Uploaded by niticool

Value Added p.37 42 18-04-58

advertisement
37
VALUE
ADDED
ผู้ช่วยศาสตราจารย์
ดร.นิติ ยงวณิชย์
มหาวิทยาลัยศิลปากร
ผู้ช่วยศาสตราจารย์
ศุภกา ปาลเปรม
มหาวิทยาลัยศิลปากร
เซรามิคจากวิศวกรรม
วัสดุผสานสุนทรียะ
เครื่องเคลือบเซรามิคโดยใช้เทคนิคด้านวิศวกรรมวัสดุผสานสุนทรียะ เป็น
ผลงานสร้างสรรค์รูปแบบแปลกใหม่ที่เป็นส่วนผสมของความรู้ทางด้านวัสดุ
เซรามิกกับความงดงามอย่างลงตัว โดยนำ�เสนอสภาวะการตกและโตของ
ผลึกในสูตรเคลือบที่เหมาะสม ซึ่งเป็นแนวทางสำ�หรับศิลปินในการออกแบบ
และสร้างสรรค์ผลงานโดยมิต้องใช้การลองผิดลองถูกมากนักและยังสร้าง
ประสบการณ์เชิงสุนทรียะแก่ผู้เสพผลงานเคลือบเซรามิค
38
VALUE ADDED
ค ว า ม รู้ สู่ สั ง ค ม
เ
ครือ่ งเคลือบดินเผาหรือเครือ่ งเคลือบเซรามิค ถือได้วา่
เป็นสิ่งสะท้อนความเจริญทางวัฒนธรรมของมนุษย์
ในสังคม โดยเครือ่ งเคลือบยุคแรกนัน้ เป็นเพียงการน�ำดิน
ที่มีอยู่โดยทั่วไปในธรรมชาติ หาได้ง่ายในท้องถิ่นมาปั้น
เป็นรูปทรงต่างๆ และเผาให้รอ้ นจนได้เป็นภาชนะใช้สอย
อย่างเรียบง่ายและคงทน ต่อมาได้มีการค้นพบวัสดุบาง
ชนิดเมือ่ หลอมละลายแล้วสามารถเกาะติดบนผิวภาชนะ
เครื่องปั้นดินเผาได้ โดยเกิดเป็นชั้นแก้วใสบางๆ หรือที่
เรียกว่า “เคลือบ”
จากจุดนีเ้ องจึงเป็นถือก�ำเนิดของ เครือ่ งเคลือบดินเผา
จากภาชนะใช้สอยทีเ่ รียบง่ายในครัวเรือนสูเ่ ครือ่ งประดับ
อันทรงคุณค่า มีการพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์เคลือบที่
หลากหลายเพื่อตอบสนองต่อรสนิยมของผู้บริโภคใน
แต่ละยุคสมัย อย่างไรก็ตาม ก่อนที่จะมีการใช้ความรู้
ทางวิทยาศาสตร์มาช่วยในการผลิต การพัฒนาเครื่อง
เคลือบมักอยูบ่ นพืน้ ฐานของการลองผิดลองถูก โดยแทบ
จะไม่ได้ใช้คณ
ุ สมบัตเิ ฉพาะของแร่วตั ถุดบิ ให้เป็นประโยชน์
เลย จึงไม่มขี อ้ มูลความบริสทุ ธิข์ องวัสดุ ไม่มกี ารก�ำหนด
อุณหภูมแิ ละเงือ่ นไขทีแ่ น่นอนในการเผา และไม่มเี ครือ่ งมือ
ตรวจวัดที่เหมาะสม เป็นต้น การควบคุมการผลิตเครื่อง
เคลือบนี้ให้อยู่ในระดับที่สามารถท�ำออกมาแล้วมีความ
สม�่ำเสมอจึงท�ำได้ยาก
การเคลือบที่จัดว่ามีความ
ซับซ้อนมากและมักจะถูกรังสรรค์
ออกมาในปริมาณน้อยมากคือ
เคลือบผลึก
จากความเจริญก้าวหน้าของเทคโนโลยีการผลิตเชิง
อุตสาหกรรมส่งผลให้มกี ารพัฒนาเทคโนโลยีเครือ่ งเคลือบ
อย่างก้าวกระโดด โดยสามารถผลิตของออกมาแต่ละครัง้
