Uploaded by Thakun Usaprom

หน่วยที่ 2 พื้นฐานการเขียนแบบไฟฟ้า

advertisement
แผนการสอน
หน่วยที่ 1
ชื่อวิชา
วิชาเขียนแบบแมคคาทรอนิกส์ด้วยคอมพิ
วเตอร์
ชื่อหน่วย
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียนแบบไฟ
ฟ้า
สอนสัปดาห์ที่
ชื่อเรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียนแบบไฟฟ้า
1
ท
ป
น
2
3
3
จานวนคาบ 5
1. สาระสาคัญ
การเขี ยน แบบวงจรไฟ ฟ้ านั้ นจะถอดแบบออกมาจากงานจริ ง
และแปลงเป็นแบบไฟฟ้าได้หลายแบบตามแต่วัตถุประสงค์ของผู้เขียนว่าจะ
ใช้แบบไฟฟ้าเพื่องานใดโดยในการเขียนแบบต้องคานึงถึงมาตรฐานที่ใช้ใ
น ก า ร เขี ย น โ ด ย ถ้ า เป็ น ม า ต ร ฐ า น DIN(Deutch Industrial Norn)
จ ะ มี ช นิ ด ข อ ง แ บ บ คื อ แ บ บ ง า น ส า เ ร็ จ (Current Flow diagram)
แบบงานควบคุ ม (Control Diagram) และ แบบงานติ ด ตั้ ง (Installation
Diagrams) ส่ ว น ม า ต ร ฐ า น ANSI (American National Standard
Institute มีชนิดของแบบคือ ไดอะแกรมการเดินสาย (Working Diagram)
ไดอะแกรมแผนผั ง (Schematic Diagrams) และ ไดอะแกรมเส้ น เดี ย ว
(One Line Diagram) ซึ่งในแต่ละมาตรฐานจะมีสัญลักษณ์ที่แตกต่างกัน
2.เรือ
่ งทีจ
่ ะศึกษา
1. งานเขียนแบบด้านสถาปัตยกรรม (Architectural Drawing)
2. งานเขียนแบบด้านวิศวกรรม (Engineering Drawing)
3. ประโยชน์ของงานเขียนแบบ
จุดประสงค์การเรียน/การสอน
จุดประสงค์ทั่วไป
1. เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจในการเรียน
และกิจกรรมวิชาเขียนแบบไฟฟ้าด้วยคอมพิวเตอร์
2. เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจถึงหลักการออกแบบระบบไฟฟ้า
มาตรฐาน และชนิดของแบบไฟฟ้า
จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
1. บอกความหมายของการออกแบบไฟฟ้าได้
2. บอกหน้าที่ของผู้ออกแบบไฟฟ้าได้
3. ระบุมาตรฐานทางไฟฟ้าได้
4. จาแนกระบบไฟฟ้า
5. ระบุชนิดของแบบไฟฟ้า
5. เตรี ย มค วามพ ร้ อ มใน ก ารเรี ย น อุ ป กรณ์ สอด ค ล้ อ งกั บ งาน
ได้อย่างถูกต้องและใช้วัสดุ
อุปกรณ์อย่างคุ้มค่า ประหยัด
6. ค วาม ส น ใ จ ใ ฝ่ รู้ ค วาม คิ ด ส ร้ างส ร ร ค์ ก าร ท างาน เป็ น ที ม
และมีจิตบริการสาธารณะ ด้วยความ
รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง
กิจกรรมการเรียนการสอนหรือการเรียนรู้
ขัน
้ ตอนการสอนหรือกิจกรรมของค ขัน
้ ตอนการเรียนรูห
้ รือกิจกรรมของนั
รู
กเรียน
1. ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน
1. ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน
1. ผู้ ส อ น จั ด เต รี ย ม เอ ก ส า ร
พร้อมกับแนะนา
1. ผู้เรียนเตรียมหนังสือและฟังผู้ส
อ น แ น ะ น า ร า ย วิ ช า
วิธีการให้คะแนนและการประเมิน ผล
ที่
ใ ช้
กั บ วิ ช
า
แบบแมคคาทรอนิกส์ด้วยคอมพิวเตอ
ร์
ร
า
ย
วิ
ช
า
วิธีการให้ค ะแนนและการประเมิน ผ
ล ที่ ใ ช้ กั บ วิ ช า
แบบแมคคาทรอนิกส์ด้วยคอมพิวเต
2. ผู้เรียนฟังผู้สอนชี้แจงเรื่องที่จะ
อร์
2
.
