Uploaded by Yoonsit Puttipiriya

มาตรฐานดาตาเซนเตอร์ไทย: วสท.

advertisement
มาตรฐาน
ดาตาเซนเตอร์สาหรับประเทศไทย
วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย
ในพระบรมราชูปถัมภ์
บรรยายโดย
นายประสิทธิ์ เหมวราพรชัย
ประธานคณะกรรมการร่างมาตรฐานดาตาเซนเตอร์
ประสิ ทธิ์ เหมวราพรชัย
1
วัตถุประสงค์
เพื่อให้ดาตาเซนเตอร์ในประเทศไทยมีคุณภาพเป็นที่ยอมรับ
เชื่อถือได้และสอดคล้องกับสากล
⚫ เพื่อให้ผู้เกี่ยวข้องกับดาตาเซนเตอร์ในประเทศไทยใช้เป็นหลัก
ในการดาเนินการและอ้างอิง
⚫ เพื่อพัฒนาและยกระดับดาตาเซนเตอร์ขนาดเล็กและขนาดกลาง
⚫ เพื่อให้ดาตาเซนเตอร์มีลักษณะ ประเภท ที่เหมาะสมกับความ
ต้องการใช้งานและความเสี่ยง
⚫
ประสิ ทธิ์ เหมวราพรชัย
2
แนวทางการจัดทามาตรฐาน
⚫
TIA 942
⚫
BICSI 002
⚫
NFPA
⚫
ASHRAE
⚫
มาตรฐาน วสท.
⚫
กฎหมายไทย
⚫
อื่นๆ
ประสิ ทธิ์ เหมวราพรชัย
3
ความรับผิดชอบ
 มาตรฐานนี้เป็นส่วนของข้อกาหนดความต้องการพิเศษเพิ่มขึ้นจาก
มาตรฐานอื่นๆที่เกี่ยวข้อง
 วิศวกร สถาปนิกและผู้เกี่ยวข้องในการ ให้คาปรึกษา ออกแบบและ
คานวณ การก่อสร้าง/การติดตั้ง การใช้งาน การตรวจสอบ การ
บารุงรักษา การซ่อมบารุง จะต้องเป็นผู้ที่มีประกอบวิชาชีพควบคุมใน
ระดับที่สอดคล้องเหมาะสม ซึ่งจะต้องดำเนินกำรให้ถูกต้องตำมหลัก
วิชำกำรสอดคล้องกับมำตรฐำน กฎหมำยและอื่นๆที่เกี่ยวข้องเป็น
พื้นฐำนด้วย
ประสิทธิ ์ เหมวราพรชัย
4
Causes of downtime
Software program
malfunction
Human error
Computer virus
Site disaster
Hardware or
System failure
Causes of downtime and data loss
ประสิทธิ ์ เหมวราพรชัย
(Source: ZDNet by ADIC)
5
ประสิทธิ ์ เหมวราพรชัย
6
ประสิทธิ ์ เหมวราพรชัย
7
ประสิทธิ ์ เหมวราพรชัย
8
Facilities Guideline/Standard?
Uptime®
TIA-942
BICSI-002
(commercial)
Origin
EN-50600
ISO/IEC 22237
USA
USA
USA
Europe
Electrical
Mechanical
Electrical
Mechanical
Architectural
Telecom
Site location
Safety
Security
Efficiency
Electrical
Mechanical
Architectural
Telecom
Site location
Safety
Security
Electrical
Mechanical
Architectural
Telecom
Site location
Safety
Security
Efficiency
Type of
Conformity
Tier
(I-IV)
Rated
(1 – 4)
Class
(F0 – F4)
Class
(1 – 4)
Detailed Spec
public. avail.
No
(high level
guideline)
Yes
(Standard
document)
Yes
(Standard
document)
Yes
(Standard
document)
Main scope of
Topology
Guideline
or Standard
ประสิทธิ ์ เหมวราพรชัย
9
Traditional A/E Design Process
ประสิ ทธิ์ เหมวราพรชัย
10
Data Center A/E Design Process
RFP = Request For Proposal
ประสิ ทธิ์ เหมวราพรชัย
11
สารบัญ
⚫
1. บทนาและวัตถุประสงค์
⚫
2. ขอบเขตและความสัมพันธ์กับพื้นที่ใช้งานต่างๆ
⚫
3. อ้างอิง
⚫
4. นิยาม คาย่อ และหน่วยที่ใช้
⚫
5. การใช้พื้นที่และโครงสร้างพืน้ ฐาน
⚫
6. ข้อกาหนดห้องหรือพื้นทีท่ างเข้าของเคเบิล
⚫
7. การทดสอบเครื่องยนต์กาเนิดไฟฟ้า
ประสิ ทธิ์ เหมวราพรชัย
12
สารบัญ(ต่อ)
⚫
8. ข้อกาหนดงานสถาปัตยกรรมและวิศวกรรมโยธา
⚫
9. ข้อกาหนดงานวิศวกรรมไฟฟ้า
⚫
10. ข้อกาหนดงานวิศวกรรมเครื่องกล
⚫
11. ข้อกาหนดงานป้องกันและระงับอัคคีภัย
⚫
12. ข้อกาหนดงานระบบความมั่นคง
⚫
13. ข้อกาหนดงานระบบอาคารอัตโนมัติ
⚫
14. ข้อกาหนดงานโทรคมนาคม
ประสิ ทธิ์ เหมวราพรชัย
13
สารบัญ(ต่อ)
15. ข้อกาหนดงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
⚫ 16. การตรวจสอบและบารุงรักษาดาตาเซนเตอร์
⚫ 17. การจัดระดับชั้น ดาตาเซนเตอร์
⚫ ภาคผนวก
⚫ ก. วิธีการวัดระดับการใช้พลังงาน
⚫ ข. ตัวอย่างการจัดพื้นที่ดาตาเซนเตอร์
⚫
ประสิ ทธิ์ เหมวราพรชัย
14
2.1.5 การเลือกสถานที่ตั้ง
⚫
โอกาสในการขยายตัว
⚫
ปลอดจากการรบกวนของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
⚫
มีสาธารณูปโภคสนับสนุนทีด่ ี มั่นคง ปลอดภัย บารุงรักษา ซ่อมแซมได้สะดวก
รวดเร็ว
ไฟฟ้า ประปา โทรศัพท์ F/O ขยะ น้าเสีย สถานี
ดับเพลิง ถนน
ฯลฯ
⚫
สภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ
⚫
ปฐพีวิบัติ อุทกภัย วาตภัย ฟ้าผ่า ลักษณะและคุณสมบัติของดิน ระดับ
น้้าในดิน
ประสิ ทธิ์ เหมวราพรชัย
15
2.1.5 การเลือกสถานที่ตั้ง (ต่อ)
⚫
สภาพแวดล้อมด้านการใช้พื้นที่โดยรอบ
⚫
⚫
⚫
⚫
อัคคีภัย การประท้วง-จราจล เสียงรบกวน ฝุ่น ควัน มลภาวะต่างๆ
แหล่งมั่วสุมอบายมุข ฯลฯ
ความเสี่ยงด้านอุบัติภัยจากการอยู่ใกล้แนวและศูนย์กลางคมนาคม
มากเกินไป เช่น ถนนสายหลัก ทางหลวง สถานีรถขนส่ง ท่าเรือ
สนามบิน แนวขึ้นลงเดรื่องบิน เป็นต้น ควรห่างอย่างน้อย 1.6 กม.
