Uploaded by jazanopparat

01-Scene size up

advertisement
การประเมินสถานการณ
(scene size up)
การประเมินสถานการณ
(scene size up)
เราจะประเมินสถานการณ
ตอนไหน….????
Primary survey
PHTLS/ATLS
(XABCDE)
X = eXsanguinated
hemorrhage
A = Airway
TCCC
EMT national standard
(MARCH)
curricula (GRABC)
M = Massive hemorrhage G = General impression
A = Airway
B = Breathing
R = Respiration
R = Response
(mental status)
A = A = Airway
C = Circulation
C = Circulation
B = Breathing
D = Disability
(neurological status)
E = Exposure and
Environment
(hypothermia)
H = Hypothermia/Head
injury
C = Circulation
การประเมินสถานการณ
(Scene size-up)
หมายถึง การประเมินความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น รวมกับการวิเคราะหขอมูล
เบื้องตนจากสถานการณที่ไดรับแจง แลวนํามาใชประกอบการตัดสินใจวางแผนเขา
ชวยเหลือผูปวยฉุกเฉิน ทั้งนี้ตองยึดหลักความปลอดภัยของตัวผูชวยเหลือและทีมเปน
สําคัญ รวมทั้งความปลอดภัยของคนรอบขาง และผูปวยฉุกเฉิน
หลักการประเมินสถานการณ
1. การแยกบุคคลออกจากสิ่งอันตราย (body substance isolation:BSI)
2. การประเมินความปลอดภัยของสถานที่เกิดเหตุ (scene safety)
3. การประเมินกลไกการบาดเจ็บหรือเจ็บปวย (mechanism of injury: MOI or
nature of illness: NOI)
4. การประเมินจํานวนผูเจ็บปวยฉุกเฉิน (number of patient)
5. การขอแหลงสนับสนุนเพิ่มเติม (additional resources)
การแยกบุคคลออกจากสิ่งอันตราย
(Body substance isolation: BSI)
การแยกบุคคลออกจากสิ่งอันตราย
(Body Substance Isolation : BSI)
1. ใชอุปกรณปองกันตนเองจากการสัมผัสสารคัดหลั่ง
- ถุงมือ
- Mask
- ผากันเปอน
- แวนตา
- รองเทาบูท
2. การปองกันการแพรกระจายเชื้อ
3. การทําความสะอาดอุปกรณตางๆหลังใชงาน
เชื้อโรคที่สามารถติดตอไดระหวางปฏิบัติงาน
Blood borne Pathogens
1. Human Immunodeficiency Virus
- AIDS
2. Viral Hepatitis
- ไวรัสตับอักเสบบี (HBV : Hepatitis B Virus)
- ไวรัสตับอักเสบซี (Hepatitis C Virus: HCV)
อุปกรณปองกันตนเอง
ระดับของชุดปองกันสารเคมี (Level of PPE) ซึ่งจะกลาวตามขอกําหนด
EPA: Environmental Protection Agency
การประเมินความปลอดภัยของสถานที่เกิดเหตุ
(Scene safety)
ความปลอดภัยสถานที่เกิดเหตุ
(Scene safety)
1. ปองกันอันตรายตอตนเอง
2. ปองกันผูบาดเจ็บไมใหไดรับอันตรายเพิ่มจากสถานการณทไี่ มปลอดภัย
3. ปองกันผูที่อยูในเหตุการณไมใหไดรับอันตราย
4. ตองมีการประเมินอยูต ลอดเวลา มีสติ อยูทุกขณะ