ในปริมาณมากๆ ทีค่ นทัว่ ไปสามารถหาซือ้ ได้ แต่การผลิต
เชิงอุตสาหกรรมนั้นมักถูกจ�ำกัดอยู่เพียงแค่เคลือบบาง
ชนิดทีไ่ ม่มคี วามซับซ้อนมากนัก รูปแบบของเคลือบก็มไิ ด้
มีลักษณะที่โดดเด่น
การเคลือบเซรามิคมีอยู่มากมายหลายชนิด ได้แก่
เคลือบใส เคลือบด้าน เคลือบทึบ โดยหนึ่งในชนิดของ
การเคลือบที่จัดว่ามีความซับซ้อนมาก และมักจะถูก
รังสรรค์ออกมาในปริมาณน้อยมากคือ “เคลือบผลึก”
เคลือบเซรามิคทัว่ ไปมีลกั ษณะเป็นชัน้ แก้ว มีโครงสร้าง
ผลึกข้างในแบบไม่เป็นระเบียบ แต่การเคลือบผลึกมี
ความแตกต่างจากเคลือบทั่วไปอย่างชัดเจนในจุดที่มี
การเกิดการตกและโตของผลึกภายในชั้นเคลือบ ท�ำให้
โครงสร้างของเคลือบผลึกมีความซับซ้อนประหนึ่งว่ามี
วัสดุสองชนิดที่แตกต่างเชิงโครงสร้าง แต่ฝังรวมผสาน
อยูด่ ว้ ยกันอย่างลงตัว อย่างไรก็ตาม ไม่ใช่สงิ่ ทีง่ า่ ยในเชิง
องค์ความรูท้ างด้านวัสดุส�ำหรับการสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์
เคลือบผลึกขึ้นมาแต่ละชิ้น มีหลายประเด็นที่จัดว่าเป็น
สิ่งที่ท้าทายอย่างมาก ได้แก่ ปริมาณสัดส่วนของสาร
ประกอบแร่ทใี่ ช้เป็นวัตถุดบิ การเคลือบทีเ่ หมาะสม หรือ
การทราบถึงสภาวะการตกและโตของผลึกในสูตรเคลือบ
แต่ละชนิด
ส�ำหรับการบูรณาการศาสตร์และศิลป์ในครั้งนี้ ได้มี
การประยุกต์ใช้ความรู้ในศาสตร์ของวิศวกรรมวัสดุผ่าน
ทฤษฎีการเกิดและโตของผลึก (Nucleation และ crystal
growth) ทีใ่ ช้กนั ทัว่ ไปในวัสดุประเภทโลหะ และเซรามิค
เพือ่ ให้เข้าใจสภาวะการตกและโตของผลึกในสูตรเคลือบ
ที่เหมาะสม อันจะเป็นแนวทางส�ำหรับศิลปินในการ
ออกแบบและสร้างสรรค์ผลงานโดยมิต้องใช้การลองผิด
ลองถูกมากนัก ความเข้าใจเชิงเทคนิคในประเด็นเหล่านี้
มีส่วนช่วยให้ศิลปินสามารถวางแผน ออกแบบ และ
แก้ ป ั ญ หาเชิ ง ในการสร้ า งสรรค์ ง านศิ ล ป์ เ พื่ อ สร้ า ง
ประสบการณ์เชิงสุนทรียะแก่ผู้เสพผลงานเคลือบผลึก
39
ด้านใน (ถ้วย จาน) และด้านนอก (แจกัน) เพือ่ แสดงถึง
ศักยภาพของรูปทรงผลิตภัณฑ์ที่หลากหลาย ซึ่งชิ้นงาน
ต่างๆ จะถูกออกแบบและขึ้นรูปด้วยการใช้แป้นหมุน
ส�ำหรับการปั้นกระถาง และโอ่ง ซึ่งเป็นวิธีการขึ้นรูปมา
ตั้งแต่สมัยโบราณและยังใช้อยู่ในปัจจุบัน และวิธีหล่อ
น�้ำดินที่ใช้กันทั่วไปในสตูดิโอและอุตสาหกรรม ซึ่งให้
ชิ้นงานที่เหมือนกันออกมาตามแบบแม่พิมพ์ ชิ้นงานที่
ขึน้ รูปมานีจ้ ะถูกเรียกว่า “ชิน้ งานดิบ” หรือ Green ware
ซึ่งจะต้องถูกน�ำไปเผาที่อุณหภูมิ 800 องศาเซลเซียส