ศึกษาและ
ผู้สอนชี้แจงเรื่องที่จะศึกษาและจุดป จุดประสงค์เชิงพฤติกรรมประจาหน่ ว
ระสงค์เชิงพฤติกรรมประจาหน่วยที่ ย
ที่
2
เ รื่ อ
ง
2
เ
รื่
อ
ง การเขียนแบบของสคีมเมติกไดอะแก
การเขียนแบบของสคีมเมติกไดอะแ
รม (Schematic Diagram)
กรม (Schematic Diagram)
2. ขั้นให้ความรู้
2. ขั้นให้ความรู้
1. ผู้ เรี ย น ฟั งงาน น าเส น อวิ ช า
1. ผู้ ส อนเปิ ด งานน าเสนอวิ ช า แบบแมคคาทรอนิกส์ด้วยคอมพิวเตอ
วงจรไอซีและการประยุกต์ใช้งานห ร์ ห น่ ว ย ที่ 2 เ รื่ อ ง
น่ ว ย ที่
2
เ รื่ อ ง การเขียนแบบของสคีมเมติกไดอะแก
การเขียนแบบของสคีมเมติกไดอะแ
รม (Schematic Diagram)
กรม (Schematic Diagram)
ผู้ เ รี ย น เ ปิ ด ห นั ง สื อ เ รี ย น วิ ช า
2. ผู้สอนให้ผู้เรียนเปิดหนังสือเรี แบบแมคคาทรอนิกส์ด้วยคอมพิวเตอ
ยนวงจรพั ล ส์ แ ละสวิ ต ชิ ง หน่ ว ยที่ 2 ร์
ห
น่
ว ย ที่
2
เ
รื่
อ
ง การเขียนแบบของสคีมเมติกไดอะแก
การเขียนแบบของสคีมเมติกไดอะแ ร ม
( Schematic Diagram)
ก
ร
ม
(
Schematic และฟังผู้สอนอธิบายเนื้อหา
Diagram)และอธิบ ายเนื้ อหาให้ ผู้ เรี
ยนฟัง
งานทีม
่ อบหมายหรือกิจกรรมการวัดผลและประเมินผล
ก่อนเรียน
1. จัดเตรียมเอกสารหน่วยที่ 2
การเขียนแบบของสคีมเมติกไดอะแกรม (Schematic Diagram)
2. ทาความเข้าใจเกี่ยวกับจุดประสงค์การเรียนของหน่วยที่ 2
การเขียนแบบของสคีมเมติกไดอะแกรม (Schematic Diagram)
ขณะเรียน
2. ทาใบงานหน่วยที่ 2
หลังเรียน
1. ร่วมกันสรุปเนื้อหาที่ได้เรียนให้มีความเข้าใจในทิศทางเดียว
กัน
ผลงาน/ชิน
้ งาน/ความสาเร็จของผูเ้ รียน
1. ใบงานหน่วยที่ 2
2. ข้อสอบหลังเรียน 2
สื่อการเรียนการสอน/การเรียนรู้
สื่อสิ่งพิมพ์
1. เ อ ก ส า ร ป ร ะ ก อ บ ก า ร ส อ น วิ ช า
เขียนแบบแมคคาทรอนิกส์ด้วยคอมพิวเตอร์
2. ใบงานหน่ วยที่ 2 การเขี ย นแบบของสคี มเมติ ก ไดอะแกรม
(Schematic Diagram)
สื่อโสตทัศน์ (ถ้ามี)
1. เครื่องไมโครคอมพิวเตอร์
2. งานนาเสนอ
สื่อของจริง
แหล่งการเรียนรู้
ในสถานศึกษา
1. ห้องสมุด
2. ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์
นอกสถานศึกษา
1. ผู้ประกอบการ สถานประกอบการ ในท้องถิ่น
เนื้อหา
หน่วยที่ 1
ชื่อวิชา
วิชาเขียนแบบแมคคาทรอนิกส์ด้วยคอมพิ
วเตอร์
ชื่อหน่วย
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียนแบบไฟ
ฟ้า
สอนสัปดาห์ที่
ชื่อเรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียนแบบไฟฟ้า
1
ท
ป
น
2
3
3
จานวนคาบ 5
หลักการเบื้องต้นในการออกแบบ และเขียนแบบไฟฟ้า
แบบไฟฟ้าดูเหมือนจะมีความชัดเจนมากในงานด้านวิศวกรรมไฟฟ้าใ
น ง า น ติ ด ตั้ ง เ พ ร า ะ ทั้ ง ผู้ ท า
แ ล ะ ผู้ อ อ ก แ บ บ จ ะ ติ ด ต่ อ กั น ผ่ า น ท า ง แ บ บ นี้ ทั้ ง สิ้ น จ น ง า น ส า เร็ จ
ในการเขียนแบบไฟฟ้าส่วนใหญ่แล้วจะเป็นหน้าที่ของช่างเทคนิคที่มีความ
ช า น า ญ ใ น ก า ร เ ขี ย น โ ด ย ใ ช้ วิ ธี ก า ร แ ล ะ เ ค รื่ อ ง มื อ ต่ า ง ๆ
งานเขียนแบบแล้วยังเชื่อมโยงไปถึงงานการออกแบบโดยงานการออกแบบ
ทั้ ง ห ม ด จ ะ อ ยู่ ใ น ค ว า ม รั บ ผิ ด ช อ บ ข อ ง วิ ศ ว ก ร ไ ฟ ฟ้ า
ห รื อ ผู้ ที่ ช า น า ญ ง า น ทั้ ง สิ้ น ผู้ เขี ย น แ บ บ ไ ฟ ฟ้ า ต้ อ ง ป ร ะ ส า น ง า น
แ ล ะ ท า ค ว า ม เ ข้ า ใ จ กั บ ผู้ อ อ ก แ บ บ เ ป็ น อ ย่ า ง ดี
เ พื่ อ ท า ใ ห้ แ บ บ ที่ ไ ด้ อ อ ก ม า นั้ น มี ค ว า ม ส ม บู ร ณ์ ม า ก ที่ สุ ด
ดังนั้นผู้เขียนแบบจึงต้องมีความรู้เกี่ยวกับ “หลักการเบื้องต้นในการออกแบ
บระบบไฟฟ้า” ไว้พอสังเขปดังนี้
ก า ร อ อ ก แ บ บ ไ ฟ ฟ้ า ห ม า ย ถึ ง ก า ร พั ฒ น า แ บ บ
