IEEE 802.16

advertisement
Information Science Institute of Sripatum University
IS516
Computer Communication and Networks
ื่ สารคอมพิวเตอร์และเครือข่าย
การสอ
Asst.Dr.Surasak Mungsing
surasak.mu@spu.ac.th
mungsing@gmail.com
http://www.spu.ac.th/teacher/surasak.mu
Sripatum University
1
SPU
Lecture 09
Wireless Networking
2
Information Science Institute of Sripatum University
Topic

Introduction to Wireless Technologies

Wireless Networking Overview

Non-Technical considerations

Other Comparable Technologies
SPU
Information Science Institute of Sripatum University
Access
Point
Wireless
NIC cards
4
SPU
Information Science Institute of Sripatum University
5
SPU
Information Science Institute of Sripatum University
6
SPU
Information Science Institute of Sripatum University
7
SPU
Information Science Institute of Sripatum University
What is Wi-Fi
Wi-Fi is an abbreviation for Wireless Fidelity
and a catch all phrase for the several
different standards and recommendations
that comprise wireless networking.
Wi-Fi enables the user to deploy a computer
network without needing to run cable
throughout the facility.
SPU
Information Science Institute of Sripatum University
Standard: IEEE 802.11b –2.4GHz - 11 Mbps
International
standard for wireless networking
that operates in the 2.4 GHz frequency range
(2.4 GHz to 2.4835 GHz) and provides a
throughput of up to 11 Mbps with a range of
just over 300 feet indoors. This is a very
commonly used frequency. Microwave ovens,
cordless phones, medical and scientific
equipment, as well as Bluetooth devices, all
work within the 2.4 GHz frequency band.
SPU
Information Science Institute of Sripatum University
Standard: IEEE 802.11b –2.4GHz - 11 Mbps
802.11b enables transfers of up to 11 Mbps.
Comparable to 10BaseT in speeds, 802.11b is
the most common wireless standard deployed
today. In comparison T1 speeds are 1.54Mbps
and DSL is normally in the 640Kbps range.
Most deployments of Wireless utilize 802.11b
SPU
Information Science Institute of Sripatum University
Standard: IEEE 802.11.a – 5 GHz - 54 Mbps
International
standard for wireless networking
that operates in the 5 GHz frequency range
(5.725 GHz to 5.850 GHz) with a maximum 54
Mbps data transfer rate. The 5 GHz frequency
band is not as crowded as the 2.4 GHz
frequency, because the 802.11a specification
offers more radio channels than the 802.11b.
These additional channels can help avoid radio
and microwave interference.
Cost
of 802.11a equipment is approximately
twice that of 802.11b and current deployment
is limited.
SPU
Information Science Institute of Sripatum University
Standards
IEEE 802.11.a –5GHz – 11Mbps
SPU
Information Science Institute of Sripatum University
Standards

IEEE 802.11b –2.4GHz – 11Mbps

IEEE 802.11a – 5GHz – 54 Mbps

IEEE 802.11g – 2.4Ghz – Hybrid 11/54Mbps
802.11g is in the final stages of
development. The current draft (V5.0) is
open for comments until January 8, 2003.
SPU
Information Science Institute of Sripatum University
Limitations of WiFi

300 ft. effective range from access point
 1400 ft maximum range

Structural interference

Interference from other devices such as
cordless phones.
SPU
Information Science Institute of Sripatum University
Applications

Any application currently used on a
traditional wired network can be used on a
wireless network.

New applications may be available or can
be developed to take advantage of
wireless, such as Wireless PDA access to
a card catalog.
SPU
Information Science Institute of Sripatum University
Wireless Network Components

AP–Access Points

NICs - Network Interface Cards





Other Wireless Devices



PCMCIA
USB
PCI
CompactFlash
Bridges and Routers
Print Servers
PCs, Laptops, PDAs
SPU
Information Science Institute of Sripatum University
Connecting To a Legacy Network
Access Points
connect the
wireless
network to the
legacy
network.
SPU
Information Science Institute of Sripatum University
Why Deploy Wireless?

Cost savings over wireline.

Can not run wire to locations needed.

To enable patrons to bring their own laptop,
therefore reducing the cost of owning many
PCs.

To enable you to easily move PCs.

To be on the leading edge.
SPU
Information Science Institute of Sripatum University
Environment Assessment

Look at the structure of your building.
 Steel, Concrete, Stone, Glass
 Open w/ few walls or many separate
rooms?