การจัดการเพื่อความปลอดภัย
- จอดรถหางจากจุดเกิดเหตุประมาณ 15 เมตร และสามารถออกจากจุดเกิดเหตุ
ไดสะดวก
- หากจุดเกิดเหตุไมปลอดภัยจอดหาง 30 เมตรขึ้นไป
- มองสังเกตบริเวณโดยรอบๆ เพื่อตรวจสอบหาอันตรายที่อาจเกิดขึ้น รวมทั้ง
พิจารณาแหลงชวยเหลือที่ตองการ
- ควบคุมฝูงชนและการจราจร เชน กรวยจราจร (วางใหหางจากจุดเกิดเหตุเปน
ระยะ 3 เทาของความเร็วที่จํากัดบนถนน) ,ไฟจราจร ,สปอรทไลต
การจอดรถกรณีอุบัติเหตุ
วัตถุอันตราย สารเคมี
การจัดการเพื่อความปลอดภัย
- กรณีสารเคมี สารพิษรั่วไหลจอดรถหาง
จากจุดเกิดเหตุ 600 เมตร อยูสูงกวา เหนือลม
- พยายามหาขอมูลวาวัตถุอันตรายนั้นคือ
อะไรจะเปนอันตรายตอผูชวยเหลืออยางไร
- ประสานงานผูเชี่ยวชาญเขาควบคุมสถานการณ
- มีอุปกรณปองกันตนเองที่เหมาะสม
การจอดรถกรณีสารเคมีหรือสารพิษรั่วไหล
โทรสอบถามศูนยรับแจงเหตุ และสั่งการ
เพื่อจําแนกประเภทวัตถุ โดยสังเกตไดจาก
เลขรหัส 4 หลัก (UN number , ID.No)
บนปายรูปสี่เหลี่ยมขาวหลามตัด หรือบนแถบสีสม
ตัวเลขครึ่งบน เปนรหัสบงชี้ความอันตราย
และตัวเลขครึ่งลางเปนหมายเลข UN number
กรณีทํารายรางกาย/การจลาจล
การจัดการเพื่อความปลอดภัย
- หามเขายุงเกี่ยวกับเหตุการณ ยกเวนเรื่อง
รักษาพยาบาลเทานั้น
- ควบคุมสติ อารมณ หลีกเลี่ยงการโตเถียง
- ประสานตํารวจควบคุมสถานการณ
การประเมินกลไกการบาดเจ็บหรือเจ็บปวย
(mechanism of injury: MOI or
nature of illness: NOI)
ทําไมตองประเมินกลไกการบาดเจ็บ....??
เพื่อการวางแผนการเข าช วยเหลือผูปวยได อย างเหมาะสม สามารถ
คนหาปญหาของผูปวยไดงายและรวดเร็วยิ่งขึ้น สงผลใหการดูแลผูปวยเปนไป
อยางรวดเร็วและทันทวงทีมากขึ้น
Significant anatomy of injury
 Penetrating injuries ที่ศีรษะ คอ ลําตัว และรยางคสว นตางๆ
 การบาดเจ็บของทรวงอกที่ไมมั่นคงหรือผิดรูป เชน fail chest
 กระดูกชนิดยาวหักมากกวา 2 ตําแหนง
 แผลกดทับหรือบดขยี้รุนแรง คลําชีพจรไมได
 แผลตัดขาดใกลขอมือ ขอเทา (Amputation)
 กระดูกสะโพกหัก
 กระดูกกะโหลกศีรษะเปดหรือแตกยุบ
 อัมพาต
Significant mechanism of injury
 ตกจากที่สูง
- ผูใหญ > 20 ฟุต (≈ 6 เมตร)
- เด็ก >10 ฟุต (≈ 3 เมตร) หรือ 2-3 เทาของความสูงเด็ก
 ถูกยานพาหนะชน
- หลังคายุบมากกวา 12 นิ้ว หรือ มากกวา 18 นิ้วในสวนอื่นๆ
- ผูบาดเจ็บกระเด็นออกจากยานพาหนะ
- มีผูโดยสารมาดวยเสียชีวิต
- ความเสียหายของยานพาหนะที่สอดคลองกับกลไกการบาดเจ็บทีร่ ุนแรง
 รถยนตชนคนเดินถนนหรือชนรถจักรยาน ดวยความเร็ว 20 ไมล/ชม. หรือ 32 กม./
ชม.
 ถูกรถจักรยานยนตชนดวยความเร็ว 20 ไมล/ชม. หรือ 32 กม./ชม.