วิ ธี ก ารเพื่ อ จ่ า ยก าลั ง ไฟฟ้ า สั ญ ญ าณ ไฟฟ้ า ไปยั ง อุ ป กรณ์ ปลายทาง
การออกแบบเป็นงานที่มีความกว้างมากต้องใช้ข้อมูลมากมายในการตัดสิน
ใจเลือกใช้อป
ุ กรณ์ให้เหมาะสมเพื่อให้ได้ระบบที่ดี ถูกต้อง และปลอดภัย
1.1 งานของผู้ออกแบบระบบ และมาตรฐานทางไฟฟ้า
1.1.1 งานของผู้ออกแบบระบบไฟฟ้า แบ่งออกได้เป็น 2 ส่วน ดังนี้คือ
1. ระบบกาลัง (Power System)
(1) ระบบจาหน่าย (Power Distribution System)
(2) ระบบแสงสว่าง (Lighting System)
(3) ระบบพลังงานสารอง (Standby System)
(4) ระบบป้องกัน (Protection System)
(5) ระบบขนถ่าย (Vertical Transportation System)
2. ระบบสื่ อ สาร และระบบควบคุ ม (Communication and Control
System)
(1) ระบบโทรศัพท์สื่อสาร (Telephone System)
(2) ระบบเตือนภัย (Fire Alarm System)
(3) ระบบเสาอากาศกลาง (Master Antenna TV System)
(4) ระบบรักษาความปลอดภัย (Security System)
(5) ระบบทีวีวงจรปิด (Closed Circuit TV System)
(6) ระบบเสียง (Sound System)
(7) ร ะบ บ ค ว บ คุ ม อ าค า ร อั ต โ น มั ติ (Building Automation
Control System)
1.1.2 ห น้ า ที่ ข อ ง ผู้ อ อ ก แ บ บ ร ะ บ บ
ผู้ออกแบบต้องเป็นผู้ที่มีความรู้กว้างขวาง และจาเป็นต้องมีข้อมูลที่ถูกต้อง
ทันสมัยจานวนมาก และมีหน้าที่ดังนี้
1. พั ฒ น า อ อ ก แ บ บ ร ะ บ บ ใ ห้ ส า ม า ร ถ จ่ า ย ไ ด้ อ ย่ า ง เพี ย ง พ อ
และปลอดภัย
2. เป็นไปตามข้อกาหนด มาตรฐานต่าง ๆ
3. สอดคล้องกับความต้องการ
4. ประสานงานกับฝ่ายต่าง ๆ เพื่อความปลอดภัย
5. เขียนกาหนดรายละเอียดครบถ้วน และถูกต้อง
1.1.3 ร ะ บ
บ
ที่
ดี
ระบบที่ดีควรเป็นไปตามข้อกาหนดต่าง ๆ ดังนี้
( System
Stability)
1. มีความปลอดภัย (Safety)
2. มีมูลค่าการเริ่มต้นลงทุนต่า (Minimum Initial Investment)
3. มีการบารุงรักษาที่ต่อเนื่องต่า (Minimum Service Continuity)
4. มีความยืดหยุ่นต่อการขยายตัวในอนาคต (Maximum Flexibility
and Expandability)
5. มีประสิทธิภาพสูงสุด (Maximum Efficiency)
6. มีมูลค่าการบารุงรักษาต่า (Minimum Maintenance Cost)
7. มีการส่งถ่ายกาลังได้ดี (Maximum Power Convey)
1.1.4 ม
า
ต
ร
ฐ
า
น
( Standard)
มาตรฐานเป็ น เรื่ อ งที่ ส าคั ญ มากในการออกแบบ ระบบมาตรฐานต่ า ง ๆ
จ ะ เป็ น ตั ว ก า ห น ด พิ กั ด ท า ง ก ล พิ กั ด ท า ง ไ ฟ ฟ้ า แ ล ะ พิ กั ด อื่ น ๆ
ของอุ ป กรณ์ ในระบบทั้ ง หมด และยั ง รวมถึ ง การเชื่ อ มต่ อ ระบบต่ า ง ๆ
เข้าด้วยกันอีกด้วย ซึ่งประกอบด้วย 2 ส่วน คือ
1. ม า ต ร ฐ า น อุ ป ก ร ณ์ ไ ฟ ฟ้ า ( Standard Equipment)
มาตรฐานที่ใช้อ้างอิง ดังต่อไปนี้
(1) ม า ต ร ฐ า น ส า ก ล (International Standard) เช่ น ISO,
IEC, EN
(2) มาตรฐานประจ าชาติ (National Standard) เช่ น ANSI,
BS, DIN, VDE, JIS และ TIS
2. ม า ต ร ฐ า น ก า ร ติ ด ตั้ ง ( Standard Installation)
มาตรฐานการติดตั้งในประเทศไทย
(1) การไฟฟ้านครหลวง (กฟน.)
(2) การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (กฟภ.)
(3) สมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย (ว.ส.ท.)
1.1.5 ห น่ ว ย ง า น ร ะ บ บ แ ล ะ ม า ต ร ฐ า น ส า ก ล
ปั จ จุ บั น เ ท ค โ น โ ล ยี ไ ด้ เ จ ริ ญ รุ ด ห น้ า ไ ป อ ย่ า ง ร ว ด เ ร็ ว
ประเทศที่พัฒนาแล้วได้สร้างผลิตภัณฑ์วิทยาศาสตร์ และอุตสาหกรรมต่าง
ๆ อ อ ก จ า ห น่ า ย ใ ห้ กั บ ป ร ะ เท ศ ที่ พั ฒ น า น้ อ ย ก ว่ า ใ น เรื่ อ ง นั้ น ๆ