Current technologies used
 Do you use a 2.4 GHz cordless phone?
Does it work throughout your
environment?
SPU
Information Science Institute of Sripatum University
Cost

802.11b Wireless Access Points start
around $130.00 for basic connectivity and
run up to $500.00 for more management
features.

802.11b Network Interface Cards (NICs)
cost between $50-$100 and come in USB,
PCI, PCMCIA and CompactFlash versions.
SPU
Information Science Institute of Sripatum University
The A-B-Gs of Wireless
Which standard is right for you?
 802.11a
 54 Mbps @ 5MHz
Not widely adopted
 802.11b
11 Mbps @2.4GHz
Low Cost
 802.11g
New technology - Available late 2003
Compatible with 802.11b
SPU
Information Science Institute of Sripatum University
22
SPU
Information Science Institute of Sripatum University
Bluetooth – 802.15
 Bluetooth is the standard for wireless
personal area networks or WPAN.
 It allows high speed transmission of data
over very short distances.
 Bluetooth is normally used for transferring
data between laptops, or in Internet Kiosk type
applications where roaming is not needed.
SPU
Information Science Institute of Sripatum University
IEEE 802.16 (WiMAX)
24
SPU
Information Science Institute of Sripatum University
IEEE 802.16 (WiMAX)
25
SPU
Information Science Institute of Sripatum University
IEEE 802.16 (WiMAX)
WiMAX (Worldwide Interoperability for Microwave
Access) หรื อมาตรฐาน IEEE 802.16 คือเทคโนโลยีไร้สายความเร็ว
สูงล่าสุ ด ที่คาดว่าจะถูกนามาใช้งานอย่างแพร่ หลายในอนาคตอันใกล้
ต่อมามีการแตกเวอร์ชนั่ เป็ น IEEE 802.16a ซึ่งได้รับอนุมตั ิออกมาเมื่อ
เดือนมกราคม 2004 โดยสถาบันวิศวกรรมไฟฟ้ าและอิเล็กทรอนิกส์
หรื อ IEEE (Institute of Electrical and Electronics Engineers) มีรัศมี
ทำกำร 30 ไมล์ (ประมาณ 48 กิโลเมตร) และมีควำมเร็วในกำรส่ งผ่ ำน
ข้ อมูลสู งสุ ด 75 เมกะบิตต่ อวินำที (Mbps) กว้างกว่า 10 เท่าและเร็ วกว่า
30 เท่าเทียบกับ 3G
26
SPU
Information Science Institute of Sripatum University
IEEE 802.16 (WiMAX) (ต่ อ)
คุณสมบัตเิ ด่ นของ IEEE 802.16a
ควำมสำมำรถในกำรส่ งสั ญญำณจำกจุดเดียวไปยังหลำยจุด (Point-to-Multipoint)
ได้พร้อมกัน รองรับการทางานแบบ Non-Line-of-Sight คือทางานได้แม้มีสิ่งกีดขวาง เช่น
ต้นไม้หรื ออาคาร และเป็ นประโยชน์ อย่ ำงยิง่ ต่ อผู้ให้ บริกำรบรอดแบนด์ ในกำรขยำยพืน้ ที่
ให้ บริกำร มาตรฐาน IEEE 802.16a จะทำงำนบนควำมถี่ย่ำน 2-11 กิกะเฮิรตซ์ (GHz) และ
สำมำรถใช้ งำนร่ วมกับอุปกรณ์ มำตรฐำนชนิดอืน่ ๆ ทีอ่ อกมำก่ อนหน้ ำนีไ้ ด้ IEEE 802.16a
สามารถตอบสนองความต้องการในการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตในพื้นที่ห่างไกลที่สายเคเบิลลาก
ไปไม่ถึงได้เป็ นอย่างดี ขณะเดียวกันก็สะดวกสบายและประหยัดสาหรับสาหรับผูใ้ ห้บริ การใน
การขยายเครื อข่ายที่มีอยูแ่ ล้ว เพราะไม่ตอ้ งลงทุนขุดถนนเพื่อวางสายเคเบิล นอกจากนี้ IEEE
802.16a ยังได้รับการปรับปรุ งในเรื่ องคุณภำพในกำรให้ บริกำร (QoS) ให้สามารถรองรับได้ท้ งั
ภาพ (Video) และเสี ยง (Voice) โดยไม่ใช้ทรัพยากรของเครื อข่ายมากอย่างเดิม (Low Latency
Network) ส่ วนเรื่ อง Security ได้เพิ่มคุณสมบัติของควำมเป็ นส่ วนตัว (Privacy) ซึ่ งต้องได้รับ
อนุญาต (Authentication) ก่อนที่จะเข้าออกเครื อข่าย และมีกำรเข้ ำรหัสข้ อมูล (Encryption)
ขณะรับส่ ง ทาให้การรับส่ งข้อมูลบนมาตรฐานตัวนี้มีความปลอดภัยสู ง
27
SPU
Information Science Institute of Sripatum University
IEEE 802.16 (WiMAX) (ต่ อ)
เวอร์ ชั่นต่ ำงๆของ WiMAX ในปั จจุบน
ั มีดงั นี้
- IEEE 802.16 เป็ นมาตรฐานที่ให้ระยะทางการเชื่อมโยง 1.6-4.8 กิโลเมตร เป็ น
มาตรฐานเดียวที่สนับสนุน LoS (Line of Sight) คือต้องไม่มีสิ่งกีดขวางระหว่าง
เครื่ องรับเครื่ องส่ ง และรันบนย่านความถี่ 10-16 GHz
- IEEE 802.16a เป็ นมาตรฐานที่ปรับปรุ งจาก IEEE 802.16 เดิม รันบนความถี่ยา่ น 2-11
GHz โดยคุณสมบัติที่ได้รับการปรับปรุ งจากมาตรฐาน 802.16 เดิมคือ การรองรับการ
ทางานแบบ NLoS (Non-Line-of-Sight) คือแม้มีสิ่งกีดขวางก็ยงั ทางานได้ รัศมีทำกำร
30 ไมล์ และควำมเร็วในกำรรับส่ งข้ อมูลสู งสุ ด 75 Mbps นัน่ หมายความว่า WiMAX
สามารถรองรับบริ การเครื อข่ายความเร็ วสูงระดับ ที 1 (T1-Type) จานวน 60 ราย และ
บริ การ DSL จานวนอีกหลายร้อยรายได้พร้อมกันโดยไม่มีปัญหา
- IEEE 802.16e เป็ นมาตรฐานที่ได้รับการพัฒนาขึ้นเพือ่ สนับสนุนกำรทำงำนร่ วมกับ
อุปกรณ์ โมบำยล์ เช่น พีดีเอและโน้ตบุ๊ค รัศมีทำกำร 1.6-4.8 กิโลเมตร สนับสนุนการ
เชื่อมต่อในขณะเคลื่อนที่โดยไม่กระทบกับคุณภาพและความเสถียรของระบบ
28
SPU
Information Science Institute of Sripatum University
Mobile Phones
Smart Phones
SPU
Information Science Institute of Sripatum University
Mobile Phone