คมนาคมสะดวก
แหล่งช่วยเหลือสนับสนุนไม่ไกลเกินไป เช่น สถานีดับเพลิงเป็นต้น
ประสิ ทธิ์ เหมวราพรชัย
16
2.1.5 การเลือกสถานที่ตั้ง (ต่อ)
⚫
สภาพแวดล้อมด้านการใช้พื้นที่โดยรอบ
⚫
⚫
⚫
⚫
อัคคีภัย การประท้วง-จราจล เสียงรบกวน ฝุ่น ควัน มลภาวะต่างๆ
แหล่งมั่วสุมอบายมุข ฯลฯ
ความเสี่ยงด้านอุบัติภัยจากการอยู่ใกล้แนวและศูนย์กลางคมนาคม
มากเกินไป เช่น ถนนสายหลัก ทางหลวง สถานีรถขนส่ง ท่าเรือ
สนามบิน แนวขึ้นลงเดรื่องบิน เป็นต้น ควรห่างอย่างน้อย 1.6 กม.
คมนาคมสะดวก
แหล่งช่วยเหลือสนับสนุนไม่ไกลเกินไป เช่น สถานีดับเพลิงเป็นต้น
ประสิ ทธิ์ เหมวราพรชัย
17
2.2 พืน้ ที่หลักและระบบเคเบิลโทรคมนาคมของดาตาเซนเตอร์ ทั่วไป
และความสั มพันธ์ กบั พืน้ ที่ต่างๆภายนอกดาตาเซนเตอร์
ผนังอาคาร
พืน
้ ที่สานักงานทั่วไป
ห้ องโทรคมนาคมและบริภณ
ั ฑ์ สาหรับ
บริการภายนอกห้ องดาตาเซนเตอร์
ดาตาเซนเตอร์
สานักงานภายใน
ดาตาเซนเตอร์
ศู นย์ ปฏิบัติการ
ห้ องสาหรับทางเข้ าต่ างๆ
ห้ องโทรคมนาคมและ
ผนังอาคาร
บริภณ
ั ฑ์ สาหรับบริการ
ภายในห้ องดาตาเซนเตอร์
ห้ องเครื่ องกลและไฟฟ้ า
ของดาตาเซนเตอร์
ห้ องเก็บ ขนถ่ าย วัสดุ
อุปกรณ์ ต่างๆ
ห้ องคอมพิวเตอร์
ประสิ ทธิ์ เหมวราพรชัย
18
5.1.2 แบบโทโพโลยีของดาตาเซนเตอร์พื้นฐาน
ประสิ ทธิ์ เหมวราพรชัย
19
5.1.2.2โทโพโลยีของดาตาเซนเตอร์ขนาดย่อม
ประสิ ทธิ์ เหมวราพรชัย
20
5.1.2.3 แบบโทโพโลยีของดาตาเซนเตอร์
ชนิดกระจายที่มีห้องทางเข้าหลายห้อง
ประสิ ทธิ์ เหมวราพรชัย
21
5.2 งานสถาปัตยกรรมและวิศววกรรมโยธา
o UPS, sealed maintenance-free battery < 100 kVA ให้ติดตั้งในห้อง
คอมพิวเตอร์ได้ แต่ถ้า battery เป็นขนิดอื่นต้องติดตั้งแยกห้องต่างหาก
o ห้องคอมพิวเตอร์ วัดความสูงที่ > 2.6 เมตร จากพื้นถึงอุปกรณ์ต่าสุดที่ห้อย
จากเพดาน
o อุปกรณ์ตั้งพื้นใดๆที่สูงเกินกว่า 2.13 เมตร ต้องห่างจากอุปกรณ์ต่าสุดที่
ห้อยจากเพดาน > 460 มม.
ประสิ ทธิ์ เหมวราพรชัย
22
5.2 งานสถาปัตยกรรมและวิศววกรรมโยธา (ต่อ)
o วัสดุที่ใช้ต้องเป็นชนิดไม่ทาให้เกิดฝุ่นและดูดซึมความชื้น และไม่ทาให้
เกิดไฟฟ้าสถิตย์
o แสงสว่างที่ช่องทางเดินระหว่างตู้บริภัณฑ์ที่ระดับสูงจากพื้น 1 เมตร >
500 lx แนวนอน และ 200 lx แนวตั้ง
o โคมไฟแสงสว่างฉุกเฉินแลป้ายต่างๆต้องเป็นไปตามมาตรฐาน วสท.
2004
o ประตูต้องกว้าง > 1 เมตร สูง > 2.2 เมตร เป็นชนิดเปิดออก ปิดล้อกได้
ไม่มีเสากลาง ห้ามใช้ชนิดบานเลื่อน
ประสิ ทธิ์ เหมวราพรชัย
23
5.2 งานสถาปัตยกรรมและวิศววกรรมโยธา (ต่อ)
o พื้นห้องคอมพิวเตอร์ต้องรับน้าหนัก > 700 กก./ตร.มม. แต่ควรให้สามารถ
รับน้าหนักกระจายได้ > 1,200 กก./ตร.มม.
o เพดานห้องคอมพิวเตอร์ต้องรับน้าหนักแขวนจากใต้พื้นได้ > 120 กก./
ตร.มม. แต่ควรให้สามารถรับน้าหนักแขวนจากใต้พื้นได้ > 240 กก./ตร.ม
ม.
o ต้องคานึงถึงภัยธรรมชาติ เช่น วาตภัย อุทกภัย แผ่นดินไหว
ประสิ ทธิ์ เหมวราพรชัย
24
5.3 ระบบไฟฟ้า
o ระบบจ่ายไฟฟ้าให้ห้องคอมพิวเตอร์ต้องแยกต่างหาก
o ต้องแยกแผงจ่ายไฟฟ้าสาหรับคอมพิวเตอร์และบริภัณฑ์ออกจากแผง
ไฟฟ้าทั่วไป
o ในห้องคอมพิวเตอร์ต้องมีเต้ารับคู่สาหรับใช้งานทั่วไปรอบห้องมี
ระยะห่างกัน < 4 เมตร
o ระบบไฟฟ้าและการต่อลงดินต้องเป็นไปตามมาตรฐานติดตั้งทางไฟฟ้า
สาหรับประเทศไทย วสท. 2001 และที่กาหนดเพิ่มเติมในมาตรฐานนี้
ประสิ ทธิ์ เหมวราพรชัย
25
5.4 ระบบปรับสภาพอากาศในห้องคอมพิวเตอร์
o อุณหภูมิ 20°c - 25°c
o ความชื้นสัมพัทธ์ 40% - 55%
o จุดกลั่นตัวสูงสุด 21°c
o อัตราการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิสูงสุด 5°c ต่อชั่วโมง
o การวัด ให้วัดที่จุดสูงจากพื้น 1.5 เมตร ทุกระยะ 3 – 6 เมตร ตาม
แนวกึ่งกลางช่องทางเดินเย็นและบริเวณอากาศเข้าบริภัณฑ์
o ความดันอากาศในห้องต้องสูงกว่าภายนอกห้องเล็กน้อย (3-12 Pa)
o ปราศจากการสั่นสะเทือน
ประสิ ทธิ์ เหมวราพรชัย
26
6. ข้อกาหนดห้องหรือพื้นที่ทางเข้าของเคเบิล
o 6.4.3 เพดานสูงจากพื้นถึงสิ่งกีดขวาง > 2.6 เมตร และสาหรับตู้ rack
ที่สูงกว่า 2.13 เมตร ระยะห่างถึงระดับกระจายน้าดับเพลิงต้อง > 460
มม.
o 6.4.6 ประตู กว้าง > 1 เมตร สูง > 2.2 เมตร
o 6.4.10.1 อุณหภูมิ 20°c - 25°c
ประสิ ทธิ์ เหมวราพรชัย
27
8. งานสถาปัตย์ โยธา และพื้นยกสาเร็จรูป
o 8.1.1.2 ทางลาดกว้าง > 90 ซม. และมีที่ว่างเป็นพื้นที่ราบทั้งด้านบนและ
ด้านล่าง > 1.5 เมตร
o 8.1.1.4 ต้องแยกห้องการพิมพ์ออกจากห้องคอมพิวเตอร์ และมีระบบกรอง
ฝุ่นที่ช่องลมกลับ
o 8.1.3.2 Cable tray ใต้พื้นยกต้องเป็นชนิดระบาย
อากาศได้ และไม่กีดขวางการไหลของอากาศ มีความลึก < 150 มม.