ท าใ ห้ เกิ ด ค วาม ยุ่ งย าก ใ น ก าร สื่ อ ค วาม ห ม าย เรื่ อ งรหั ส สั ญ ลั ก ษ ณ์
การติ ด ตั้ ง ใช้ ง าน การอ่ า นคู่ มื อ ของผลิ ต ภั ณ ฑ์ ต่ า ง ๆ เป็ น อย่ า งมาก
แ ล ะ ที่ ส า คั ญ คื อ ก า ร ถ่ า ย ท อ ด เท ค โ น โ ล ยี (Technology Transfer)
ร ะ ห ว่ า ง กั น เ พื่ อ ก า ร ศึ ก ษ า แ ล ะ พั ฒ น า เ นื่ อ ง จ า ก ส า เ ห ตุ นี้
จึงมีประเทศที่พัฒ นาแล้วได้รวมกันจัดตั้งหน่วยงานขึ้น เพื่อกาหนดระบบ
และมาตรฐานของงานอาชีพ สาขาต่าง ๆ ขึ้น หน่ วยงานที่ท าหน้ าที่นี้ คื อ
International Organization for Standardization ใ ช้ ตั ว ย่ อ ISO
แ ป ล เป็ น ภ า ษ า ไ ท ย ว่ า อ งค์ ก าร ร ะห ว่ าง ป ร ะเท ศ ว่ าด้ ว ย ม า ต ร ฐ า น
อ ง ค์ ก า ร นี้ จ ะ ท า ห น้ า ที่ บั ญ ญั ติ ศั พ ท์ ใ ห้ ค า จ า กั ด ค ว า ม
กาหนดรูป แบบสัญ ลั กษณ์ กาหนดคุ ณ สมบัติ คุ ณ ภาพของบริภั ณ ฑ์ ต่ าง ๆ
ทางคณิ ตศาสตร์ วิท ยาศาสตร์ วิศ วกรรมศาสตร์ และสาขาอื่น ๆ อีกมาก
ส า ห
รั บ
ง า น
ด้
า น
ไ ฟ
ฟ้
า
และอิเล็กทรอนิกส์นั้นจะมีหน่วยงานแยกออกไปเฉพาะ คือ International
Electro technical Commission ใ ช้
ตั ว ย่ อ
IEC
แปลเป็นภาษาไทยว่าคณะกรรมาธิการระหว่างประเทศว่าด้วยเทคนิคไฟฟ้า
ส าหรั บ วิ ช าเขี ย นแบบไฟฟ้ า และอิ เล็ ก ทรอนิ ก ส์ นั้ น รู ป ภาพ สั ญ ลั ก ษณ์
( Graphic Symbol) ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย จ ะ ยึ ด ถื อ ข อ ง IEC
ซึ่งขณะนี้หลายประเทศได้ปรับเปลี่ยนระบบมาใช้มาตรฐานของ IEC แล้ว
เ ช่ น อั ง ก ฤ ษ เ ย อ ร มั น แ ล ะ ส ห รั ฐ อ เ ม ริ ก า
ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ รุ่ น ใ ห ม่ จ ะ ใ ช้ สั ญ ลั ก ษ ณ์ ส า ก ล แ ท น
ประเทศไทยโดยรัฐบาลได้ยอมรับ และใช้ IEC เป็นมาตรฐานของรูปภาพ
และสัญลักษณ์เช่นกัน
1.1.6 ห น่ ว ย ง า น ม า ต ร ฐ า น ใ น ป ร ะ เ ท ศ
ประเทศไทยได้ จั ด ตั้ ง ส านั ก งานมาตรฐานขึ้ น ซึ่ ง เป็ น หน่ ว ยงานของรั ฐ
ขึ้ น อ ยู่ กั บ ก ร ะ ท ร ว ง อุ ต ส า ห ก ร ร ม มี ชื่ อ ว่ า
ส านั ก งาน ม า ต ร ฐ าน ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ อุ ต ส าห ก ร ร ม (Thailand Industrial
Standards Institute) ซึ่
ง ใ ช้
ตั
ว ย่
อ
TIS
ส า นั ก ง า น มี เ ล ข า ธิ ก า ร เ ป็ น ผู้ บั ง คั บ บั ญ ช า
แ ล ะ มี รั ฐ ม น ต รี ก ร ะ ท ร ว ง อุ ต ส า ห ก ร ร ม เ ป็ น ป ร ะ ธ า น
การทางานจะอยู่ในรูปคณะกรรมการเมื่อจะทาเรื่องใดที่นามาตรฐานสากล
ม
า
ใ
ช้
เ ป็
น
ห
ลั
ก
แล้วดาเนินการเป็นขั้นตอนจนประกาศใช้ในราชกิจจานุเบกษาสาหรับการ
เขียนแบบไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์นั้นได้เริ่มทาบางส่วนแต่มีเรื่องที่เกี่ยวข้องกั
บ ก า ร เ ขี ย น แ บ บ ทั่ ว ไ ป อ ยู่ ด้ ว ย ซึ่ ง ไ ด้ ป ร ะ ก า ศ ใ ช้ แ ล้ ว เ ช่ น
วิธีเขียนแบบทั่วไปทางเครื่องกล มอก. 446 แผนภาพ แผนภูมิ และตาราง
(
เ
ด
ช
า
:
30)
มาตรฐานมีความสาคัญมากเพราะเป็นส่วนที่อ้างอิงที่จะทาให้ทุกส่วนเข้ากั
นได้อย่างพอดี และปลอดภัยรวมถึงการอนุรักษ์ต่าง ๆ ด้วย
1.1.7 สั ญ ลั ก ษ ณ์ (Symbol) ผ ล งาน สุ ด ท้ าย ข อ งก าร อ อ ก แ บ บ
คื อ แ บ บ ข อ ง ร ะ บ บ
อุ ป ก ร ณ์ ต่ า ง ๆ
จ ะ ถู ก แ ท น ด้ ว ย สั ญ ลั ก ษ ณ์ ที่ ก า ห น ด เ ป็ น ม า ต ร ฐ า น เดี ย ว กั น
สั ญ ลั ก ษ ณ์ ถู ก น า ไ ป ใ ช้ เ พื่ อ อ ธิ บ า ย ถึ ง ค ว า ม ห ม า ย ต่ า ง ๆ
แ ท น อ ธิ บ า ย ใ น ง า น อ อ ก แ บ บ แ ล ะ ง า น เขี ย น แ บ บ ผู้ อ อ ก แ บ บ
แ
ล
ะ
ผู้
เ ขี
ย
น
แ
บ
บ