Significant of special patient or system
consideration injury
 ผูสูงอายุ
- ความเสี่ยงตอการบาดเจ็บเพิม่ ขึ้นในผูท มี่ ีอายุ > 55 ป
- SBP < 110 mmHg. ก็อาจมีภาวะช็อกไดในผูที่มีอายุ > 65 ป
 ความผิดปกติของการแข็งตัวของเลือด
 Major burn
 หญิงตั้งครรภ > 20 สัปดาห
กลไกการบาดเจ็บที่มีความรุนแรง
เข็มขัดนิรภัย (Seat belts)
 ถามีการพับงอของเข็มขัดนิรภัย จะมีการบาดเจ็บได
 การที่ผูประสบเหตุคาดเข็มขัดนิรภัย ไมไดหมายความวาจะไมมีการบาดเจ็บ
กลไกการบาดเจ็บที่มีความรุนแรง
ถุงลมนิรภัย (Airbags)
 อาจไมสามารถปองกันอันตรายไดดี ถาไมไดใชรวมกับเข็มขัดนิรภัย
 ผูบาดเจ็บสามารถไดรับอันตรายได หลังจากที่มีการระบายลมออกจากถุงลม
แลว
 ควรดูลักษณะของพวงมาลัยรถถาพบวามีการถูกทําลายมาก อาจบงบอกวา
เกิดอันตรายรุนแรงกับผูบาดเจ็บ
กรณีฉุกเฉินจากอุบัติเหตุ
เพื่อพยากรณอวัยวะที่ไดรับบาดเจ็บและวางแผนใหการชวยเหลือ
โดยประเมินจาก
• สภาพของรถ
• ลักษณะการชน
• ความเร็วของรถ
• ขอมูลสภาพของผูบาดเจ็บ เชน ระดับความรูสึกตัว
• ในเหตุการณนั้นมีผูเสียชีวิตหรือไม
• มีผูบาดเจ็บติดภายในหรือกระเด็นออกนอกรถหรือไม
• สอบถามจากผูปวย ครอบครัวหรือผูเห็นเหตุการณ
กลไกการบาดเจ็บจากการขับรถยนต (Motor Vehicle Crashes)
1. การชนทางดานหนา (Frontal impact) : ลักษณะการชนจะทําใหผูขับขี่กระแทกเขา
กับรถได 2 ลักษณะ ขึ้นอยูกับทานั่งและการปรับเบาะนั่ง
แบบแรก คนขับมักนั่งในทาเอนหลังและงอเขามาก เทาและขาจึงเปนสวนนําแรงกระแทก
อาจทําใหเกิดการหักของหัวเขา กระดูกตนขา และการหลุดขอตะโพกไปทางดานหลัง
Down and Under Pathway
แบบที่สอง คนขับนั่งในทาตรงหรือเอนตัวไปขางหนา
กระแทกเขากับกระจกรถ ทําใหเกิดการฟกช้ําของเนื้อสมอง สวนลําตัวซึ่ง
เคลื่อนที่ตามมาจะกดกระดูกคอ ทําใหกระดูกคอหักในทํากมหรือเงยหนา หนาอก
และทองเปนสวนตอไปที่เคลื่อนที่เขากระแทกกับพวงมาลัยรถยนต ทําใหเกิดการ
บาดเจ็บตอหัวใจ ตับและมามได
Up and Over Pathway
กลไกการบาดเจ็บจากการขับรถยนต (Motor Vehicle Crashes)
2. การถูกชนดานขาง (Lateral Impact) เกิดแรงกระแทกผานตัวถังดานหนารถจน
ยุบเขามาในหองโดยสารที่นั่งตรงดานที่ถูกชนจะไดรับบาดเจ็บมากที่สุด แขนและไหล รวมถึง
กระดูกไหปลาราจะหัก บริเวณทรวงอกแรง กระแทกทําใหกระดูกซี่โครงหักและเนื้อปอดช้ํา
ชองทองมักเกิดการบาดเจ็บของตับหรือมาม ขึ้นกับวาถูกชนดานขวาหรือดานซาย บริเวณ
สะโพกและตนขาอาจเกิดการหักของกระดูกตนขา
กลไกการบาดเจ็บจากการขับรถยนต (Motor Vehicle Crashes)
3. การถูกชนทาย (Rear Impact) การถูกชนทาย เบาะนั่งจะดันใหรางกายสวนลําตัว