o 8.1.3.3 พื้นยกต้องเป็นชนิดไม่ติดไฟและมีพิกัดการลามไฟไม่เกิน 25 ตาม
NFPA 255
ประสิ ทธิ์ เหมวราพรชัย
28
8. งานสถาปัตย์ โยธา และพื้นยกสาเร็จรูป (ต่อ)
o 8.2.2 วางแถวตู้ rack ให้ด้านหน้าแต่ละแถวหันเข้าหากันโดยให้ลม
เย็นเข้าทางด้านหน้าเป็นช่องทางเดินเย็น และด้านหลังแถวหันเข้าหา
กันเป็นช่องทางเดินร้อนซึ่งลมผ่านตู้ออกมาด้านหลังนี้
กำหนดให้เคเบิลกระจำยไฟฟ้ำใต้พื้นยกติดตั้งตำมแนวช่องทำงเดินเย็น
ส่วนเคเบิลโทรคมนำคมใต้พื้นยกให้ติดตั้งใต้ตำมแนวช่องทำงเดินร้อน
ประสิ ทธิ์ เหมวราพรชัย
29
Placement of Cable Trays in Hot Aisle/Cold Aisle
Layout
ประสิ ทธิ์ เหมวราพรชัย
30
ประสิ ทธิ์ เหมวราพรชัย
31
ประสิ ทธิ์ เหมวราพรชัย
32
ประสิ ทธิ์ เหมวราพรชัย
33
ประสิ ทธิ์ เหมวราพรชัย
34
8. งานสถาปัตย์ โยธา และพื้นยกสาเร็จรูป (ต่อ)
o 8.2.3.2 รางเคเบิลเหนือศรีษะหรือตู้สูงต้องมีระยะห่าง
จากหัวกระจายน้าดับเพลิง > 500 มม. ทุกทิศทาง
o 8.2.3.4 แนวสาย UTP ต้องห่างจากโคมฟลูออเรส
เซนต์ > 125 มม.
o 8.2.4.1 แถวตู้ rack ด้านหน้าต้องห่าง 1.0 – 1.2 ม.
และด้านหลังห่าง 0.6 -1.0 ม.
o 8.2.4.3 ตู้และ rack สูง < 2.4 ม.
ประสิ ทธิ์ เหมวราพรชัย
35
9. ข้อกาหนดงานวิศวกรรมไฟฟ้า
o 9.1.1 ต้องทาตามมาตรฐานติดตั้งทางไฟฟ้าสาหรับ
ประเทศไทย วสท. 2001 และที่ระบุไว้ในมาตรฐานนี้
o 9.1.2 หม้อแปลงในห้องคอมพิวเตอร์ต้องเป็นชนิดแห้งเท่านั้น
o 9.1.3 การป้องกันเสิร์จฟ้าผ่าต้องทาตามมาตรฐานการ
ป้องกันฟ้าผ่า วสท. 2007, 2008, 2009, 2010 และที่กาหนดเพิ่มใน
มาตรฐานนี้
o 9.1.5 ห้ามตัดต่อสายไฟฟ้าใต้พื้นยก ยกเว้นทาในกล่องหรือบริภัณฑ์ต่อสาย
สาหรับติดตั้งใต้พื้นยก
ประสิ ทธิ์ เหมวราพรชัย
36
9. ข้อกาหนดงานวิศวกรรมไฟฟ้า (ต่อ)
o 9.1.6 ห้องคอมพิวเตอร์ต้องติดตั้งระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและโคม
ไฟป้ายทางออกฉุกเฉินตามมาตรฐาน วสท. 2004
o 9.2.1 ขนาดรับกระแสของสายวงจรย่อย(IT) > 125% connected
load
o 9.3.2 ระบบจ่ายไฟฟ้าหลักต้องแยกต่างหากจากห้องคอมพิวเตอร์หาก
อยู่ติดกันต้องกั้นแยกด้วยผนังทนไฟ
ประสิ ทธิ์ เหมวราพรชัย
37
9. ข้อกาหนดงานวิศวกรรมไฟฟ้า (ต่อ)
o 9.3.3 ระบบไฟฟ้าของดาตาเซนเตอร์ต้องแยกออกจากระบบไฟฟ้าของ
อาคาร แต่สามารถใช้บริภัณฑ์ประธานร่วมกันได้
o 9.4.6 ปริมาณเชื้อเพลิงสารองสาหรับเครื่องกาเนิดไฟฟ้าต้อง > 8
ชั่วโมง ของการเดินเครื่องเต็มกาลัง
o เครื่องกาเนิดไฟฟ้าจึงควรเป็นชนิดสามารถเดินเครื่องเต็มกาลังได้อย่าง
ต่อเนื่องตั้งแต่ 8 ชั่วโมง ขึ้นไป
ประสิ ทธิ์ เหมวราพรชัย
38
9. ข้อกาหนดงานวิศวกรรมไฟฟ้า (ต่อ)
ตารางที่ 9.1 ค่าตัวคูณสาหรับส่วนย่อยต่างๆของระบบกระจายไฟฟ้า
ส่วนย่อยต่าง ๆ ของระบบกระจายไฟฟ้า
ตัวคูณ
(N = เกณฑ์ความต้องการใช้ไฟฟ้าส้าหรับบริภัณฑ์ IT ที่ค้านวณออกแบบไว้)
ยูพีเอส
N x 1.25
แผงกระจายไฟฟ้า (PDU)
N x (1.5 ถึง 2.0)
แผงวงจรย่อย (RPP)
N x (2.0 ถึง 3.0)
แถวเต้ารับ (POU)
Nc x 1.25
(Nc = โหลด IT สูงสุดต่อตู้หรือแรค)
ประสิ ทธิ์ เหมวราพรชัย
39
9. ข้อกาหนดงานวิศวกรรมไฟฟ้า (ต่อ)
รูปที่ 9.2 ตัวอย่างรูปแบบการต่อลงดิน(อ้างอิงจาก BICSI 002)
ประสิ ทธิ์ เหมวราพรชัย
42
9. ข้อกาหนดงานวิศวกรรมไฟฟ้า (ต่อ)
9.6 การกระจายไฟฟ้า
o แผงวงจรย่อย (Remote Power Panel – RPP) ติดตั้งในห้อง
คอมพิวเตอร์อยู่บนผนังด้านหัวหรือปลายแถวตู้ rack
o แผงกระจายไฟฟ้า (power Distribution Unit – PDU) ให้อยู่นอก
ห้องคอมพิวเตอร์ ใกล้ ชิด สะดวก เข้าถึงได้ง่าย สามารถเข้าตรวจสอบ
บารุงรักษา ซ่อมแก้ไขได้อย่างรวดเร็ว
ประสิ ทธิ์ เหมวราพรชัย
43
9. ข้อกาหนดงานวิศวกรรมไฟฟ้า (ต่อ)
9.6 ข้อกาหนดหลัก
o 9.7.1 ต้องมีแหล่งจ่ายไฟฟ้าสารองที่พอเพียงต่อการบริการ
o 9.7.2 ต้องมี UPS ที่พอจ่ายในภาวะโหลดวิกฤติ
o 9.7.3 มีระบบไฟฟ้าที่ปลอดภัย มีการต่อลงดินสาหรับ IT equipments
ที่เหมาะสมเป็นไปตามมาตรฐานที่เกี่ยวข้อง
o ถ้าไม่เป็นไปตามที่ระบุทั้งสามข้อ ให้ถือเป็นระดับชั้น 0
ประสิ ทธิ์ เหมวราพรชัย
44
9. ข้อกาหนดงานวิศวกรรมไฟฟ้า (ต่อ)
9.8 การต่อฝากและการต่อลงดิน
o 9.8.1.1 ให้ทาตามมาตรฐาน วสท. 2001 (บทที่ 4)
o 9.8.1.2 ส่วนที่เป็นโลหะที่ไม่ได้ใช้เป็นตัวนาไฟฟ้าต้องต่อฝากและต่อลง
ดินทั้งสิ้น
o 9.8.1.3 ต้องใช้วิธี Solid Ground เท่านั้น
o 9.8.1.5 (6) ต้องฝังวงแหวนสายดินรอบอาคารด้วย
สายทองแดงเปลือยขนาด > 120 ตร.มม.