โทรศัพท์เคลื่อนที่มกั จะถูกจัดเป็ นยุค หรื อรุ่ น (Generation)
1G, 2G, 3G, 4G

โทรศัพท์เคลื่อนที่ในยุคแรก (First Generation) เป็ นโทรศัพท์แบบ
อนาลอก และใช้สาหรับรับส่ งข้อมูลเสี ยง (Voice) เพียงอย่างเดียว ตัวอย่าง
ของระบบเคลื่อนที่ในยุคที่หนึ่งคือ AMPS (Advanced Mobile Phone
Service), TACS

โทรศัพท์เคลื่อนที่ในยุคแรกใช้การแบ่งช่องสัญญาณเพื่อให้ผใู้ ช้หลายๆคน
ใช้งานได้พร้อมกัน (Multiple Access) ใช้วิธี FDMA (Frequency Division
Multiple Access) โดยการแบ่งคลื่นความถี่ออกเป็ นช่วงๆ ตามจานวนของ
ช่องสัญญาณที่ตอ้ งการ
30
SPU
Information Science Institute of Sripatum University
2G (Second Generation : 2G)

โทรศัพท์เคลื่อนที่ในยุคที่สอง (Second Generation) ใช้การแบ่ง
ช่องสัญญาณทั้งแบบ FDMA และ TDMA (Time Division Multiple
Access)

TDMA (Time Division Multiple Access) ซึ่ งเป็ นการใช้ช่องสัญญาณ
ร่ วมกันโดยมีการแบ่งการใช้ช่องสัญญาณตามช่วงเวลา

ตัวอย่างของโทรศัทพ์เคลื่อนที่ในยุคที่สองคือ Digital Amps และ GSM
(Global System for Mobile Communications)
31
SPU
Information Science Institute of Sripatum University
2G (Cont.)