เคลื่อนไปขางหนาพรอมกับรถตามแรงกระแทก ขณะที่ศีรษะยังคงอยูที่เดิม ถาหากเบาะนั่ง
เปนชนิด ที่ไมมีพนักพิงศีรษะที่จะรองรับใหศีรษะเคลื่อนที่ไปพรอมกับลําตัว ก็จะเกิดแรงบิดที่
เกิดขึ้นในทาแหงนคออยางแรง ทําใหมีการหักของโครงสรางสวนหลังของกระดูกคอ
กลไกการบาดเจ็บจากการขับรถยนต (Motor Vehicle Crashes)
4. การชนจนทําใหเกิดการหมุน (Rotation Impact) เกิดจากชนบริเวณมุมใดมุมหนึ่ง
จนเกิดแรงทําใหรถหมุน การบาดเจ็บที่เกิดขึ้นอาจพบไดเหมือนกับ Frontal impact
และ Lateral Impact
กลไกการบาดเจ็บจากการขับรถยนต (Motor Vehicle Crashes)
5. รถพลิ ก คว่ํ า (Rollover) จะทํ า ให เ กิ ด การบาดเจ็ บ ที่ รุ น แรง เนื่ อ งจาก
ความเร็วที่สูงและขณะที่รถพลิกคว่ํา จะมีการกระแทกระหวางรางกายกับภายในตัวรถ
หลายทิศทาง โดยเฉพาะอยางยิ่งถาผูโดยสารไมมีการคาดเข็มขัดนิรภัย
กลไกการบาดเจ็บจากการขับรถยนต (Motor Vehicle Crashes)
การกระเด็นออกนอกตัวรถ ทําใหมีโอกาสเกิดการบาดเจ็บเพิ่มขึ้นมากกวา 300 %
ผูที่อยูในรถจะไดรับบาดเจ็บทั้งในขั้นตอนของการหลุดลอยออกไปจากรถ และจากการ
ตกกระแทกพื้น
หนึ่งในสามของการบาดเจ็บจากยานพาหนะชนิดนี้เกิดบริเวณศีรษะ และเปนสาเหตุของ
การตายถึง 77% ของผูบาดเจ็บที่เสียชีวิต
Motorcycle crashes
Attention should be given to :
- Deformity of motorcycle
- Side damaged
- Distance of skid
- Deformity of objects or vehicles
- Helmet deformity
Motorcycle crashes
Four types of motorcycle impact
- Head-on impact
- Angular impact
- Ejection impact
- Laying the bike down
Motorcycle crashes
Head-on impact เกิดเมื่อจักรยานยนตชนกับ
วั ต ถุ ที่ อ ยู ด า นหน า รถจะถู ก หยุ ด แต ค นขั บ จะ
เคลื่อนหมุนกมลงดานหนา ทําใหศีรษะ คอ ทรวง
อกสวนบนกระแทก สวนขาอาจกระแทกกับมือจับ
ทําใหเกิด femur fracture หรือ open book
pelvic fracture
Motorcycle crashes
การชนทางดานขาง (Angular impact)
การชนทํ า มุ ม กั บ วั ต ถุ ทํ า ให ตั ว ล ม ไปด า นข า ง
อาจถู กจัก รยานยนตลม ทับรางกาย ทําใหเกิด
extremities fracture + extensive soft
tissue injury รวมถึง internal organ injury
ได
Motorcycle crashes
Ejection impact เมื่อเกิดการชน ผูขับ
ขี่ ล อยออกจากตั ว รถแล ว ตกกระแทกกั บ
วัตถุอื่น เกิดการบาดเจ็บในลักษณะเดียวกับ
fall from height
Motorcycle crashes
Laying the bike down รถลมแลวไถลไปกับพื้นราบ จะพบบาดแผลถลอก (road rash)
การชนและไถลไปกับพื้น ผูขับขี่จักรยานยนตจะยอมเอนรถใหลมเพื่อหลีกเลี่ยงการชน โดยยอม