ประสิ ทธิ์ เหมวราพรชัย
45
9. ข้อกาหนดงานวิศวกรรมไฟฟ้า (ต่อ)
9.8.3 อุปกรณ์ป้องกันเสิร์จ (SPD)
o 9.8.3.1 ไม่มี SPD ถืออยู่ในประเภท 0
o 9.8.3.2 จุดติดตั้ง SPDสาหรับป้องกันเสิร์จในกระแสไฟฟ้าสลับ ดังนี้
oทางเข้าของ สาธารณูปโภคต่างๆ
oบัสของ GEN.
oจุดทางเข้าและทางออกของ UPS
oตู้แผงสวิตช์จ่ายไฟฟ้าของ UPS
oตู้แผงสวิตช์จ่ายไฟฟ้าหลัก และแผงจ่ายไฟฟ้าย่อยต่างๆ
oห้ามติดตั้ง SPD ในตู้สวิทช์เกียร์ ยกเว้นที่ออกแบบไว้เฉพาะ
ประสิ ทธิ์ เหมวราพรชัย
46
9. ข้อกาหนดงานวิศวกรรมไฟฟ้า (ต่อ)
9.8.4 การป้องกันเสิร์จของระบบโทรคมนาคม
o 9.8.4.1 การป้องกันปฐมภูมิ
o SPD ต้องได้ CE, UL 497, UL 1449 หรือที่การไฟฟ้าระบุ
o ต้องติดตั้งที่จุดสายไฟฟ้าเข้าออกอาคาทุกจุด
o ขั้วต่อลงดินของ SPD ต้องต่อฝากกับบัสบาร์ประธานของการต่อลงดินของอาคาร
(Main Grounding Busbar – MGB) หรือบัสบาร์ประธานของการต่อลงดินของ
ระบบโทรคมนาคม (Telecommunications Main Grounding Busbar –
TMGB)
o ขนาดสายดินของ Primary single line SPD > 6 ตร.มม.
o ขนาดสายดินของ Primary multiple line SPD > 16 ตร.มม.
ประสิ ทธิ์ เหมวราพรชัย
47
9. ข้อกาหนดงานวิศวกรรมไฟฟ้า (ต่อ)
9.8.4 การป้องกันเสิร์จของระบบโทรคมนาคม
o 9.8.4.2 การป้องกันทุติยภูมิ
oต้องสอดคล้องกับ Primary SPD
oจ้ากัด Transient Over Voltage
oป้องกันแรงดันเหนี่ยวน้าผิดปกติ
oติดตั้งให้ชิดติดกับบริภัณฑ์ที่สุดเท่าที่จะท้าได้
oขนาดสายดินของ Secondary single line SPD > 6 ตร.มม.
oขนาดสายดินของ Secondary multiple line SPD > 16 ตร.มม.
ประสิ ทธิ์ เหมวราพรชัย
48
9. ข้อกาหนดงานวิศวกรรมไฟฟ้า (ต่อ)
9.8.5 วงแหวนการต่อลงดินของอาคาร
o 9.8.5.1 อาคารที่ต้องมีระบบป้องกันฟ้าผ่าหรือมีการจ่ายไฟฟ้าเข้าหลายจุดต้องฝังวง
แหวนการต่อลงดินรอบอาคาร
o การต่อเชื่อมตัวน้าใดๆให้ใช้วิธี Exothermic Welding เท่านั้น
o ให้ต่อฝากกับลวดเหล็กของเสาของอาคารทุกเสา
o สามารถใช้หลักดินเสริม Concrete encased Electrodes หรือ Ufer Electrodes
ได้โดย
oตัวน้าหลักดินหุ้มด้วยคอนกรีตหนา > 51 มม.
oตัวน้าอาจมี 1 หรือหลายเส้นแต่ต้องยาว > 6.0 ม.
oถ้าใช้ทองแดงเปลือย ขนาด > 25 ตร.มม.
oถ้าใช้เหล็กเส้นเสริมแรงต้อง Zinc galvanized ขนาด > 12.7 ตร.มม.
49
ประสิ ทธิ์ เหมวราพรชัย
9. ข้อกาหนดงานวิศวกรรมไฟฟ้า (ต่อ)
9.8.5 วงแหวนการต่อลงดินของอาคาร
o 9.8.5.2 ตัวนาวงแหวนการต่อลงดิน
o สายทองแดงเปลือยตีเกลียว > 120 ตร.มม.
o ฝังดินลึก > 0.8 ม.
o ห่างจากผนังอาคาร > 1 ม.
o เชื่อมกับหลักดิน copper-clad steel ขนาด > 19 มม. ยาว 3 ม. ติดตั้งตามแนววง
แหวนโดยรอบทุกระยะ 6-12 ม. พร้อมบ่อทดสอบ 4 มุมของอาคาร
o ค่าความต้านทานลงดินวัดจากระบบ Common grounding electrode system
ต้อง < 5 โอห์ม ด้วยวิธี fall of potential ตามมาตรฐาน ANSI/IEEE std. 81
ประสิ ทธิ์ เหมวราพรชัย
50
9. ข้อกาหนดงานวิศวกรรมไฟฟ้า (ต่อ)
9.8.6 การต่อฝากแลการต่อลงดินเสริม
รูปที่ 9.3 ตัวอย่าง อ้างอิงจาก BICSI 002
ประสิ ทธิ์ เหมวราพรชัย
51
9. ข้อกาหนดงานวิศวกรรมไฟฟ้า (ต่อ)
9.9 วงจรตาข่ายประสาน
(Mesh Bonding Network – Mesh BN)
o 9.9.1 ลด common mode noise < 30 MHz ด้วยตาข่ายตัวนาแบน
60x60 ซม.
o 9.9.2 Bonding & Grounding ของระบบโทรคมนาคม ให้เป็นไปตาม
ANSI/TIA 942, ANSI-j-STD-607-A, IEEE std 1100 และ ETSI 300 253
v2.1.1(2002-04) กรณีระบบจ่ายไฟฟ้า TN-S และระบบไฟฟ้าส่วนการใช้
ไฟฟ้า TN-C
ประสิ ทธิ์ เหมวราพรชัย
53
9. ข้อกาหนดงานวิศวกรรมไฟฟ้า (ต่อ) 9.9 วงจรตาข่าย
ประสาน
(Mesh Bonding Network – Mesh BN)
o 9.9.2 .1 การประสานและการต่อลงดิน AC และ DC ของระบบโทรคมนาคม
o ถ้าใช้ตัวน้ากลม ให้ใช้ขนาด 16 – 50 ตร.มม.
o ตัวน้าประสานเสริมต่อลงดิน (Supplementary Bonding Grid – SBG) ให้ใช้
ตัวน้าทองแดงแบนหนา 0.40 มม. กว้าง 50 มม.เชื่อมประสานเป็นตาข่ายด้วย
วิธี Exothermic welding
o ต้องเชื่อมกับฐานเสาพื้นยก ทุกๆต้นที่ 6 ถ้าเป็นตัวน้าแบน แต่ถ้าเป็นตัวน้ากลม
ต้องทุกๆเสาต้นที่ 3
o ระยะห่างของตาข่ายไม่เกิน 600 มม.