เพือ่ ให้เกิดการสลายตัวของสารอินทรียป์ ระเภทคาร์บอน
จากดิน และที่ส�ำคัญคือ เพิ่มความแข็งแรงแก่ชิ้นงาน
ส�ำหรับขั้นตอนการจุ่มเคลือบต่อไป
ขั้นตอนการสร้างสรรค์
ผลงานเซรามิก
เนื่ อ งจากวิ ธี ก ารเคลื อ บผลึ ก ในงานสร้ า งสรรค์ นี้
ประกอบด้วยปริมาณสารประกอบแร่วัตถุดิบที่แตกต่าง
จากเคลือบทั่วไป (สารประกอบที่ใช้ ประกอบไปด้วย
โซเดี ย มออกไซด์ ซิ ลิ ก าที่ พ บในทรายหรื อ ควอทซ์
แคลเซี ย มออกไซด์ ห รื อ ปู น ขาว อะลู มิ น ่ า และซิ ง ค์
ออกไซด์) ในระหว่างการเผาเคลือบในเตาหลอม ชัน้ เคลือบ
สามารถเคลือ่ นที่ (ไหล) ไปมาบนผิวชิน้ งานได้งา่ ย ดังนัน้
การออกแบบรูปร่างของผลิตภัณฑ์เพือ่ ให้มคี วามเหมาะสม
ในกระบวนการนีจ้ งึ มีความส�ำคัญอย่างมาก โดยรูปทรงนัน้
ไม่ควรมีความลาดชันสูง เพราะเมือ่ ลาดชันมาก น�ำ้ เคลือบ
ก็จะไหลอย่างรวดเร็วอาจก่อให้เกิดความเสียหายแก่
ชิ้นงานและเตาเผา จากหลักการดังกล่าว ท�ำให้การ
พัฒนานี้มีการเลือกใช้รูปแบบที่อวดโฉมเคลือบผลึกทั้ง
ส� ำ หรั บ สู ต รเคลื อ บผลึ ก นั้ น จะต่ า งกั น ไปขึ้ น อยู ่ กั บ
ลักษณะของงานเคลือบทีต่ อ้ งการ เช่น ความมันเงา และ
ขนาดของผลึก การสร้างผลึกที่มีลักษณะเป็นดอกดวง
ขนาดใหญ่เพื่อเพิ่มความโดดเด่นและความมีเสน่ห์แก่
ผลิตภัณฑ์ จะเลือกผลึกในระบบสังกะสีออกไซด์-ซิลกิ อน
ไดออกไซด์ (ZnO-SiO2) ที่สามารถเกิดการตกและโต
ของผลึกที่เรียกว่าวิลเลมไมต์ (Willemite, Zn2SiO4)
ซึ่งมีขนาดใหญ่ได้ สูตรเคลือบที่เหมาะสมจะสุกหรือ
หลอมตัวเป็นแก้วที่อุณหภูมิ 1,250 องศาเซลเซียส ซึ่ง
ไม่สูงเกินกว่าจุดที่ดินทนได้ มิเช่นนั้น ดินอาจเกิดการ
ยวบตัวท�ำให้ชิ้นงานบิดเบี้ยว
ก่อนการสร้างสรรค์ผลงานจริงโดยศิลปิน สูตรเคลือบ
ผลึกทีถ่ กู เลือก จะถูกศึกษาและวิเคราะห์ดว้ ยเทคนิคด้าน
วิศวกรรมวัสดุ เช่น ความเป็นผลึก จะระบุได้ถงึ อุณหภูมิ
ทีเ่ คลือบเกิดการสุกหรือหลอมตัวอย่างสมบูรณ์ ท�ำให้เกิด
เป็นชั้นแก้วที่มันเงา
มิ ฉ ะนั้ น เคลื อ บจะมี ลั ก ษณะขาวขุ ่ น ไม่ ส วยงาม
อุณหภูมิที่เคลือบน่าจะเกิดการตกผลึกนั้น ได้มีการ
ตรวจจับการปลดปล่อยพลังงานความร้อนซึ่งสามารถ
ถูกเชือ่ มโยงได้กบั กระบวนการตกผลึก (เทียบเคียงได้กบั
การตกผลึกของน�้ำแข็งจากน�้ำต้องมีการคายพลังงาน
ความร้อน) จากข้อมูลดังกล่าว ท�ำให้ศิลปินทราบคร่าวๆ
ว่าผลึกน่าจะเกิดขึ้นในเคลือบในช่วงอุณหภูมิการเผาใด
40
VALUE ADDED
ค ว า ม รู้ สู่ สั ง ค ม