ต้ อ งมี ค ว า ม รู้ ส า ม า ร ถ ที่ จ ะแ ป ล ค ว า ม ห ม า ย ข อ ง สั ญ ลั ก ษ ณ์ ต่ า ง ๆ
ได้ เ ป็ น อย่ า งดี สั ญ ลั ก ษ ณ์ ในงานเขี ย นแบบเปรี ย บเสมื อ นภาษาที่ 3
ที่ ผู้ อ อ ก แ บ บ
ผู้ เ ขี ย น แ บ บ
ผู้ อ่ า น แบ บต้ อ งมี ค วามเข้ าใจตรงกั น อย่ า งไม่ ผิ ด เพี้ ยน นั่ น ห มายถึ ง
ความถูกต้องในการสื่อสารทาให้ระบบต่าง ๆ ที่จะดาเนินการถูกต้อง
ตารางที่ 1.1 ตัวอย่างอุปกรณ์ และสัญลักษณ์
1.1.8 มาตรฐานแรงดั น ไฟฟ้ า ต่ า (Standard Low Voltage) ยุ โ รป
อ เม ริ ก า เอ เชี ย ผู้ อ อ ก แ บ บ มี ค ว า ม สั บ ส น ใ น ก า ร เลื อ ก ใ ช้ อุ ป ก ร ณ์
และมาตรฐานเป็นอย่างมาก ระบบต่าง ๆ ของแรงดันไฟฟ้าต่า เช่น
สหราชอาณาจักร 415/240 โวลต์ 3 เฟส 4 สาย
เยอรมนี 400/230 โวลต์ 3 เฟส 4 สาย
ฝรั่งเศส 380/220 โวลต์ 3 เฟส 4 สาย
ยุโรปตกลงใช้ระดับแรงดันมาตรฐาน IEC 60038 400/230 โวลต์ 3
เฟส 4 สาย คลาดเคลื่อนได้ร้อยละ 10
ร ะ ดั บ แ ร ง ดั น ไ ฟ ฟ้ า ข อ ง ป ร ะ เท ศ ไ ท ย ถู ก ก า ห น ด จ า ก 2
หน่วยงานมีการกาหนดตามความเหมาะสมกับท้องถิ่นดังนี้
1. การไฟฟ้านครหลวง
จาหน่ายจากหม้อแปลง 416/240 โวลต์ 3 เฟส 4 สาย
แรงต่าจาหน่าย 380/220 โวลต์ 3 เฟส 4 สาย
2. การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค
จาหน่ายจากหม้อแปลง 400/230 โวลต์ 3 เฟส 4 สาย
แรงต่าจาหน่าย 400/230 โวลต์ 3 เฟส 4 สาย
1.1.9 ร ะ บ บ ส่ ง จ่ า ย ก า ลั ง ไ ฟ ฟ้ า (Power Distribution System)
ร ะ บ บ ส่ ง จ่ า ย ไ ฟ ฟ้ า แ ส ด ง โ ด ย ส รุ ป ใ น รู ป ที่ 1-1
ใ น ค ว า ม เ ป็ น จ ริ ง แ ล้ ว ก า ร ก า เ นิ ด
ส่ ง จ่ า ย
จาหน่ายไฟฟ้าไปยังผู้ใช้มีรายละเอียดมากดังแสดงในรูปที่ 1-2
รูปที่ 1.1 แสดงระบบส่งจ่ายไฟฟ้า
รูปที่ 1.2 แสดงระบบกาเนิด ระบบส่งจ่าย และจาหน่ายกาลังงานไฟฟ้า
1.1.10 ก า ร จ่ า ย แ ล ะ จ า ห น่ า ย ไ ฟ ฟ้ า ใ น ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย
ดาเนิ นงานโดยรัฐวิสาหกิจ 3 แห่ง มีหน้าที่รับผิด ชอบแตกต่างกันออกไป
ดังต่อไปนี้
1. การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) หรือ Electrical
Generating Authority of
Thailand (EGAT.) มี ห น้ า ที่ ห า แ ห ล่ ง ผ ลิ ต พ ลั ง ง า น ไ ฟ ฟ้ า
แ ล ะ ผ ลิ ต ไ ฟ ฟ้ า ใ ห้ เ พี ย ง พ อ กั บ ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร
รวมถึงการสารองการผลิตพลังงานไฟฟ้าด้วย
2. ก า ร ไ ฟ ฟ้ า น ค ร ห ล ว ง ห รื อ Metropolitan Electricity
Authority (MEA.) รับผิดชอบการ
จ่ายพลังงานไฟฟ้าในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล
3. ก า ร ไ ฟ ฟ้ า ส่ ว น ภู มิ ภ า ค ห รื อ Provincial Electricity
Authority (PEA.) รับผิดชอบการจ่าย
พ ลั ง ง า น ไ ฟ ฟ้ า ส่ ว น ที่ เห ลื อ ทั้ ง ห ม ด ไ ด้ แ ก่ พื้ น ที่ น อ ก ช า น เมื อ ง
และต่างจังหวัด
1.1.11 ร ะ บ บ ไ ฟ ฟ้
ระบบไฟฟ้าแบ่งออกเป็นระบบต่าง ๆ ดังนี้
า
( Electrical System)
1. ระบบกาเนิดไฟฟ้า (Generating System)
2. ระบบส่งจ่าย (Transmission System)
3. ระบบจาหน่ายไปยังผู้ใช้ (Distribution System)
4. ระบบจาหน่ายสาธารณะ (Utilization System)
1.1.12 ก า ร ผ ลิ ต ไ ฟ ฟ้ า ใ น ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย
การผลิตไฟฟ้าโดยโรงไฟฟ้าพลังงานต่าง ๆ ดังนี้
1. พลังน้า จ่ายไฟฟ้าได้รวดเร็วภายใน 5 นาที
2. พลังไอน้า จ่ายไฟฟ้าได้ภายใน 6 - 8 ชม.
3. กังหันก๊าซ และดีเซลจ่ายไฟฟ้าได้ภายใน 15 นาที
4. พลังความร้อนร่วมจ่ายไฟฟ้าได้ภายใน 6 - 8 ชม.