ใหตัวเองครูดไปกับพื้น ซึ่งนอกจากจะไมเกิดการกระแทกแลว ยังทําใหความเร็วของรางกายชะลอลง
จากแรงเสียดทานจนสามารถแยกตัวออกจากจักรยานยนต
Pedestrian injury
- รอยละ 90 ถูกชนดวยความเร็วที่นอย
กวา 30 mph (48 kph)
- สวนใหญเปน เด็ก (children)
3 ระยะการชน
- Impact with vehicle bumper
Lower extremity
- Impact with vehicle hood and
wind shield
Head, Torso
- Impact with the ground
Head, Spine, Extremity
Pedestrian injury
Pedestrian injury
Waddell triad: Pattern of injuries in
children and people of short stature
- Bumper hits pelvis and femur
- Chest and abdomen hit grille
- Head strikes vehicle and ground
Falls from height
ตกจากที่สูง
- ความสูง
- สภาพพื้นผิว
- ลักษณะการตก
- อายุผูบาดเจ็บ
Falls from height
ปจจัยที่เกี่ยวของกับการบาดเจ็บ
- ความสูงที่ตก โดยความสูงที่มักจะทําใหเกิดการบาดเจ็บรุนแรง
คือ 6 เมตร ในผูใหญ หรือ 3 เมตร ในเด็ก
- พื้นผิวที่ตก แข็ง หรือ ออนนุม (stop distance มาก =
deceleration นอย = force นอย
- สวนของรางกายที่ลงสูพื้น
- เหยียดขาลง (Don Juan syndrome) เกิด bilateral
calcaneus fracture, ankle fracture, hip fracture
- เหยียดแขนลง เกิด bilateral Colles’ fracture
- ศีรษะลง (กระโดดน้ําตื้น) เกิด cervical spine fracture
และการบาดเจ็บแบบ Up-and-Over path
Penetrating trauma
กลุม Low-energy weapons
- การบาดเจ็บจากวัตถุแหลม
- มักจะไมมี cavitation เกิดขึ้น
- เพศชายมักจะจับมีดทางนิ้วโปง ทิศทางการแทงจึงมักจะแทงขึ้นบนและเขาใน สวน
ผูหญิงมักจะจับมีดทางนิ้วกอย จึงมักจะแทงลง
- ผูแทงเมื่อแทงเขาไปแลวอาจโยกมีดไปมา ทําใหเกิดการบาดเจ็บภายในทีร่ ุนแรงมากขึ้น
การบาดเจ็บจากกระสุนปน (Firearm)
ปจจัยที่สงผลตอขนาดแผลของกระสุนปน
- หัวกระสุน ซึ่งหัวกระสุนจะเปลี่ยนรูปรางเมื่อกระทบ ทําใหพื้นที่หนาตัดมีขนาดใหญขึ้น เกิดความเสียด
ทานและเกิดการถายทอดพลังงานไปสูวัตถุที่กระทบมากขึ้น
- การหมุนกลับหนาหลัง (tumble) ภายในรางกาย ทําใหดานขางของกระสุนเปนตัวนํา เกิดความเสียด
ทานมากขึ้น ทําใหเกิดความเสียหายไดมากขึ้น
- การแตกของหัวกระสุน มีทั้งที่แตกออกตั้งแตออกจากปากประบอกปน และชนิดที่แตกออกเมื่อเขาสู
รางกาย
Medium-energy และ high-energy weapons
Medium-energy หมายถึง ความเร็วกระสุน > 1,000 ft/sec (305 m/s) จะเกิด temporary cavity
ประมาณ 3-5 เทาของเสนผาศูนยกลางกระสุน
High-energy หมายถึง ความเร็วกระสุน > 2,000 ft/sec (610 m/s) จะเกิด temporary cavity