นอกจากตัวแปรด้านความร้อนแล้ว เวลาในการเผาเพือ่
“เลี้ยงผลึก” หรือเพื่อให้ผลึกขยายขนาดโตขึ้นเป็นดอก
ดวงมีความส�ำคัญมาก ซึ่งหากทราบถึงความสัมพันธ์
ระหว่างขนาดดอกผลึกและเวลาในการเผาเลี้ยงผลึกได้
จะเป็นประโยชน์อย่างมากส�ำหรับศิลปินในการวางแผน
และออกแบบลักษณะดอกผลึกที่ต้องการ ทีมวิจัยฯ จึง
ได้วธิ กี ารศึกษากลไกการโตของผลึกในวัสดุเชิงวิศวกรรม
ประเภทโลหะและเซรามิคมาวิเคราะห์ ซึง่ ผลในเบือ้ งต้น
ยืนยันความสอดคล้องของหลักการนี้ ส�ำหรับการโตของ
ผลึกจากเคลือบได้เป็นอย่างดี
นอกจากนี้ การวิเคราะห์ดว้ ยกล้องจุลทรรศน์อเิ ล็กตรอน
ก�ำลังขยายสูง เปิดเผยให้เห็นว่าดอกผลึกที่ได้ประกอบ
ไปด้วยแท่งผลึกขนาดเล็กเป็นจ�ำนวนมากโตออกมาจาก
จุดร่วมเดียวกัน เรียงซ้อนถัดกันรอบจุดนัน้ คล้ายดอกไม้
ท�ำให้มองเห็นเป็นดอกผลึกรูปร่างกลมเมือ่ มองด้วยตาเปล่า
ดังนั้น การศึกษาและวิเคราะห์ด้วยเทคนิคพื้นฐานของ
ศาสตร์ดา้ นวิศวกรรมวัสดุจงึ มีประโยชน์อย่างมากส�ำหรับ
การคาดคะเนสภาวะการเผาที่เหมาะสมส�ำหรับการได้
มาซึง่ ขนาดและลักษณะของดอกผลึกตามความประสงค์
ของศิลปิน รวมถึงช่วยย่นระยะเวลาในการออกแบบและ
สร้างสรรค์ผลงานโดยที่มิต้องท�ำการลองผิดลองถูกอีก
โครงสร้างของเคลือบผลึกเอง
มีความซับซ้อนประหนึ่งว่ามีวัสดุ
สองชนิดที่แตกต่างเชิงโครงสร้าง
แต่ฝังรวมผสานอยู่ด้วยกันอย่าง
จากข้อมูลเชิงเทคนิคนี้เอง ส่วนผสมเคลือบจะถูกน�ำ ลงตัว
มาเคลือบบนผิวของชิ้นงานดิบ จากนั้นน�ำชิ้นงานไปเผา
ตามสภาวะการเผาที่เหมาะสม โดยแบ่งเป็นสองช่วง
ช่วงแรกที่อุณหภูมิ 1,250 องศาเซลเซียส เพื่อให้เคลือบ
หลอมตัวก่อน จากนั้นลดอุณหภูมิลงมาที่ 1,100 องศา
เซลเซียส เพื่อให้เกิดการตกผลึก และเผาแช่เลี้ยงผลึก
เพื่อเหนี่ยวน�ำให้ผลึกโตขึ้นจนกลายเป็นดอกดวงขนาด
ต่าง ๆ ส�ำหรับงานสร้างสรรค์นเี้ ลือกใช้เวลาในการเผาแช่
ที่ 8 ชัว่ โมง ทีช่ ว่ ยให้ดอกดวงผลึกมีขนาดใหญ่พอสมควร
เกิดความโดดเด่นแก่ชิ้นงาน
เฟสเกลือจากน�ำ้ ปลา นอกจากนี้ ความสวยงามของดอก
ผลึกทีเ่ กิดสามารถสร้างเสริมขึน้ ด้วยการเติมสารประกอบ
ออกไซด์ให้สี (Coloring oxide) ลงไปเพื่อก่อเกิดสีสันที่
แปลกตา ยกตัวอย่างเช่น โคบอลต์ออกไซด์ท�ำให้เกิด
โทนสีน�้ำเงิน คอปเปอร์ออกไซด์เกิดผลึกสีขาวตัดกับ
พื้นหลังสีเขียว หรือนิกเกิลออกไซด์เกิดดอกผลึกสีฟ้า
แต่เนื้อเคลือบพื้นหลังจะเป็นสีน�้ำตาลอ่อน
ส�ำหรับแรงขับเคลื่อนในการตกผลึกนั้นส่วนหนึ่งเกิด