โทรศัพท์ในยุคที่สองมีคุณสมบัติดีกว่าในยุคที่หนึ่ งมาก มีบริ การเสริ ม
อื่นๆเพิ่มขึ้นอีกมากมาย รวมทัง้ สามารถสื่ อสารข้อมูล
ประเภทอื่นๆได้นอกเหนือจากข้อมูลเสี ยงเพียงอย่างเดียว เช่นสามารถ
รับส่ งข้อความ, หรื อ เชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ตได้ เป็ นต้น

อย่างไรก็ตามความเร็ วในการสื่ อสารข้อมูลของโทรศัพท์เคลื่อนที่ในยุคที่
สองนั้นค่อนข้างช้า คือประมาณ 9600 bps ทาให้ไม่เหมาะสมกับการ
รับส่ งข้อมูลขนาดใหญ่
32
SPU
Information Science Institute of Sripatum University
GPRS

GPRS (General Packet Radio Service)

การรับส่ งข้อมูลจะถูกตัดแบ่งออกเป็ นส่ วนๆ หรื อเรี ยกว่า Packet

ด้วยมาตรฐานใหม่น้ ี ส่ งให้ผใู ้ ห้บริ การสามารถคิดบริ การเพิ่มเติมใหม่ๆ
และสามารถหารายได้จากการให้บริ การข้อมูลจากมาตรฐานความเร็ วใหม่น้ ี
ได้มากขึ้น

ปั จจัยหนุนที่จะช่วยกระตุน้ ให้ผคู ้ นหันมาใช้บริ การข้อมูลมากขึ้นคือ
ความสามารถของตัวโทรศัพท์เอง ซึ่ งโทรศัพท์หลายรุ่ นในยุคหลังๆ เริ่ ม
ติดตั้งกล้องดิจิทลั เพื่อใช้บนั ทึกภาพลงเครื่ อง และส่ งข้อมูลผ่านจีพีอาร์ เอส
ซึ่ งคิดบริ การตามขนาดของข้อมูลที่ส่ง
33
SPU
Information Science Institute of Sripatum University
GPRS

นอกจากความสามารถในเรื่ องของการส่ งภาพ คลิปวิดีโอ ไฟล์เสี ยง ผ่าน
โทรศัพท์ที่มีคุณสมบัติเหล่านี้เท่านั้น มาตรฐานจีพีอาร์ เอสยังเปิ ดช่องทาง
ให้นกั พัฒนาเกมออกเกมใหม่ๆ โดยเฉพาะอย่างเยิง่ เกมที่พฒั นาบนพื้นฐาน
ของภาษาจาวา มาตรฐานจีพีอาร์ เอสยังได้เปิ ดมิติใหม่ในการใช้งาน
โทรศัพท์เป็ นเครื่ องรับโทรทัศน์ได้ดว้ ย

AIS มุ่งกระตุน้ ให้ตลาดหันมาใช้และทาความคุน้ เคยกับการสื่ อสารผ่าน
เครื อข่ายจีพีอาร์ เอส

เปิ ดตัว “MobileLIFE" รู ปแบบของการให้บริ การเสริ ม ข้อมูลให้กบั
ผูใ้ ช้บริ การ
34
SPU
Information Science Institute of Sripatum University
EDGE

DTAC ของบริ ษทั โทเทิ่ล แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชัน่ ให้บริ การสื่ อสารข้อมูล
ผ่านเครื อข่ายจีพีอาร์ เอสมากขึ้นเช่นกัน และเตรี ยมลู่ทางที่จะก้าวสู่ ยคุ 2.75
ภายใต้ชื่อเทคโนโลยี EDGE

EDGE : Enhanced Data rates for Global Evolution

เป็ นระบบเครื อข่ายในยุค 2.75 G

EDGE ได้รับการพัฒนาขึ้นมาโดยบริ ษทั อีริคสัน เมื่อปี พ.ศ.2538
35
SPU
Information Science Institute of Sripatum University
EDGE

EDGE ช่วยให้ผใู้ ห้บริ การโทรศัพท์มือถือ ที่ยงั ไม่พร้อมในการวางเครื อข่าย 3 G โดย
ยกประสิ ทธิภาพของการบริ หารจัดการการส่ งสัญญาณผ่านช่องความถี่ให้ดียงิ่ ขึ้น และ
เป็ นเพิ่มความสามารถในการส่ งถ่ายข้อมูลให้มากกว่าเดิม