ประมาณ > 25 เทาของเสนผาศูนยกลางกระสุน และจะมีภาวะ vacuum ภายใน cavity จะดูดผา เชื้อโรค
และสิ่งสกปรกอื่นๆเขาไปภายในแผลได
แผลทางเขา (อากาศสูเนื้อเยื่อ) จะมีเนื้อเยื่อรองรับจึงมักจะเปนวงกลมหรือ
เปนวงรี และมีรอยถลอกเล็กๆโดยรอบจากการหมุนควงเขาสูผ วิ หนัง ในขณะที่แผล
ทางออก (เนื้อเยื่อสูอากาศ) ไมมีเนื้อเยื่อรองรับจึงแตกออกเปนรูปดาว (stellate
[starburst])
Blast injuries
เมื่อเกิดการระเบิดขึ้นจะเกิด blast wave มีความเร็ว > 5000 เมตร/วินาที
ประกอบดวยสวน static component (blast overpressure) มีการเพิ่มขึ้นของ
แรงดัน เรียกวา shock front หรือ shock wave แลวตามดวยการลดลงของความดันจน
กลายเปน partial vacuum ดูดอากาศกลับเขามา และสวน dynamic component
(dynamic pressure) ทําใหเกิด blast wind พัดเศษสะเก็ดออกไปดวยความเร็วหลายพัน
เมตรตอวินาที สะเก็ดจะเคลื่อนที่ดวยความเรงจนเร็วกวา blast wave ทําใหเปนสวนสําคัญ
ที่ทําใหเกิดการบาดเจ็บจากการระเบิดไดในระยะหลายพันฟุต
Primary blast injury
- Blast pressure wave เมื่ออยูใกลมากจะทําใหเกิดการ
เปลี่ยนแปลงแรงดันในรางกาย โดยเฉพาะอวัยวะที่มีอากาศอยู
- Ear involvement : Hearing loss, vertigo, TM rupture
- Pulmonary trauma : Barotrauma (Pneumothorax, air
embolism), pulmonary hemorrhage
- GI track : Intestinal wall hemorrhage & edema -->
abdominal pain, N/V
Secondary blast injury
- การบาดเจ็บที่เกิดจาก สะเก็ดระเบิด วัตถุที่กระเด็นจากแรงระเบิด
(Result from flying objects striking an individual)
- จะพบ penetrating injury, fracture/dislocation
- ระเบิดแสวงเครื่อง (Improvised Explosive Devices ; IEDs)
เพิ่มอํานาจการทําลายโดยสะเก็ดระเบิด
Tertiary blast injury
- เกิดจากการที่มี blast wind (ลมระเบิด) พัดพาสิ่งของมาปะทะ
กับรางกาย หรือพัดรางกายไปปะทะเขากับสิ่งกีดขวางตางๆ ทําให
เกิดการบาดเจ็บของรางกายไดทุกสวน
- Most lethal injury
- สามารถสราง blast wind ที่มีความเร็วถึง 250 กม./ชม.
Quaternary blast injury
- การบาดเจ็บจากการสูดสารพิษ (Inhalation injury)
ถูกความรอนจากการเผาไหม (Burn) สิ่งปลูกสรางถลม
ลงมาทับ (Structural collapse)
- การบาดเจ็บที่เกิดจาก bacteria, chemical หรือ
radioactive material เรียกวา Quinary blast injury
กรณีปวยฉุกเฉินที่ไมใชจากอุบัติเหตุ
เพื่ อ ให ส ามารถคาดการณ ไ ด ใ นเบื้ อ งต น ว า อาการของผู ป ว ยน า จะ
เกี่ยวของกับระบบใดของรางกายหรือโรคอะไรไดบาง …..???
