบต่อการพัฒนาประเทศ อย่างยัง่ ยืน 2. การมีส่วนร่ วมในการดาเนินงานที่เกี่ยวข้ องของทุกภาคส่วน ไม่ว่าจะเป็ น ชาวบ้ าน ภาคเอกชน ภาคประชาคม และภาครัฐที่ประกอบด้ วยหน่วยงานที่เกี่ ยวข้ อง อาทิ เช่น กรมป่ าไม้ กรมอุทยานฯ กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ ง ออป. และ สผ. เป็ นต้ น โดย ทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้ องเหล่านี ้ต้ องมาดาเนินงานร่วมกัน โดยการสร้ างแรงจูงใจเชิงบวกใน การดาเนินงาน 3. เสริมสร้ างและเผยแพร่ความรู้ ความเข้ าใจให้ ทกุ ภาคส่วนที่เกี่ยวข้ อง โดยเฉพาะชุมชน พื ้นเมืองท้ องถิ่นที่พงึ พิงป่ า 82 ในการดาเนินงานด้ าน REDD+ จะต้ องมี..(ต่อ) 4. การพัฒนาเชิงเทคนิคในการสร้ างเส้ นฐานอ้ างอิง และฐานข้ อมูลของพื ้นที่ป่าของประเทศ ให้ เป็ นระบบเดียวกัน 5. พัฒนาระบบการติดตามประเมินผลในรูปแบบของการตรวจวัด รายงาน และสอบทาน ของการเปลี่ยนแปลงพืน้ ที่ป่าและการประเมินคาร์ บอนสต๊ อกให้ เทียบเท่าระดั บสากล (Measurement, Reporting and Verification ; MRV) 6. การป้องกันผลกระทบเชิงสังคมและทรัพยากรสิ่งแวดล้ อม (safeguard) 7. กลไกทางการเงินจากต่างประเทศมาช่วยเสริ มศักยภาพและสร้ างแรงจูงใจเชิงบวกใน การดาเนินการนอกเหนือจากการดาเนินงานปกติ ซึง่ อาจจะเป็ นรูปแบบกองทุน หรื อกลไก ตลาด 83 ตอนนี ้การดาเนินงาน REDD+ ของประเทศไทย อยูใ่ นระยะไหน ? 84 ระยะที่ 1 : การเตรี ยมความพร้ อมและเสริ มสร้ างศักยภาพ 1 จัดตัง้ REDD+ Working groups ของประเทศไทยที่อยูภ่ ายใต้ คณะอนุกรรมการการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ โดยมีทา่ นอธิบดีกรมอุทยาน ฯ เป็ นประธาน (ดังแสดงในแผนภาพ) 2 กรมอุทยานฯ ทาหน้ าที่เป็ นหน่วยประสานงานกลางด้ าน REDD+ กาลัง จัดทาแผนแห่งชาติในการดาเนินการนี ้ โดยผ่านการหารื อกับทุกภาคส่วนที่ เกี่ยวข้ อง 85 86 อานาจหน้ าที่ • จัดทาแนวทางเตรี ยมความพร้ อมในการดาเนินกิจกรรมด้ าน REDD+ • ประสานงานและรวบรวมข้ อมูลที่จาเป็ นและเกี่ยวข้ องกับการดาเนิน กิจกรรม REDD+ • พิจารณาจัดทาข้ อมูลทางวิชาการเพื่อให้ การสนับสนุนต่อ คณะอนุกรรมการฯ ในการพิจารณาจัดทาร่างท่าทีประเทศไทยด้ าน REDD+ • จัดการประชุมที่เกี่ยวข้ องกับการดาเนินกิจกรรมตามภารกิจด้ าน REDD+ • ปฏิบตั ิงานอื่นที่ได้ รับมอบหมายจากคณะอนุกรรมการ ฯ 87 ระยะที่ 1 : การเตรี ยมความพร้ อม...