1.1.13 ร ะ บ
บ
ก
า ร ส่
ง จ่
า ย
กรรมวิ ธี ก ารส่ ง จ่ า ยไฟฟ้ า จากโรงไฟฟ้ า ไปยั ง ผู้ ใ ช้ เป็ น กรรมวิ ธี ที่ ส ลั บ ซับซ้อนมาก ต้องมีการเชื่อมระบบต่าง ๆ ให้เข้ากันได้อย่างดีต้องมีการเพิ่ม
แ ล ะ ล ด แ ร ง ดั น ไ ฟ ฟ้ า เ ป็ น ช่ ว ง ๆ
ก า ร ส่ ง ไ ฟ ฟ้ า ต้ อ ง ค า นึ ง ถึ ง ร ะ ดั บ แ ร ง ดั น ไ ฟ ฟ้ า จุ ด เ ดิ ม
ระยะทางในการส่งจ่ายไฟฟ้าส่วนมากจะเป็นการส่งจ่ายในระบบเปลือยเห
นือหัว (Overhead Aerial Line) มีระดับแรงดัน ไฟฟ้าของการส่ง 4 ระดับ
คือ
1. ระดับแรงดัน 500 kV 3 เฟส 3 สาย 50 Hz
2. ระดับแรงดัน 230 kV 3 เฟส 3 สาย 50 Hz
3. ระดับแรงดัน 115 kV 3 เฟส 3 สาย 50 Hz
4. ระดับแรงดัน 69 kV 3 เฟส 3 สาย 50 Hz
ระบบส่ ง จ่ า ยไฟฟ้ า แบบแรงดั น สู ง พิ เศษ (Extra High Voltage) 500 kV
เ ป็ น ร ะ บ บ ก า ร ส่ ง พ ลั ง ง า น ไ ฟ ฟ้ า ที่ ฝ่ า ย ผ ลิ ต ใ ช้
เพราะปัจจุบันมีการขยายตัวของการใช้พลังงานไฟฟ้ามากขึ้นกว่าในอดีต
ก า ร ท า ใ ห้ ร ะ บ บ ไ ฟ ฟ้ า มี แ ร ง ดั น สู ง ขึ้ น จ ะ มี ผ ล ดี
คื อ จ่ า ย พ ลั ง ง า น ไ ฟ ฟ้ า ไ ด้ ม า ก ขึ้ น
ล ด ก า ร สู ญ เ สี ย ข อ ง พ ลั ง ง า น ไ ฟ ฟ้ า ใ น ร ะ บ บ ส่ ง
ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ โ ด ย ร ว ม ข อ ง ร ะ บ บ ดี ขึ้ น แ ต่ มี อั น ต ร า ย ม า ก ขึ้ น
การติดตั้งระบบยาก
1.2 ชนิดของแบบไฟฟ้า (Types of Electrical Drawing)
การเขียนแบบไฟฟ้าทั่ว ๆ ไปแบ่งออกเป็น 4 ประเภท ได้แก่ แบบผัง
ตาราง ได อะแ กรม แล ะราย ละเอี ย ด รู ป ด้ าน รู ป ตั ด แล ะป้ ายก ากั บ
ซึ่งมีรายละเอียดดังต่อไปนี้
1.2.1
แ
บ
บ
ผั
ง
(
Plan)
แ บ บ ผั ง เ ป็ น ง า น เ ขี ย น แ บ บ ซึ่ ง ท า ใ ห้ เ ห็ น ภ า พ พ จ น์
แ ล ะ ร า ย ล ะ เอี ย ด ที่ เห มื อ น กั บ ม อ ง ข อ ง จ ริ ง จ า ก มุ ม ม อ ง ด้ า น บ น
แบบผั ง จะแสดงด้ ว ยภาพ 2 มิ ติ คื อ แสดงภาพด้ า นกว้ า ง และด้ า นยาว
แ บ บ ผั ง จ ะ แ ส ด ง ร า ย ล ะ เอี ย ด ส่ ว น ต่ า ง ๆ ข อ ง อ า ค า ร ส ถ า น ที่
ห รื อ โ ร ง ง า น อุ ต ส า ห ก ร ร ม โ ด ย จ ะ บ อ ก ข น า ด เป็ น ม า ต ร า ส่ ว น
การเขียนแบบผั งในบางครั้ งจาเป็น ต้องเขียนแบบในพื้ น ที่ที่มีขนาดใหญ่
และถ้าใช้มาตราส่วนที่แตกต่างกันเขียนแบบในพื้นที่นี้จะทาให้เกิดผิดพลา
ด ไ ด้ ซึ่ ง เ ป็ น ไ ป ไ ม่ ไ ด้ ที่ จ ะ เ ขี ย น แ บ บ แ ส ด ง ส่ ว น ต่ า ง ๆ
ภ า ย ใ น ก ร ะ ด า ษ เ ขี ย น แ บ บ แ ผ่ น เ ดี ย ว
ใ น ที่ นี้ จ ะ ต้ อ ง เขี ย น แ บ บ ใ น ก ร ะ ด า ษ ห ล า ย แ ผ่ น ม า ป ร ะ ก อ บ กั น
ก า ร ต่ อ แ บ บ จ ะ แ ส ด ง แ น ว เ ส้ น เ ชื่ อ ม ต่ อ ( Match line)
คื อ เ ส้ น ป ร ะ เ ป็ น เ ส้ น แ ส ด ง ภ า พ ตั ด
โดยที่ แ บบแผ่ น แรกจะแสดงแนวเส้ น เชื่ อ มต่ อ ตั ด ที่ ส่ ว นท้ า ยของแบบ
แ ล ะ แ บ บ แ ผ่ น ถั ด ม า จ ะ มี แ น ว เส้ น เชื่ อ ม ต่ อ เส้ น เริ่ ม ต้ น ข อ ง แ บ บ
ส่วนเครื่องหมายแนวเส้นเชื่อมต่อแสดงว่าจะต้องต่อแบบเข้ากับส่วนใดในแ
ผ่ น ก ร ะ ด า ษ เ ขี ย น แ บ บ ดั ง ตั ว อ ย่ า ง ใ น รู ป ที่ 1-3 ถึ ง รู ป ที่ 1-5
แสดงแนวเส้นเชื่อมต่อที่ใช้ในงานเขียนแบบ
รูปที่ 1-3 การใช้แนวเส้นเชื่อมต่อในแบบหมายเลข ED-002
ในรู ป ที่ 1-3 เป็ น ผั ง ที่ มี แ นวเส้ น เชื่ อ มต่ อ ตั ด อยู่ ต รงส่ ว นหลั ง จุ ด D
แ ล ะ มี ร า ย ล ะ เ อี ย ด แ บ บ อ้ า ง อิ ง เ ขี ย น ไ ว้ ว่ า ED-002