ประสิ ทธิ์ เหมวราพรชัย
54
ตัวนำต่อลงดิน, GE
ตัวนำประสำนสำหรับอุปกรณ์
โทรคมนำคม, TEBC
ประสำนเข้ำกับเหล็ก
โครงสร้ำงอำคำร
แบกโบนกำรประสำนสำหรับ
ระบบโทรคมนำคม, TBB
ตัวนำประสำนสำหรับ
อุปกรณ์โทรคมนำคม,
TEBC
แบกโบนกำรประสำนสำหรับ
ระบบโทรคมนำคม, TBB
บัสบำร์ตอ่ ลงดินสำหรับ
ระบบโทรคมนำคม, TGB
วงจรเชื่อมต่อประสำน
แผงไฟฟ้ำ
กระแสสลับ
สำยเคเบิลประธำนเข้ำอำคำร
บัสบำร์ประธำนกำรต่อลงดินสำหรับ
ระบบโทรคมนำคมของอำคำร, TMGB
ตัวนำประสำนสำหรับ
ระบบโทรคมนำคม, BCT
N
G
ระบบแท่งหลักดิน,
GES
ตัวนำต่อหลักดิน,
GEC
ตัวนำประธำนเข้ำอำคำร
ระบบกระแสสลับ
กำรประสำนระบบท่อน้ ำเข้ำอำคำร
กำรประสำนข้ำมมิเตอร์ น้ ำเข้ำอำคำร
ประสิ ทธิ์ เหมวราพรชัย
รูปที่ 9.4 การประสานและต่อลงดินของโครงสร้างพืน้ ฐานของโทรคมนาคม (อ้างอิงจาก BICSI 002)
55
9.9 วงจรตาข่ายประสาน
(Mesh Bonding Network – Mesh BN)
ตาราง 9.2
ขนาดตัวนาเปลือยต้องไม่เล็กกว่า
(ตารางมิลลิเมตร)
การเชื่อมต่อ
เงื่อนไข
TMGB - MGB
EGS- TMGB
PDU-TMGB/TGB
120
120
50
บริภัณฑ์ การปรับสภาพอากาศ-ตาข่ายประสาน
16
เหล็กโครงสร้าง-ตาข่ายประสาน
25
1 และ 2
เหล็กตาข่ายฐานราก-ตาข่ายประสาน
25
3
Cable management-tray,
ฐานเสาพื้นยก-ตาข่ายประสาน
ท่อสปริงเกอร์-ตาข่ายประสาน
16
16
16
4
5
ท่อของบริภัณฑ์ชุดปรับสภาพอากาศ-ตาข่ายประสาน
16
6
ตู้บริภัณฑ์-ตาข่ายประสาน
16
6
เครื่องห่อหุ้มอุปกรณ์-ตาข่ายประสาน
16
6
ตัวโครง-ตาข่ายประสาน
โครงโลหะ-ตาข่ายประสาน
16
16
6
ประสิ ทธิ์ เหมวราพรชัย
56
9. ข้อกาหนดงานวิศวกรรมไฟฟ้า (ต่อ)
รูปที่ 9.5 ตัวอย่างสาหรับการจัด MCBN สาหรับบริภณั ฑ์ ICT ใน MCBN (อ้างอิงจาก IEEE Std.1100)
ประสิ ทธิ์ เหมวราพรชัย
57
10 ข้อกาหนดงานวิศวกรรมเครื่องกล
o 10.1 ระบบปรับสภาพอากาศทีจ่ายให้กับพื้นที่ใช้งานอื่นๆหากนามาใช้
กับห้องคอมพิวเตอร์ ต้องติดตั้งลิ้นกันไฟและลิ้นกันควันแบบอัตโนมัติ
o 10.1.1 Fire & Smoke damper ต้องทางานสัมพันธ์กับ Smoke
detector และปิดลิ้นทันทีที่มีการปลดวงจรระบบปรับสภาพอากาศ
o 10.1.2 ห้ามเดินท่อลมที่จ่ายพื้นที่อื่นๆผ่านห้องคอมพิวเตอร์ หาก
หลีกเลี่ยงไม่ได้ต้องติดตั้งลิ้นกันควันภายในท่อลมดังกล่าว วัสดุหรือ
ฉนวนบุ ท่อลมต้องมีดัชนีการลามไฟไม่เกิน 25 และดัชนีการเกิดควันไม่
เกิน 50 ตามมาตรฐาน วสท.
ประสิ ทธิ์ เหมวราพรชัย
58
11 ข้อกาหนดงานระบบป้องกันอัคคีภัย
o (1) ห้องคอมพิวเตอร์ต้องแยกจากพื้นที่อื่นในอาคารด้วยโครงสร้างทนไฟ
> 1 ชม.
o (2) ห้อง เครื่องพิมพ์ ปฏิบัติการณ์ ไฟฟ้า ทางเข้า แบตเตอรี่ staging
ผนังต้องทนไฟ > 1 ชม.
o (3) ผนังห้องเก็บสื่อบันทึกที่สาคัญต้องทนไฟ > 2 ชม.
o (4) พื้นและเพดานห้องคอมพิวเตอร์ต้องทนไฟ > 2 ชม.
o *ระบบดับเพลิงพื้นฐานสาหรับห้องคอมพิวเตอร์ต้องเป็นแบบท่อแห้งชลอ
น้าเข้า (Pre-action)
ประสิ ทธิ์ เหมวราพรชัย
59
11 ข้อกาหนดงานระบบป้องกันอัคคีภัย(ต่อ)
o * ระบบกระจายน้าดับเพลิงสาหรับห้องคอมพิวเตอร์ต้องมีวาล์วแยก
ต่างหากและมีป้ายติดตรึงที่เห็นชัดเจนรู้ว่าสาหรับห้องคอมพิวเตอร์
o ฝ้าแบบแขวนต้องใช้หัวกระจายน้าแบบฝังเรียบ (Flush-mount
pendant type)
o เฟอร์นิเจอร์ในห้องคอมพิวเตอร์ต้องทาด้วยโลหะหรือวัสดุไม่ไวไฟ เบาะ
เก้าอี้ต้องทาด้วยวัสดุไม่ลามไฟ
o ระบบป้องกันอัคคีภัยต้องเป็นไปตามมาตรฐานป้องกันอัคคีภัย วสท.