(ต่อ) 3 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้ อมส่ง Readiness Plan Idea Note เพื่อขอรับเงินสนับสนุนจากกองทุน FCPF (World bank) โดย….. ปี 2552 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้ อม ได้ มอบหมายให้ กรมอุทยานฯ ลงนามในข้ อตกลงร่วมโครงการ R-PIN เพื่อขอรับงบประมาณจากกองทุน FCPF ใน การเตรี ยมความพร้ อมรองรับ REDD+ ปี 2553 FCPF ให้ การเห็นชอบ ปี 2554 FCPF ได้ อนุมตั ิเงินจานวน 200,000 US$ เพื่อการพัฒนา Readiness Preparation Proposal (R-PP) ขณะนี ้ประเทศไทยกาลังอยู่ในขันการพั ้ ฒนา R-PP (Readiness Preparation Proposal) เพื่อ เตรี ยมเสนอต่อ FCPF โดยการจัดประชุมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นทุกภาคส่วน ทังในระดั ้ บชาติ และระดับ ภูมิภาค ได้ เสร็จสิ ้นในรอบที่ 1 เมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม 2555 และเตรี ยมสาหรับการดาเนินการในรอบที่ 2 (มีคณะวนศาสตร์ และ Asian Development Bank (ADB) ทาหน้ าที่เป็ นที่ปรึกษา) 88 กระบวนการพัฒนา R-PP (Readiness Preparation Proposal) 1 2 3 4 5 • จัดทากลยุทธ์ด้าน REDD+ กระบวน • การพัฒนากรอบการดาเนินงานด้ าน REDD+ • จัดทาเส้ นฐานอ้ างอิง (Reference Emission Level ;REL/ RF : Reference Level) • การออกแบบระบบตรวจสอบ ติดตาม (MRV) และระบบข้ อมูลที่ เกี่ยวข้ องกับผลตอบแทนต่างๆ • การวิเคราะห์ผลกระทบทางสังคมและสิ่งแวดล้ อม การร่วมแสดง ความคิดเห็น จากหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้ องทุก ภาคส่วน จาก ทุกเวทีสมั มา ก่อนสิ ้นปี นี ้ FCPF พิจารณาอนุมตั ิเงินสนับสนุน 3.6 ล้ าน US$ ประเทศไทยดาเนินตามแผน รายงานความก้ าวหน้ า จะได้ รับเงินสนับสนุนอีก 5 ล้ านUS$ (ขึ ้นอยู่กบั จานวนเงินในกองทุน) 89 ระยะที่ 1 : การเตรี ยมความพร้ อม...(ต่อ) 4 จัดทายุทธศาสตร์ แห่งชาติ หรื อแผนปฏิบตั ิการ, นโยบายและมาตรการเกี่ยวกับ REDD+ ร่างแผนแม่บทรองรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศแห่งชาติ พ.ศ. 2553-2562 ยุทธศาสตร์ ที่ 2 การสนับสนุนการลดการปล่อยก๊ าซเรื อนกระจกและเพิ่ม แหล่งดูดซับก๊ าซเรื อนกระจกบนพื ้นฐานการพัฒนาที่ยงั่ ยืน แนวทางที่ 2.4 การจัดการการเกษตรและป่ าไม้ เพื่อลดการปล่อย และเพิ่มการดูดซับก๊ าซเรื อนกระจก แผนงานที่ 2.4.2 การจัดการป่ าไม้ อย่างสมดุลและยัง่ ยืนเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ 2.4.2 (5) โครงการส่งเสริมศักยภาพในการลดการปลดปล่อยก๊ าซ เรื อนกระจกด้ วยการบริหารจัดการป่ าไม้ (REDD Plus) 90 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 11 พ.ศ. 2555-2559 บทที่ 8 ยุทธศาสตร์ การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้ อมอย่างยังยืน หัวข้อ 5.8.6 สร้ างรายได้ จากการอนุรักษ์ ทรัพยากรทางธรรมชาติและความ หลากหลายทางชีวภาพ แผนจัดการคุณภาพสิง่ แวดล้ อม พ.