- สอบถามลักษณะอาการ โรคประจําตัว การปวยฉุกเฉิน
(NOI = Nature of illness) ปัญหาหรื อจุดเริ่มต้ นของการเจ็บป่ วย
เชน การเจ็บหนาอก ในผูปวยโรคกลามเนื้อหัวใจขาดเลือด การปวดทอง ของผูปวย
ไสติ่งอักเสบ เปนตน ตลอดจนการสังเกตสถานทีเ่ กิดเหตุ วามีสิ่งบอกเหตุของการเจ็บปวย
หรือไม เชน ซองยา ขวดสุรา เข็มฉีดยา ยาพนแกหอบหืด เปนตน
การประเมินจํานวนผูเจ็บปวยฉุกเฉิน
(Number of patient)
จํานวนผูบาดเจ็บ
- จํานวนรถ…..? คัน
- ผูบาดเจ็บ….? คน
- คนรอบขาง…..?
- เปนอุบัติเหตุหมู หรือสาธารณภัยหรือไม
ประมาณกําลังและขีด
ความสามารถของตน
การขอแหลงสนับสนุนเพิ่มเติม
(Additional resources)
การขอแหลงสนับสนุนเพิ่มเติม
- สถานการณที่มกี ารใชอาวุธทําลายลางสูง (Weapon of mass destruction
= WMD)
- สถานการณที่เกิดเหตุมีความเสี่ยงสูง เชน ตึกถลม อุโมงคใตดิน อาคารสูง
- พื้นที่ที่มีการปนเปอนสารพิษ (Toxic substance)
- พื้นที่ลาดชัน เชน ดินถลม
- อุบัติภัยทางน้ํา เชน น้ําทวม กระแสน้ํารุนแรง
- ที่ที่มีออกซิเจนไมเพียง เชน อุโมงคลึก
บอบําบัดน้ําเสีย เปนตน
แหลงสนับสนุน
แหลงสนับสนุน
หลักการที่สามารถนํามาชวยประเมินสถานการณได ไมจําเปนตอง
ใชเฉพาะในเหตุการณสาธารณภัย หรืออุบัติภัยหมู
METHANE
M: Major incident
E: Exact location
T: Type of incident
H: Hazard
A: Access
N: Number of casualty
E: Evacuate team (EMS)
*** ชวยจํา ***
ภัยหมู
รูจุด
รูเหตุ
เภทภัย
ไปพบ
ประสบ
พบชวย
Case สีแดง : ใชเกณฑในการประเมิน 2 เกณฑ
Injury Patterns
ตามกรอบสีแดง ( ดานซาย ) โดยเริ่มตั้งแตให EMT แลวประเมิน
โดยการดูลักษณะของการบากเจ็บ
หากการบาดเจ็บนาจะแยให Triage ไปเลยวาเปนสีแดง
Mental Status & Vital Signs
ตามกรอบสีแดง ( ดานขวา) ถาดูแลวการบาดเจ็บไมนาจะแย
ลําดับถัดไปถึงเขาไปตรวจ เขาไปสัมผัส เขาไป Vital sign
แลวประเมินตอตามในกรอบ เชน ถาไมทําตามคําสั่ง เปนสีแดง หรือ Vital sign ผิดปกติ
ตามเกณฑในกรอบแดง ถือวาเปนสีแดง เปนตน แตถาไมเปนไปตามทั้ง 2 กรอบสีแดงทั้ง
ซายและขวา ใหไปกรอบถัดไปคือสีเหลือง
Case เหลือง : ใชเกรณฑในการประเมิน 2 เกณฑ
Mechanism of injury
ตามกรอบสีเหลือง ( ดานซาย ) พิจารณาการบาดเจ็บหากคนไขมี MOI เปนตาม
เกณฑของกรอบดานซายถือวา เปนสีเหลือง
EMS Judgment
ตามกรอบสีเหลือง ( ดานขวา ) เปนการพัฒนาใหม คือเปนการพิจารณาของผูปฏิบัติ
โดยอิงเกณฑตามกรอบ หากคิดวานาจะแย เชน การทํารายรางกายในเด็ก ผูสูงอายุ ,
มีประวัติใช anticoagulant , suspected child abuse , pregnancy > 20 wk.
เปนตน กลุมนี้จะถูกจัดใหเปนสีเหลือง
Question
78
Download