3002 และมาตรฐานแจ้งเหตุเพลิงไหม้ วสท. 2002
ประสิ ทธิ์ เหมวราพรชัย
60
11 ข้อกาหนดงานระบบป้องกันอัคคีภัย(ต่อ)
o 11.1 ระบบตรวจจับแบบอัตโนมัติต้องติดตั้งตัวตรวจจับในตาแหน่ง
ต่อไปนี้
o(1) ที่ระดับฝ้าตลอดดาตาเซนเตอร์
o(2) ใต้พื้นยกของดาตาเซนเตอร์ที่มีเคเบิลติดตั้งอยู่
o(3) ใต้พื้นยกหรือในฝ้าแบบแขวนของดาตาเซนเตอร์ที่ใช้ในการ
หมุนเวียนอากาศไปยังส่วนอื่นของอาคาร
ประสิ ทธิ์ เหมวราพรชัย
61
14 ข้อกาหนดงานโทรคมนาคม
o 14.1.1 พื้นที่กระจายแบบต่างๆ
o14.1.1.1 พื้นที่กระจายประธาน (Main Distribution Area –
MDA) เป็นศูนย์กลางกระจายเคเบิลอย่างเป็นระบบเป็นที่ตั้งอุปกรณ์หลัก
core router, core switch
o14.1.1.2 พื้นที่กระจายแนวนอน (Horizontal Distribution
Area – HDA) เป็นที่รองรับการกระจายเคเบิลตามแนวนอนไปยังพื้นที่
กระจายบริภัณฑ์ เป็นที่ตั้งส้าหรับLAN SAN KVM Switch ที่สนับสนุน
บริภัณฑ์ปลายทาง
ประสิ ทธิ์ เหมวราพรชัย
62
14 ข้อกาหนดงานโทรคมนาคม (ต่อ)
o14.1.1.3 พื้นที่กระจายย่าน (Zone Distribution Area –
ZDA) เป็นจุดกระจายการเชื่อมโยงด้วยสายโค
แอกเซียล
สายตีเกลียวกรืออาจเป็นสายใยแก้วน้า แสงก็ได้ไปยังกลุ่มบริภัณฑ์ แต่
จ้ากัดไม่เกิน 288 จุด ต่อหนึ่งช่องเปิดของพื้นยกขนาด 60x60 ซม.ห้าม
วางสายข้ามโซน และใน ZDAต้องไม่มี Active Equipment ยกเว้น
ใช้ไฟฟ้า DC
o14.1.1.4 พื้นที่กระจายบริภัณฑ์ (Equipment Distribution
Area - EDA) เป็นพื้นที่ส้าหรับต่อเชื่อมเข้าบริภัณฑ์ปลายทาง (End
Equipments) ซึ่งส่วนใหญ่ติดตั้งในตู้ rack เคเบิลเชื่อมจุดต่อจุดต้อง
ยาวไม่เกิน 15 เมตร และต้องอยู่ในแถวเดียวกัน
ประสิ ทธิ์ เหมวราพรชัย
63
14 ข้อกาหนดงานโทรคมนาคม (ต่อ)
ประสิ ทธิ์ เหมวราพรชัย
64
14 ข้อก้าหนดงานโทรคมนาคม (ต่อ)
14.1.2 การท้างานทดแทนกันได้
รูปที่ 14.1 โครงสร้างพื้นฐานของโทรคมนาคมที่ทางานทดแทนกันได้ (อ้างอิงจาก TIA-942)
ประสิ ทธิ์ เหมวราพรชัย
67
14 ข้อกาหนดงานโทรคมนาคม (ต่อ)
14.2.2.2 การจัดเครือข่าย (ลักษณะโทโพโลยี)
ประสิ ทธิ์ เหมวราพรชัย
68
14 ข้อกาหนดงานโทรคมนาคม (ต่อ)
14.2.2.3 ระยะทางสายเคเบิลแนวนอน
o นับจาก cross connect จาก HDA หรือ MDA ไปยังจุดต่อสายใน
EDA
o (1) สาย F/O รวมระยะสายอ่อนบริภัณฑ์ < 300 ม.
o (2) สายทองแดงแนวนอน < 90 ม.
o (3) สายทองแดงรวมสายอ่อนบริภัณฑ์ < 100 ม.
o (4) ถ้ามีเต้ารับย่าน (Zone Outlet – ZO)ด้วย ต้องคานวณลดความ
ยาวสายลง
ประสิ ทธิ์ เหมวราพรชัย
69
14 ข้อกาหนดงานโทรคมนาคม (ต่อ)
การคานวณความยาวสายสาหรับเคเบิลทองแดง
o C = (102 – H)/(1+D)
o * สาย UTP หรือ ScTP ขนาด 24 AWG ค่า Z < 22 ม.
o * สาย ScTP ขนาด 26 AWG ค่า Z < 17 ม.
o C = total length in ZDA include equipment cord and
patch cord
o H = horizontal cable length, (H + C < 100 ม.)
o D = derating factor for patch cord, 0.2 for UTP or ScTP
26 AWG
24AWG, 0.5 for ScTP
o Z = maximum cable length in ZDA
o T = total length of equipment cord and patch cord
ประสิ ทธิ์ เหมวราพรชัย
70
14 ข้อกาหนดงานโทรคมนาคม (ต่อ)
ตาราง14.1 ความยาวสูงสุดของสายเคเบิลแนวนอนและสายเคเบิลของบริภัณฑ์ในบริเวณนั้น
(ดูเงื่อนไขในมาตรฐานด้วย)
สายเสียบต่อขนาด 0.5 มิลลิเมตร (24 AWG) ชนิด UTP หรือ สายเสียบต่อขนาด 0.4 มิลลิเมตร
(26 AWG) ชนิด
24 AWG ScTP
ScTP
ความยาวสูงสุดของเคเบิลในพื้นที่ ความยาวรวมทั้งหมดของสายเคเบิล ความยาวสูงสุดของสาย เคเบิลใน
ความยาวรวมทั้งหมดของสาย
ในพื้นที่กระจายย่าน รวมกับความ
เคเบิลในพื้นที่กระจายย่าน รวมกับ
กระจายย่าน (เมตร)
พื้นที่กระจายย่าน(เมตร)
ยาวสายเคเบิลของบริภัณฑ์ และ
ความยาวสายเคเบิลของบริภัณฑ์
ความยาวเคเบิลแนวนอน
ความยาวของสายเสียบต่อด้วย
และความยาวของสายเสียบต่อด้วย
(เมตร)
(เมตร)
(เมตร)
90
5
10
4
8
85
9
14
7
11
80
13
18
11
15
75
17
22
14
18
70
22
27
17
21
ประสิ ทธิ์ เหมวราพรชัย
71
14 ข้อกาหนดงานโทรคมนาคม (ต่อ)
14.2.2.4 ตัวกลาง (for HDA)
o (1) เคเบิลคู่ตีเกลียว 100 โอห์ม
o (2) เคเบิลเส้นใยนาแสงแบบหลายโหมด (multimode optical fiber
cable) 62.5/125 micron หรือ 50/125 micron
o (3) เส้นใยนาแสงแบบโหมดเดียว (single-mode optical fiber
cable)
o * ช่องสัญญาณ (channel) จะต้องเป็นไปตาม
มาตรฐานสากล เช่น ANSI/TIA/EIA-568-B.1, ANSI/TIA/EIA-568B.2, ANSI/TIA/EIA-568-B.3 และ ANSI T1.404
ประสิ ทธิ์ เหมวราพรชัย
72
14 ข้อกาหนดงานโทรคมนาคม (ต่อ)
รูปที่ 14.3 รูปแบบเครือข่ายของเคเบิลแบกโบนแบบสตาร์ (อ้างอิงจาก TIA942)
ประสิ ทธิ์ เหมวราพรชัย
73
14 ข้อกาหนดงานโทรคมนาคม (ต่อ)
14.2.3.5 ตัวกลาง (for ZDA)
o ต้องใช้ตามมาตรฐาน ANSI/TIA/EIA-568-B series และ ISO/IEC
11801
o (1) เคเบิลคู่ตีเกลียว 100 โอห์ม ตาม ANSI/TIA/EIA-568-B series
ขั้นต่าเป็น category 3
o (2) เคเบิลใยแก้วนาแสงแบบหลายโหมด (multimode optical
fiber cable) 62.5/125 micron หรือ 50/125 micron
(ANSI/TIA/EIA-568-B3) ขั้นต่าเป็น OM3 (หากเกิน 100 เมตร ให้ใช้
ไม่ต่ากว่า OM4)
ประสิ ทธิ์ เหมวราพรชัย
74
14 ข้อกาหนดงานโทรคมนาคม (ต่อ)
14.2.3.5 ตัวกลาง (for ZDA) (ต่อ)
o (3) เคเบิลใยแก้วนาแสงแบบโหมดเดียว (single-mode optical
fiber cable) (ANSI/TIA/EIA-568-B.3)
o (4) สายโคแอกเชียล 75 โอห์ม (แบบ 734 และ 735)
(Telcordia Technologies GR-139-CORE)และขั้วต่อโคแอกเชียล
(ANSI T1.40A)
ประสิ ทธิ์ เหมวราพรชัย
75
14 ข้อกาหนดงานโทรคมนาคม (ต่อ)
14.2.4 การเดินเคเบิลใยแก้วนาแสงแบบรวมศูนย์ (อ้างอิง TIA 942)
ประสิ ทธิ์ เหมวราพรชัย
76
14 ข้อกาหนดงานโทรคมนาคม (ต่อ)
14.2.5.2 การแยกเคเบิลไฟฟ้าและสือ่ สาร
o (1) ระยะแยกห่างระหว่างสายไฟฟ้าและสายคู่ตีเกลียวระยะห่างระหว่าง
สายไฟฟ้าและสายคู่ตีเกลียวให้ไม่น้อยกว่าที่กาหนดในตารางที่ 14.2
o (2) ข้อปฏิบัติในการจัดตามข้อกาหนดระยะแยกห่างสายไฟฟ้า
o(ค) ในกรณีที่ดาตาเซนเตอร์มีรางเดินสายติดตั้งด้านบนและถ้ามีการ
ติดตั้งรางเดินสายซ้อนกัน ส่วนบนสุดของรางเดินสายตัวล่างต้องห่าง
จากส่วนล่างสุดของรางเดินสายตัวบนอย่างน้อย 30 ซม.