EDGE นั้นมีความสามารถในการส่ งถ่ายข้อมูลตามทฤษฎีแล้ว มีค่าสูงถึง 473.6 Kbps
แต่ในความจริ งอาจจะอยูท่ ี่ 384 Kbpsโดยอีริคสันให้ชื่อเรี ยก EDGE เป็ นทางการอีก
อย่างหนึ่งว่า GSM384
36
SPU
Information Science Institute of Sripatum University
3G (Third-generation Wireless : 3G)

NTT DoCoMo ในประเทศญี่ปุ่น ที่ได้เปิ ดบริ การเครื อข่ายระบบ 3G เป็ น
ครั้งแรก ของโลกเมื่อเดือนตุลาคมในปี 2001

อุปสรรคและความท้าทายสาหรับผูใ้ ห้บริ การ 3G เหล่านี้ก็ คือ ความ
ซับซ้อนของเทคโนโลยี และค่าใช้จ่ายในการอัพเกรด โครงสร้างระบบ
เครื อข่ายเดิม ตลอดจนเครื่ องโทรศัพท์มือถือ ที่จะต้องรองรับการทางาน ใน
ระบบ 3G และการส่ งผ่านข้อมูลมัลติมีเดีย
37
SPU
Information Science Institute of Sripatum University
3G (Cont.)

ระบบเครื อข่ายโทรศัพท์มือถือในยุคที่ 3 (Third-generation Wireless ; 3G) เป็ นระบบ
เครื อข่ายที่หลายๆ ประเทศทัว่ โลก กาลังให้ความสนใจมากที่สุด

หลายประเทศก็เริม
่ ให้บริการโทรศัพทภายใต
เครื
้
้ อขายนี
่
์
กันแล้ว ไม่วา่ จะเป็ น ญี่ปุ่น, จีน, สหรัฐอเมริ กา, เกาหลี รวมจนถึงไทย ในนาม
ของผูใ้ ห้บริ การรายใหม่อย่าง Hutch

การเริ่ มต้นของ Hutch เป็ นที่ได้เปรี ยบตรงที่เริ่ มนับหนึ่งใหม่ท้ งั หมด โดยเลือกวางระบบ
เครื อข่าย 3 จี ด้วยการเปิ ดตัวเครื อข่ายซีดีเอ็มเอ 2000 วันเอ็กซ์ (CDMA 2000
1X) และหันมาโฆษณาประชาสัมพันธ์ความสามารถ หรื อศักยภาพที่สูงขึ้นของการ
สื่ อสารผ่านมือถือ โดยเฉพาะความสามารถในการรองรับงานทางด้านมัลติมีเดีย ทั้งการ
ใช้ส่งภาพและเสี ยง วิดีโอ ผ่านมือถือ หรื อ MMS (Multimedia Messaging Service)
38
SPU
Information Science Institute of Sripatum University
4G (Fourth Generation)

รัฐบาลญี่ปุ่นและรัฐบาลจีนได้ จัดสรุ ปแผนการร่ วมกัน พัฒนาเทคโนโลยี 4
จี ขึน
้ มา เพือ
่ เป้าหมายนาออกสู่บริการลูกค้า
โทรศัพท์มือถือภายในปี 2553

เทคโนโลยี 4 จี ถือว่าเป็ นเครื อข่ายไร้สายความเร็ วสู ง หรือเป็ นทาง
ด่วนข้อมูลแห่งอนาคต เพราะสามารถรับส่ งข้อมูลได้ 100 เมกะบิตต่อ
วินาที จนถึง 1 กิกะบิตต่อวินาที ซึง่ เร็วกวาเทคโนโลยี
3 จี
่
หลายสิ บเท่า
39
SPU
Information Science Institute of Sripatum University
Security Overview

WEP - Wired Equivalent Privacy
40 bit vs. 128 bit
Is Encryption Necessary?

Open access vs. Secured

Other Security Measures
Content Filtering
Network Partitioning
SPU
Information Science Institute of Sripatum University
Security (Encryption, Content Filtering, Privacy, etc.)
Partition The Network
 A safe practice is to create two separate
networks. A private network for day to
day business and a network for public
access. Both can be wireless. These
networks can talk to one another through
a proxy server that will protect the private
network from malicious attacks via the
public network.
SPU
Information Science Institute of Sripatum University
Security (Encryption, Content Filtering, Privacy, etc.)
Encryption

Encryption on the pubic network can be used but
would create administrative overhead. Encryption
keys would have to be changed regularly and
anyone using their own laptop would have to be
given the key.