จากการลดขีดความสามารถในการละลายด้วยการลด
อุณหภูมิในการเผา ผลของการเปลี่ยนแปลงนี้ท�ำให้องค์
ประกอบออกไซด์ของสังกะสีและซิลิคอน (ZnO และ
SiO2) ในเคลือบเกิดการตกตะกอน (ตกผลึก) ออกมา
กลายเป็นวิลเลมไมต์ (Zn2SiO4) คล้ายกับการตกผลึก
เครื่องเคลือบดินเผาชนิดเคลือบผลึกจึงเป็นผลงาน
สร้างสรรค์ที่สามารถด�ำเนินการผลิตในลักษณะที่เป็น
งานศิลปะซึง่ มีเอกลักษณ์ไม่ซำ�้ กัน เพราะลวดลายทีไ่ ด้จะ
แตกต่างกันอย่างสิน้ เชิงในแต่ละชิน้ งาน เพราะไม่สามารถ
ก�ำหนดจุดที่จะเกิดผลึกได้อย่างแม่นย�ำ เครื่องเคลือบ
เซรามิคทั่วไปลวดลายที่ได้ส่วนใหญ่จะเกิดจากการลง
41
เขียนสีวาดบนชัน้ เคลือบ มิใช่ลวดลายทีเ่ กิดจากในเนือ้ แท้
ของงานเครื่องเคลือบแบบเคลือบผลึก อีกทั้งดอกผลึกที่
เกิดขึ้นในเคลือบผลึกความเลื่อมของสีในเนื้องานท�ำให้
เกิดเป็นมิติซ้อนที่โดดเด่น กลายเป็นสุนทรียศาสตร์ที่มี
เอกลักษณ์ความงาม แปลกตาเฉพาะไม่ซ�้ำกัน เป็นที่
ต้องการของผูป้ ระกอบการ SME ในอุตสาหกรรมเครือ่ ง
เคลือบดินเผา เช่น ศิลปินท�ำงานออกแบบเซรามิค ที่
ต้องการออกแบบรูปทรงของชิน้ งานเคลือบผลึก สามารถ
ก�ำหนดวัสดุเคลือบในสีทตี่ อ้ งการ และยังสามารถก�ำหนด
อุณหภูมิในการเผาให้เกิดผลึกที่เป็นเอกลักษณ์ในแต่ละ
ชิน้ งานไม่ซำ�้ เป็นงาน Limited edition ทีก่ ำ� ลังได้รบั ความ
นิยมจากมัณฑนากรหรือผู้สนใจน�ำมาใช้กับงานตกแต่ง
ภายในปัจจุบัน เช่น ห้องรับแขก โรงแรม ภัตตาคาร ที่
อยู่อาศัยแบบคอนโดมีเนียม หรือสถานที่ที่ต้องการ
ชิ้นงานศิลปะขนาดไม่ใหญ่ในการตกแต่งนั่นเอง Ã
กิตติกรรม
ประกาศ
ขอขอบคุณ
• คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัย
• ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อริศร์ เทียน
ศิลปากร
ประเสริฐ ผู้อ�ำนวยการสถาบันวิจัยและ
พัฒนา มหาวิทยาลัยศิลปากร
•
เจ้าหน้าที่ฝ่ายสร้างสรรค์ สถาบันวิจัย
และพัฒนา มหาวิทยาลัยศิลปากร
•
คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี
อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร
• ผู้ช่วยนักวิจัยและผู้ช่วยผลิตงาน
สร้างสรรค์ทุกท่าน
ข้อมูล
นักวิจัย
ผู้ช่วย
ศาสตราจารย์
ศุภกา
ปาลเปรม
• จบปริญญาตรีสาชาอุตสาหกรรมศิลป์ • อาจารย์สังกัดภาควิชาเครื่องเคลือบ
จากวิทยาลัยครูพระนคร และปริญญา
โท สาขาอุตสาหกรรมศึกษา จาก
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ประสานมิตร มีความเชี่ยวชาญทาง
ด้านเซรามิก