ห ม า ย ค ว า ม ว่ า ผั ง ยั ง มี ต่ อ จ า ก จุ ด D ไ ป อี ก
และให้ ไ ปดู ร ายละเอี ยดส่ วนที่ ต่ อจากแนวเส้น เชื่ อ มต่ อในแบบหมายเลข
ED–002
รูปที่ 1.4 การใช้แนวเส้นเชื่อมต่อในแบบหมายเลข ED-002
ในรู ป ที่ 1-4 เป็ น แบบผั ง ที่ มี แ นวเส้ น เชื่ อ มต่ อ อยู่ ต รงส่ ว นหน้ า จุ ด E
ห ม า ย ค ว า ม ว่ า ผั ง นี้ ต่ อ ม า จ า ก แ บ บ ห ม า ย เ ล ข ED-001
ส่ ว น แน วเส้ น เชื่ อ ม ต่ ออี ก เส้ น ตั ด ต าม แน วน อ น ด้ าน ล่ างข องจุ ด ที่ 3
และมี ร าย-ละเอี ย ดอ้ า งอิ ง เขี ย นไว้ ว่ า เลขที่ แ บบ ED-003 หมายความว่ า
ใ ห้ ดู ร า ย ล ะ เ อี ย ด ต่ อ จ า ก ส่ ว น นี้ ใ น แ บ บ ห ม า ย เ ล ข ED–003
แ ล ะ ที่ เ ขี ย น ว่ า เ ส้ น ก า ห น ด ข อ บ เ ข ต ( Boundary limit)
เป็นเส้นที่แสดงการจัดเรียงขอบเขตของแบบ ส่วนเส้นแนวสิ้นสุดของแบบ
(Drawing limits) เป็นเส้นที่แสดงให้เห็นว่าไม่มีแบบต่อจากนี้อีกแล้ว
รูปที่ 1.5 การใช้แนวเส้นเชื่อมต่อในแบบหมายเลข ED-003
ในรู ป ที่ 1-5 มี แ นวเส้ น เชื่ อ มต่ อ อยู่ ต ามแนวนอนก่ อ นถึ ง จุ ด ที่ 4
มี ร า ย ล ะ เ อี ย ด อ้ า ง อิ ง เ ขี ย น ไ ว้ ว่ า เ ล ข ที่ แ บ บ ED-002
หมายถึงให้ดูรายละเอียดส่วนที่ต่อจากด้านนี้ในแบบหมายเลข ED-002
แบบผังจะแสดงรายละเอียดของงาน เช่น บริภัณฑ์ไฟฟ้า ที่ตั้งอาคาร
แ ล ะ ร า ย ล ะ เอี ย ด ข อ ง แ บ บ อ้ า ง อิ ง ที่ มี ม า ต ร า ส่ ว น ข น า ด ใ ห ญ่
ห
รื อ
แ
บ
บ
ผั
ง บ
า ง ส่
ว
น
และในบางครั้งจะมีคาอธิบายเล็กน้อยตามปกติแบบผังจะไม่มีคาอธิบายประ
กอบ ซึ่งชนิดต่าง ๆ ของแบบผังแบ่งออกได้ดังนี้
1. แบบผังไฟฟ้ากาลัง (Power plan)
2. แบบผังแสงสว่าง (Lighting plan)
3. แบบผังเครื่องวัดไฟฟ้า (Instrument plan)
4. แบบผังการเดินสายใต้ดิน (Underground plan)
5. แบบผังบริภัณฑ์ไฟฟ้า (Equipment plan)
6. แบบผังการต่อลงดิน (Grounding plan)
7. แบบผังแนวเสาไฟ (Pole line plan)
8. แบบผังการวางท่อ (Conduit stub plan)
9. แบบผังตัวอาคาร (Building plan)
10. แบบผังการเดินท่อ (Conduit plan)
1.2.2 ต า ร า ง ( Schedule) แ บ บ ต า ร า ง ทั่ ว ๆ
ไ ป มี ข น า ด ใ ห ญ่ เ ท่ า กั บ ก ร ะ ด า ษ เ ขี ย น แ บ บ ใ ช้ ส า ห รั บ ส รุ ป
หรือรวบรวมรายละเอียดของแบบทาเป็นตารางรายการจะแสดงจานวนลา
ดั
บ
ตั
ว
อั
ก
ษ
ร
หรื อ อย่ า งอื่ น ดั ง นั้ น ข้ อ มู ล จึ ง สามารถแก้ ไ ขได้ ไ ม่ ต้ อ งพิ จ ารณาข้ อ อื่ น ๆ
ใ น ต า ร า ง ข้ อ มู ล จ ะ ต้ อ ง ส ม บู ร ณ์ มี แ บ บ อ้ า ง อิ ง อั ก ษ ร ก า กั บ
หรือบันทึกคาอธิบาย
ต า ร า ง ท่ อ แ ล ะ ส า ย ไ ฟ ฟ้ า ( Conduit and Cable schedule)
มี ร า ย ล ะ เอี ย ด ข อ ง จ า น ว น ท่ อ ห รื อ ส า ย ไ ฟ ฟ้ า ที่ ใ ช้ ใ น โ ค ร ง ก า ร
และข้อมูลในตารางจะต้องตรงกัน เช่น ขนาด ชนิดสายไฟที่ใช้ ความยาว
แรงดัน เป็นต้น
ต า ร า ง ม อ เต อ ร์ แ ล ะ ส า ย ป้ อ น (Motor and Feeder schedule)
ในตารางมีรายละเอียดของหมายเลขมอเตอร์ทุกตัวในโครงการ กาลังม้า
พิ กั ด กิ โ ลวั ต ต์ ข องมอเตอร์ กระแสโหลดเต็ ม พิ กั ด ท่ อ ร้ อ ยสายไฟฟ้ า
ส า ย ไ ฟ ฟ้ า แ ล ะ ต า แ ห น่ ง ข อ ง ชุ ด ค ว บ คุ ม ม อ เต อ ร์ ต า ร า ง ที่ 1-2
แสดงตารางมอเตอร์ และสายป้อน ชนิดของแบบตารางอื่น ๆ ดังนี้
1. ตารางกล่องต่อสาย (Junction box schedule)
2. ตารางช่องใส่สวิตช์ (Switch rack schedule)