ประสิ ทธิ์ เหมวราพรชัย
77
14 ข้อกาหนดงานโทรคมนาคม (ต่อ)
14.2.5.2 การแยกเคเบิลไฟฟ้าและสือ่ สาร (ต่อ)
oใต้พื้นยก สายไฟฟ้าก้าลังและสายสัญญาณต้องแยกห่างจากกันทั้ง
แนวราบและแนวตั้ง ในแนวราบต้องแยกห่างไม่น้อยกว่า 60 ซม. ใน
แนวตั้งจะต้องวางสายสัญญาณในรางเดินสายอยู่เหนือรางเดิน
สายไฟฟ้า โดยส่วนบนสุดของรางเดินสายสัญญาณจะห่างจากแผ่นล่าง
ของพื้นยกไม่น้อยกว่า 20 มม.
o (3) ระยะแยกห่างระหว่างสายเคเบิลใยแก้วนาแสงกับสายเคเบิล
ทองแดง ต้องให้สะดวกในการตรวจสอบบารุงรักษา และต้องวำงสำย
เคเบิลใยแก้วนำแสงไว้ด้ำนบนของสำยเคเบิลทองแดง
ประสิ ทธิ์ เหมวราพรชัย
78
14 ข้อกาหนดงานโทรคมนาคม (ต่อ)
14.2.5.2 การแยกเคเบิลไฟฟ้าและสือ่ สาร (ต่อ)
จานวนวงจร
ชนิดวงจรไฟฟ้า
20A 110/240V 1 เฟส ชีลด์หรือไม่ชีลด์
ระยะแยกห่าง
ตาม ANSI/TIA/EIA- 569 C
1-15
16-30
31-60
61-90
91+
1+
20A 110/240V 1-เฟส ชีลด์
20A 110/240V 1-เฟส ชีลด์
20A 110/240V 1-เฟส ชีลด์
20A 110/240V 1-เฟส ชีลด์
100A 415V 3
50 มิลลิเมตร
100 มิลลิเมตร
150 มิลลิเมตร
300 มิลลิเมตร
300 มิลลิเมตร
ตารางที่ 14.2 ระยะแยกห่างระหว่างคู่สายตีเกลียวกับสายไฟฟ้ าที่มีีิลล์
ประสิ ทธิ์ เหมวราพรชัย
79
14 ข้อกาหนดงานโทรคมนาคม (ต่อ)
14.2.5.3 เส้นทางโทรคมนาคมด้านเข้า
o (2) ต้องแยกเคเบิลไฟฟ้าและโทรคมนาคมทางเข้าของผู้ให้บริการแต่ละราย
ออกจากกัน ต้องร้อยท่อขนาดไม่ ต่ากว่า 100 มม. สาหรับท่อร้อยสาย
เคเบิลใยแก้วนาแสง จะต้องมีท่ออย่างน้อย 3 ท่อในท่อหลัก โดย 2 ท่อย่อย
แต่ละท่อมีขนาด 38 มม. กับอีก 1 ท่อมีขนาด 25 มม. หรือ 3 ท่อย่อย แต่
ละท่อมีขนาด 33 มม. เท่ากันทั้ง 3 ท่อ
o (3) รางเคเบิลสาหรับระบบเคเบิลโทรคมนาคมที่ติดตั้งใต้พื้นยก ต้องโปร่ง
ระบายอากาศได้ดี ตาม ANSI/TIA-569-B อาจมีหลายชั้นได้ จะต้องต่อฝาก
กับระบบการต่อลงดินของดาตาเซนเตอร์ รางเคเบิลจะต้องมีความ
ลึกไม่เกิน 150 มม.
ประสิ ทธิ์ เหมวราพรชัย
80
14 ข้อกาหนดงานโทรคมนาคม (ต่อ)
14.2.5.4 รางเคเบิลพาดในอากาศ
o (1) รางเคเบิลใต้เพดานที่อยู่เหนือช่องทางเดินหรือพื้นที่สัญจรทั่วไป ใน
พื้นที่ที่ผู้ใช้หลายรายใช้งานร่วมกัน ต้องเป็นชนิดพื้นทึบหรือสูงจาก
พื้นที่ยืน > 2.7 เมตร และต้องมีความลึก < 150 มม.
o (2) Cable tray support และรางเคเบิลจะต้องมีการต่อฝากถึงกันทั้ง
ระบบ รางเคเบิลทั้งหมดต้องมีความต่อเนื่องถึงกันทางไฟฟ้าอย่างมั่นคง
ระบบรางเคเบิลทั้งหมดจะต้องต่อฝากลงดินกับระบบการต่อลงดินของ
ดาตาเซนเตอร์
ประสิ ทธิ์ เหมวราพรชัย
81
17 การจัดประเภท ดาตาเซนเตอร์
17.4 ประเภทระบบไฟฟ้าและเครื่องกล
o ประเภทระบบไฟฟ้าและเครื่องกล จัดไว้เป็น 5 ประเภท คือ ประเภท 0,
1, 2, 3 และ 4
o 17.4.1 ประเภท 0 ลักษณะเส้นทางเดี่ยว(Single path) ที่มีแหล่งจ่ายไฟฟ้าเดียวและมี
อุปกรณ์ปรับสภาพไฟฟ้า เช่น เครื่องคุมค่าแรงดันไฟฟ้าอัตโนมัติ
อุปกรณ์ระงับเสิร์จ (Surge suppression device)โดยมีระบบต่อลงดินอย่างถูกต้อง
o 17.4.2 ประเภท 1 ลักษณะเส้นทางเดี่ยว(Single path) ที่ยกระดับจากระดับ 0 โดยมี
เครื่องก้าเนิดไฟฟ้าส้ารองและมีอุปกรณ์จ่ายไฟต่อเนื่อง (UPS)แบบเอกเทศ (Stand alone)
ประสิ ทธิ์ เหมวราพรชัย
82
17 การจัดประเภท ดาตาเซนเตอร์ (ต่อ)
17.4 ประเภทระบบไฟฟ้าและเครื่องกล (ต่อ)
o 17.4.3 ประเภท 2 เป็นดาตาเซนเตอร์ลักษณะเส้นทางเดี่ยว (Single path) ที่มีความพร้อมใช้
งานสูงกว่าประเภท 1 โดยระบบจ่ายไฟฟ้าต่อเนื่องต้องท้างานแบบทดแทนกันได้
(Redundancy) และเครื่องก้าเนิดไฟฟ้าส้ารอง จะเป็นแบบทดแทนกันหรือไม่ก็ได้
o 17.4.4 ประเภท 3 เป็นดาตาเซนเตอร์ที่มีความพร้อมใช้งานสูงกว่าประเภท 2 เป็นลักษณะสอง
เส้นทาง (Two path) โดยหนึ่งเส้นทางให้เป็นแบบแอกทีฟ
o 17.4.5 ประเภท 4 เป็นดาตาเซนเตอร์ที่มีความพร้อมใช้งานสูงกว่าประเภท 3 เป็นลักษณะแอก
ทีฟทั้งสองเส้นทาง (Two path) ทั้งนี้ทั้งสองเส้นทางจะต้องรับไฟฟ้าจากสถานีไฟฟ้าย่อยต่างกัน
ประสิ ทธิ์ เหมวราพรชัย
83
17 การจัดประเภท ดาตาเซนเตอร์ (ต่อ)
ตารางที่ 17.2 ประเภทระบบไฟฟ้าและเครื่องกล
รายละเอียด
ประเภท 0
ประเภท 1
ประเภท 2
ประเภท 3
ประเภท 4
แหล่งจ่ายจากการไฟฟ้าฯ(สถานีไฟฟ้าย่อย)
1
1
1
1
2