ดินเผา คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัย
ศิลปากร วิทยาเขต พระราชวังสนาม
จันทร์
รางวัลส�ำคัญ
• รางวัลเหรียญทองแดงงานแสดง
เครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติครั้งที่ 1
• ในปี 2003ได้รับคัดเลือกเข้าร่วมแสดง
ผลงานในงาน 53 Premio Faenza,
Concorso International Della
Ceramic d’Arte Contempornea,
Italy
• ในปี 2010 ได้รับคัดเลือกเป็นหนึ่งใน
สองของศิลปินไทย เข้าร่วมแสดงผล
งานในงาน The 2010 Second China
(Shanghai) International Modern
Pot Art Biennial Exhibition
42
VALUE ADDED
ค ว า ม รู้ สู่ สั ง ค ม
ข้อมูล
นักวิจัย
ผู้ช่วย
ศาสตราจารย์
ดร.นิติ
ยงวณิชย์
งานวิจัยและผลงานส�ำคัญ
• Development of crystalline glazes
for commercial potential
• Color stability of inorganic pigments in various glazes
• จบปริญญาตรีสาขาวิทยาการและ
วิศวกรรมวัสดุ (Material Scienceand Engineering) และวิศวกรรมและ
รัฐนโยบาย (Engineering and Public
Policy) สถาบันมหาวิทยาลัยคาร์เนกี
เมลลอน (Carnegie Mellon University) ประเทศสหรัฐอเมริกา ปริญญาโท
และเอกในสาขาวิทยาการและวิศวกรรม
วัสดุ มหาวิทยาลัยเพนซิลวาเนีย
(University of Pennsylvania)
ประเทศสหรัฐอเมริกา
• อาจารย์สังกัดภาควิชาวิทยาการและ
วิศวกรรมวัสดุ คณะวิศวกรรมศาสตร์
และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขต
พระราชวังสนามจันทร์
• Surface modification of advanced
inorganic nanomaterials
รางวัลที่ได้รับ
• ทุนการศึกษาระดับอุดมศึกษาของ
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ปี พ.ศ.2539
โดย
หมีจ้อ
ช่วยพ่อ
ลูกชายคนเดียวติดคุกคดีครอบครองอาวุธสงคราม พ่อผู้มีอาชีพชาวไร่ข้าวโพดเขียนจดหมายถึงลูกว่า
"ลูกไม่อยู่ พ่อล�ำบากมาก ไม่มีคนช่วยขุดดินในไร่ พ่อท�ำคนเดียวไม่ไหว นี่ก็จะต้องลงข้าวโพดรอบใหม่แล้ว"
ลูกชายจึงเขียนจดหมายฝากต�ำรวจไปถึงพ่อว่า
"พ่ออยู่เฉย ๆ ห้ามไปขุดดินในไร่นะ ผมฝังปืน ฝังระเบิดไว้หลายจุดในไร่ข้าวโพด พ่อไปขุดมันอาจระเบิดนะพ่อ"
วันรุ่งขึ้นต�ำรวจทั้งโรงพักยกก�ำลังแบกจอบไปขุดหาอาวุธ ขุดกันทุกทุกตารางนิ้วในไร่ แต่ไม่พบอาวุธใด ๆ
อีกสองวันต่อมา ลูกชายเขียนจดหมายถึงพ่อว่า
"พ่อครับ ลงมือปลูกข้าวโพดได้เลยครับ มีคนไปช่วยขุดดินให้แล้ว"
ขอขอบคุณเจ้าของต้นคิดเรื่องนี้ที่ถูกส่งต่อ ๆ กันมาให้อ่านเพื่อความบันเทิง
Download