ศ. 2555-2559 ยุทธศาสตร์ ที่ 2 การอนุรักษ์ และฟื น้ ฟูแหล่งทรัพยากรธรรมชาติอย่างยัง่ ยืน แผนงานที่ 2.1 การสงวนรักษาและอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยัง่ ยืน 2.1.3 ส่งเสริมการศึกษาวิจยั และพัฒนาระบบพันธบัตรป่ าไม้ โดย การระดมทุนจากภาคประชาชน ภาคเอกชน และองค์กรต่างๆ ตามหลักการ การเก็บค่าบริการเชิงนิเวศ (Payment for Ecosystem Services: PES) และ แนวทาง REDD+ ในการรักษาพื ้นที่ป่าไม้ ไว้ เพื่อคงความสมดุลตามธรรมชาติ 91 ระยะที่ 1 : การเตรี ยมความพร้ อม...(ต่อ) 5 สร้ างความรู้ความเข้ าใจร่วมกันในหน่วยงานเพื่อนาความรู้ไปขยายผลให้ ภาค ประชาชนได้ รับรู้ ถึงกระบวนการของกลไก REDD+ แบบครบวงจร 92 การดาเนินงานต่อไปในเชิงวิชาการ การประเมินค่าเสียโอกาส (Opportunity cost) ในการพัฒนาประเทศ หากมีการ ดาเนินการ REDD+ หารื อเรื่ องคาจากัดความของป่ า ในบริบทของ REDD+ ที่เหมาะสม กับผู้ที่ เกี่ยวข้ องเพื่อให้ เกิดผลประโยชน์กบั ประเทศมากที่สดุ ควรจัดทาระดับอ้ างอิงของประเทศ (REL,RL) เกี่ยวกับอัตราการบุกรุกทาลาย ป่ า ว่าควรใช้ ช่วงเวลาใดเป็ นระดับอ้ างอิง ผู้ปฏิบตั ิงานป่ าไม้ ในพื ้นที่ จะต้ องปฏิบตั ิงานอย่างเข้ มแข็งเพิ่มขึ ้นกว่าเดิม เพื่อ ตอบรับต่อระบบการดาเนินกิจกรรม REDD+ ที่จะต้ องรับการประเมินโดยระบบ MRV (Measurable, Reportable and Verifiable) 93 การดาเนินงานต่อไปในเชิงนโยบายและแรงจูงใจเชิงบวก ประเทศไทยควรกาหนดนโยบายเกี่ยวกับ REDD+ ที่ชดั เจน โดยมีการหารื อทัง้ ภายในกรมและหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้ องเพื่อการกาหนดนโยบายด้ าน REDD+ ของประเทศที่เห็นชอบร่วมกันและดาเนินงานเป็ นเครื อข่ายและสนับสนุนซึง่ กันและ กันในลักษณะ REDD+ Task force ควรเผยแพร่ ความรู้ ความเข้ าใจแก่ทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้ องและชุมชนท้ องถิ่นที่ พึง่ พิงป่ า ควรเร่งดาเนินการจัดทา REDD+ National Strategy อย่างเต็มรู ปแบบให้ เสร็ จ ภายในกลางปี 2555 เพื่อให้ ทนั เสนอในที่ประชุมอย่างไม่ทางการ อย่างเร็วที่สดุ PC12 และอย่างช้ าที่สดุ PC13 หรื ออย่างเป็ นทางการในที่ประชุม PC13 อย่าง เร็วที่สดุ หรื ออย่างช้ าที่สดุ PC14 โดยเน้ นกระบวนการมีสว่ นร่วมทุกภาคส่วน จัดตังหน่ ้ วยงานระดับประเทศสาหรับการดาเนินการด้ าน REDD+ อย่างเป็ น รูปธรรม 94 จัดตังหน่ ้ วยงานสาหรับ implement ด้ าน REDD+ ที่เป็ นเครื อข่าย เชื่อมโยงแบบและมีกระบวนการมีสว่ นร่วม ควรแก้ ไขปั ญหาที่ดิน สิทธิทากิน การจัดทา zoning ให้ ชดั เจนว่าพื ้นที่ใดเป็ น พื ้นที่อนุรักษ์ หรื อให้ เป็ นพื ้นที่ใช้ ประโยชน์ เสริมศักยภาพเชิงเทคนิคให้ เป็ นแบบบูรณาการกับทุกฝ่ ายที่เกี่ยวข้ องด้ านป่ าไม้ ใน การประเมินพื ้นที่ป่า การเปลี่ยนแปลงพื ้นที่ป่า การเปลี่ยนแปลงคาร์ บอนสต็อก ของป่ าแต่ละประเภท ที่เป็ นตัวแทนของระบบนิเวศ พร้ อมทังจั ้ ดทา ground truth จากข้ อมูลภาพถ่ายทางอากาศ ดาวเทียม และภาคสนาม เรี