เครื่องกาเนิดไฟฟ้าสารอง
-
1
N or N+1
N or N+1
2N or 2(N+1)
เส้นทางระบบ
1
1
1
2
2
เส้นทางแอคทีฟ
1
1
1
1
2
ยูพีเอส
-
N
N+1
N+1
2(N+1)
เวลาขั้นต่าสาหรับแบตเตอรี่สารอง
-
10 นาที
10 นาที
10 นาที
10 นาที
ระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้
มี
มี
มี
มี
มี
ระบบดับเพลิงอัตโนมัติ(สารสะอาดดับเพลิง)
-
มี
มี
มี
มี
ระบบแจ้งเตือนน้ารั่ว
-
-
มี
มี
มี
ประสิ ทธิ์ เหมวราพรชัย
84
รูป 17.1 ประเภท 0 ระบบไฟฟ้าและเครื่องกล
ประสิ ทธิ์ เหมวราพรชัย
85
รูป 17.2 ประเภท 1 ระบบไฟฟ้าและเครื่องกล
ประสิ ทธิ์ เหมวราพรชัย
86
รูป 17.3 ประเภท 2 ระบบไฟฟ้าและเครื่องกล
ประสิ ทธิ์ เหมวราพรชัย
87
รูป 17.4 ประเภท 3 ระบบไฟฟ้าและเครื่องกล
ประสิ ทธิ์ เหมวราพรชัย
88
รูป 17.5 ประเภท 4 ระบบไฟฟ้าและเครื่องกล
ประสิ ทธิ์ เหมวราพรชัย
89
17.5 ประเภทระบบสายสัญญาณ
o 17.5.1 ประเภท 0 มีลักษณะ สายสัญญาณแบบ Foundation
o 17.5.2ประเภท 1 มีลักษณะสายสัญญาณแบบ Basic
o 17.5.3ประเภท 2 มีลักษณะ สายสัญญาณแบบ Redundant
component
o 17.5.4ประเภท 3 มีลักษณะสายสัญญาณแบบ Concurrently
maintenance
o 17.5.5ประเภท 4 เป็นดาตาเซนเตอร์ลักษณะสายสัญญาณ
แบบ Fault tolerant
ประสิ ทธิ์ เหมวราพรชัย
90
ตาราง 17.3 ประเภทของระบบสายสัญญาณ
รายละเอียด
ประเภท 0
ประเภท 1
ประเภท 2
ประเภท 3
ประเภท 4
ลักษณะระบบ
Foundation
Basic
Redundant
component
Concurrently
maintenance
Fault
tolerant
มี
มี
มี
มี
มี
มี
มี
มี
มี
มี
มี
มี
มี
มี
มี
มี
มี
ไม่มี
ไม่มี
มี
ไม่มี
ไม่มี
มี
ไม่มี
ไม่มี
มี
มี
ไม่มี
มี
ไม่มี
ไม่มี
มี
มี
มี
มี
มี
มี
มี
มี
มี
ER 1
MDA 1
HDA 1
รวมอยู่ใน
Server
room
Equipment cabinet
ER 2
MDA 2
HDA 2
Access provider 1
Access provider 2
Access provider 3
ไม่มี
ไม่มี
ไม่มี
มี
ไม่มี
ไม่มี
ประสิ ทธิ์ เหมวราพรชัย
91
รูปที่ 17.6 การจัดระบบสายสัญญาณส้าหรับดาตาเซนเตอร์ประเภท 0
(อ้างอิงจาก BICSI 002)
รูปที่ 17.6 การจัดระบบสายสัญญาณสาหรับดาตาเซนเตอร์ประเภท 0 (อ้างอิงจาก BICSI 002)
ประสิ ทธิ์ เหมวราพรชัย
92
รูปที่ 17.7 การจัดระบบสายสัญญาณส้าหรับดาตาเซนเตอร์ประเภท 1
(อ้างอิงจาก BICSI 002)
รูปที่ 17.7 การจัดระบบสายสัญญาณสาหรับดาตาเซนเตอร์ประเภท 1 (อ้างอิงจาก BICSI 002)
ประสิ ทธิ์ เหมวราพรชัย
93
รูปที่ 17.8 การจัดระบบสายสัญญาณส้าหรับดาตาเซนเตอร์ประเภท 2
(อ้างอิงจาก BICSI 002)
ผูใ้ ห้บริ กำร
ประเภท 1
ตูบ้ ริ ภณั ฑ์
17.8
ประสิ ทธิ์ เหมวราพรชัย
ประเภท 1
ประเภท 1
ประเภท 2
พื้นที่กระจำย ประเภท 1 พื้นที่กระจำย ประเภท 1 ห้องทำงเข้ำ ประเภท 1 ผูใ้ ห้บริ กำร
แนวนอน, HDA
ประธำน, MDA
2(
BICSI 002)
94
รูปที่ 17.9 การจัดระบบสายสัญญาณส้าหรับดาตาเซนเตอร์ประเภท 3
(อ้างอิงจาก BICSI 002)
ผูใ้ ห้บริ กำร
ประเภท 1
ตูบ้ ริ ภณ
ั ฑ์
ประเภท 1
ประเภท 2
ประเภท 1
พื้นที่กระจำย ประเภท 3 พื้นที่กระจำย ประเภท 1
แนวนอน, HDA ประเภท 1 ประธำน, MDA
ห้องทำงเข้ำ
ประเภท 1
ผูใ้ ห้บริ กำร
3
เภท
ประ
ประเภท 3
ห้องทำงเข้ำ
ประเภท 3
ผูใ้ ห้บริ กำร ผูใ้ ห้บริ กำร
รูปที่ 17.9 การจัดระบบสายสัญญาณสาหรับดาตาเซนเตอร์ประเภท 3 (อ้างอิงจาก BICSI 002)
ประสิ ทธิ์ เหมวราพรชัย
95
รูปที่ 17.10 การจัดระบบสายสัญญาณส้าหรับดาตาเซนเตอร์ประเภท 4
(อ้างอิงจาก BICSI 002)
ผูใ้ ห้บริ กำร
ประเภท 1
ประเภท 1
พื้นที่กระจำย ประเภท 3 พื้นที่กระจำย ประเภท 1
แนวนอน, HDA ประเภท 1 ประธำน, MDA
ประเภท 4
ประเภท 4
3
เภท
ประ
ประ
เภท
4
ประ
เภท
4
ตูบ้ ริ ภณั ฑ์
ประเภท 2
ประเภท 1
พื้นที่กระจำย
พื้นที่กระจำย
ติยภูมิ ประเภท 4
แนวนอน, HDA ประเภท 4 ,ประธำนทุ
MDA
ประเภท 4
ประเภท 4
ห้องทำงเข้ำ
ประเภท 1
ผูใ้ ห้บริ กำร
ประเภท 3
ห้องทำงเข้ำ
ประเภท 3
ผูใ้ ห้บริ กำร ผูใ้ ห้บริ กำร
รูปที่ 17.10 การจัดระบบสายสัญญาณสาหรับดาตาเซนเตอร์ประเภท 4 (อ้างอิงจาก BICSI 002)
ประสิ ทธิ์ เหมวราพรชัย
96
ภาคผนวก ข ตัวอย่างการจัดพื้นที่ดาตาเซนตอร์
รูปที่ ข.1 ตัวอย่างแนวทางการจัดพื้นที่ดาตาเซนเตอร์ (อ้างอิงจาก NFPA 75)
ประสิ ทธิ์ เหมวราพรชัย
97
เสวนา
และ
ขอบคุณครับ
ประสิ ทธิ์ เหมวราพรชัย
98
Download