Encryption works best in a network that does not
allow people to use their own laptops.

Encryption increases privacy, but can be thwarted,
either by software, or by gaining access to a PC
configured with wireless and writing down the key.
SPU
Information Science Institute of Sripatum University
Security (Encryption, Content Filtering, Privacy, etc.)
Content Filtering & Proxy Servers
Web content filtering that has generally been
software on the desktop would have to be
handled by a server if people are allowed to use
their own laptops.
Proxy servers allow you to control what
information people have access to. This is a
good practice anyway, allowing you to control at
a global level what information travels over your
network. It also allows you to track usage.
SPU
Information Science Institute of Sripatum University
Security (Encryption, Content Filtering, Privacy, etc.)
Viruses and Hacker
 Wireless does not add any additional
threat in the way of viruses.
 Anyone, anywhere can attack a network
that is connected to the Internet. Wireless
does not increase that chance. Security
measures such as firewalls, can reduce
the risk.
SPU
Information Science Institute of Sripatum University
Security Planning
Develop a Security Plan. It should include:

What are your special security needs?

What known vulnerabilities exist?

How to safe guard against the risks?

How do you recover from a security breech?
SPU
Information Science Institute of Sripatum University
Virtual Hours
Your wireless network may not stop at your
door. This means anyone can access your
network after hours by sitting outside with a
laptop.
SPU
Information Science Institute of Sripatum University
กำรรักษำควำมปลอดภัยให้ กบั เครือข่ ำย LAN ไร้ สำย

เป็ นสิ่ งที่สาคัญ มากยิง่ กว่าในกรณี ของ เครื อข่ายคอมพิวเตอร์ที่ใช้สาย
เชื่อมต่อโดยทัว่ ไป เนื่องจากการเปิ ดกว้างของเครื อข่าย ซึ่งผูใ้ ดก็ตามที่มี
เครื่ องคอมพิวเตอร์ ที่ติดตั้งอุปกรณ์ NIC แบบ Wi-Fi ต่างก็มีโอกาส
เชื่อมต่อเข้าสู่ระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ได้เท่าเทียมกัน ไม่วา่ จะเป็ น
เครื อข่ายที่ต้ งั ใจเปิ ดให้บริ การกับสาธารณะ ไปจนถึงเครื อข่ายเฉพาะ
องค์กร เครื อข่าย
47
SPU
Information Science Institute of Sripatum University
กำรรักษำควำมปลอดภัยให้ กบั เครือข่ ำย LAN ไร้ สำย (ต่ อ)

สามารถเลือกใช้ได้ มีอยูห่ ลายวิธี

ใช้ ขดี ควำมสำมำรถของมำตรฐำน IEEE 802.11b โดย
จำกัดกำรติดต่ อเข้ ำสู่ ระบบเครือข่ ำยคอมพิวเตอร์ ให้ กบั
เครื่องคอมพิวเตอร์ แต่ ละเครื่อง ทั้งนี้พิจารณาจากเลข
หมาย SSID (Service Set Identifier) ร่ วมกับแอดเดรส
MAC (Media Access Control) เพื่อเพิ่มความปลอดภัย
มากขึ้น
48
SPU
Information Science Institute of Sripatum University
กำรรักษำควำมปลอดภัยให้ กบั เครือข่ ำย LAN ไร้ สำย (ต่ อ)

ใช้ คุณสมบัติ WEP (Wired Equivalent Privacy)
รายละเอียดโดยคร่ าวๆ ของการรักษาความปลอดภัยใน
ลักษณะนี้กค็ ือการกำหนดระดับกำรรักษำปลอดภัยให้ กบั
อุปกรณ์ AP แต่ ละชุด โดยอ้ ำงอิงไปยังแอดเดรส MAC
ซึ่ งเป็ นหมายเลขเฉพาะ ที่ถูกกาหนดตายตัวให้กบั
อุปกรณ์สื่อสารต่างๆ บนเครื อข่าย LAN

เพิม่ กำร Authentication ของ Users โดยใช้โปรแกรม
RADIUS
49
SPU
Information Science Institute of Sripatum University
Next Lecture
Networks Security
50
SPU
Download