ยนรู้และพัฒนากระบวนการติดตามประเมิน MRV เป็ นแบบสากล 95 สร้ างผู้เชี่ยวชาญในการตรวจวัด ประเมินการเปลี่ยนแปลงพื ้นที่ป่า และคาร์ บอนสต็อก ฝึ กอบรมชาวบ้ าน ชุมชนที่พงึ่ พิงป่ าให้ เข้ าใจบทบาทในการช่วยอนุรักษ์ และป้องกันรักษาป่ า สร้ างเครื อข่ายความร่วมมือทุกภาคส่วนรวมทังภาคเอกชนและชุ ้ มชนที่ พึง่ พิงป่ า 96 นาแนวทาง payment ecosystem service, การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ เป็ นแนวทางนาร่องให้ แก่ชมุ ชนที่อาศัยอยูร่ ่วมกับป่ า และเอกชนในการ ได้ ผลประโยชน์ร่วมในการดาเนินการอนุรักษ์ และป้องกันป่ าไม้ ผลักดันกลไกทางการเงินในอนาคตที่จะเป็ นประโยชน์ตอ่ ประเทศไทย ให้ สอดคล้ อง และไม่ขดั แย้ งต่อระบบกฎหมาย และการทางานใน ประเทศ ผ่านกระบวนการเจรจาภายใต้ หวั ข้ อ REDD+ ในที่ประชุม AWG-LCA ของ UNFCCC เพื่อเป็ นโอกาสทางเลือกในอนาคต แม้ วา่ ประเทศไทยอาจจะไม่ต้องการกลไกดังกล่าวในอนาคตก็ตาม 97 การดาเนินงานต่อไปในระดับการปฏิบตั ิ การเพิ่มพื ้นที่ป่า • เพิ่มพื ้นที่ป่าให้ ได้ 40% ภายในปี 2563 (อาจจะมีการเปลี่ยนแปลงระยะเวลา) • ส่งมอบพื ้นที่ในส่วนของ ออป. จานวน 120,000 ไร่ ให้ กบั อส. ดาเนินการ ประกาศเป็ นเขตอุทยานแห่งชาติ • กรมอุทยานแห่งชาติฯ มีนโยบายจัดตังอุ ้ ทยานแห่งชาติเพิ่มเติม 25 แห่ง โดยจะ เตรี ยมผนวกป่ าสงวนแห่งชาติ เป็ นพื ้นที่อทุ ยานอีก 37 แห่ง รวมพื ้นที่ 8 ล้ านไร่ แบ่งเป็ นอุทยานใหม่ 6.1 ล้ านไร่ ป่ าสงวนที่จะผนวกอีก 1.9 ล้ านไร่ 98 ลักษณะการเพิ่มพื ้นที่ป่า • ฟื น้ ฟูในพื ้นที่ถกู บุกรุกทาลาย • พื ้นที่ป่าเสื่อมโทรม • พื ้นที่เอกชน ผสมผสานกับโครงการ CSR และ PES เป็ น อย่างค่อยเป็ นค่อยไป 99 โครงการอื่นที่เกี่ยวข้ อง การเสริมศักยภาพในการดูแลรักษาป่ า (GFF) การเสริมศักยภาพด้ าน REDD+ (USAID/ADB/WINROCK) 100 โครงการที่อยูร่ ะหว่างการพิจารณา Tiger Wildlife Premium Carbon Credits (World Bank) Carbon Mapping โดยใช้ เทคนิค LiDAR (WWF) จัดทาแผนที่จาแนกพื ้นที่ป่าชนิดต่างๆ โดยการประยุกต์ใช้ ภาพถ่ายดาวเทียม รายละเอียดสูง และการสารวจโดยเครื่ องบินบินสารวจระดับต่าโดยใช้ Laser Sensor อธิบดีกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืชได้ ลงนาม ในหนังสือแสดงความสนใจ ประกอบการขอทุนของ WWF ต่อรัฐบาลเยอรมนี เมื่อวันที่ 11 สิงหาคม 2553 101 พืน ้ ที่ ทีไ่ ดรั ่ พิจารณาทาโครงการนา ้ บการเสนอเพือ รอง ่ อุทยานแห่งชาติทบั ลาน พื ้นที่กลุม่ ป่ าแก่งกระจานและพื ้นที่รอยต่อพื ้นที่ป่าตะวันตก พื น้ ที่ แ นวเชื่ อ มต่ อ ระหว่ า ง กรมอุ ท ยานฯ กรมป่ าไม้ และกร ม ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ ง ซึง่ อาจจะเป็ นพื ้นที่ป่าบริ เวณจังหวัด ระนอง (ต้ องมีการหารื อต่อไป) 102 103