3. ตารางสายเคเบิล (Cable schedule)
4. ตารางดวงโคม หรื อ อุ ป กรณ์ ป ระกอบ (Fixture or device
schedule)
5. ตารางหม้อแปลง (Transformer schedule)
6. ต า ร า ง ศู น ย์ ค ว บ คุ ม ม อ เต อ ร์ ( Motor control center
schedule)
ตารางที่ 1.2 แสดงตารางมอเตอร์ และสายป้อน
1.2.3 แ บ บ ไ ด อ ะ แ ก ร ม
( Diagram)
ไ ด อ ะ แ ก ร ม แ ส ด ง ท า ง เดิ น ข อ ง ส า ย ไ ฟ ฟ้ า ส า ย ต่ อ เข้ า อุ ป ก ร ณ์
แ ส ด ง ล า ดั บ ขั้ น ก า ร ท า ง า น ข อ ง อุ ป ก ร ณ์ ห รื อ ก า ร ต่ อ ส า ย ไ ฟ
การติดตั้งทางไฟฟ้า โดยแบ่งเป็นไดอะแกรมต่าง ๆ ดังนี้
1. ไดอะแกรมเส้ น เดี ย ว (One line diagram or Single line
diagram)
2. ไดอะแกรมแผนผังการควบคุม (Schematic diagram)
3. ไ ด อ ะ แ ก ร ม ง า น ส า เร็ จ ( Wiring diagram or Working
diagram)
4. ไดอะแกรมแนวดิ่ง (Riser diagram)
5. ไดอะแกรมกลุ่มการเดินสาย (Field wiring diagram)
6. ไดอะแกรมการเดินสายเครื่องวัดไฟฟ้า (Instrument wiring
diagram)
7. ไดอะแกรมการต่ อ สายเชื่ อ มโยงถึ ง กั น (Interconnection
diagram)
8. ไดอะแกรมการต่ อ สายภายนอก (External connection
diagram)
9. ไ ด อ ะแ ก ร ม ก า ร เดิ น ส า ย อื่ น ๆ (Miscellaneous wiring
diagram)
โดยทั่วไปแบบในการเขียนไฟฟ้านั้น สามารถแบ่งออกได้เป็น 4 ประเภท
ดังนี้
1. แบบงานจริง (Pictorial)
รูปที่ 2.6 แบบงานจริง (Pictorial)
เป็ น แบบไฟ ฟ้ าที่ มี ลั ก ษ ณ ะเป็ น ภ าพ เสมื อ น งาน ไฟ ฟ้ าข องจริ ง
ที่ แ ส ด ง ใ ห้ เห็ น ถึ งลั ก ษ ณ ะภ า ย น อ ก ข อ ง ก า ร ติ ด ตั้ ง ไ ฟ ฟ้ า ทั้ งห ม ด
โดยแบบไฟฟ้าประเภทนี้จะนิยมเขียนให้เห็นเป็นรูปลักษณ์ของอุปกรณ์ที่มี
การติดตั้งจริง ตามลักษณะภายนอกที่ตาสามารถมองเห็น ได้ ไม่ว่าจะเป็น
อุปกรณ์ หรือ จุดที่ติดตั้ง เป็นต้น
2. แบบไดอะแกรมแผนผัง (Schematic Diagram)
รูปที่ 2.6 ต้นแบบไดอะแกรมแผนผัง (Schematic Diagram)
เป็นแบบไฟฟ้าที่แสดงให้เห็นถึงทางเดินของกระแสไฟฟ้าไปยังอุปกร
ณ์
ต่
า ง
ๆ
ที่
มี ก
า ร ติ
ด
ตั้
ง
โ ด ย มั น เ ป็ น แ บ บ ไ ฟ ฟ้ า ที่ มี วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ ใ น ก า ร อ อ ก แ บ บ
ก็เพื่อต้องการให้ช่างไฟฟ้าได้เห็นหรือทราบถึงการต่อวงจรภายในของระบ
บ
ไ
ฟ
ฟ้
า
นั้
น
ๆ
เพื่อที่ช่างไฟฟ้าจะได้ทาการติดตั้งหรือซ่อมแซมวงจรไฟฟ้าได้อย่างถูกต้อง
ตามที่ได้ออกแบบเอาไว้
3. แบบไดอะแกรมเส้นเดียว (One Line Diagram)
รูปที่ 2.7 แบบไดอะแกรมเส้นเดียว (One Line Diagram)
เ ป็ น แ บ บ ไ ฟ ฟ้ า ที่ มี ลั ก ษ ณ ะ ที่ ค ล้ า ย กั บ แ บ บ ง า น จ ริ ง
แต่จะแตกต่างกันตรงที่แบบไฟฟ้าประเภทไดอะแกรมเส้นเดียวจะเขียนเส้น
อ อ ก ม า เ พี ย ง แ ค่ เ ส้ น เ ดี ย ว แ ท น ส า ย ไ ฟ
โดยมันเป็นแบบไฟฟ้าที่มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ช่างไฟฟ้ าสามารถทราบตาแ
หน่งที่ต้องการติดตั้งอุปกรณ์เพียงอย่างเดียว โดยในส่วนของอุปกรณ์ต่าง
ๆ ที่อยู่ภายในแบบ จะถูกเขียนแทนด้วยสัญลักษณ์อื่น ๆ
4. แบบไดอะแกรมวงจรไฟฟ้า (Wiring Diagram)
รูปที่ 2.8 แบบไดอะแกรมวงจรไฟฟ้า (Wiring Diagram)
เป็นแบบไฟฟ้าที่แสดงให้เห็นถึงวัตถุประสงค์ทั้งหมดของการเขียนแบ
บ ท า ง ไ ฟ ฟ้ า ไ ม่ ว่ า จ ะ เ ป็ น ต า แ ห น่ ง ที่ ท า ก า ร ติ ด ตั้ ง ห รื อ
ก า ร ต่ อ ว ง จ ร ไ ฟ
ฟ้
า ต่ า ง
ๆ
โดยอุปกรณ์ของจริงภายในแบบไฟฟ้าประเภทนี้จะถูกแทนด้วยสัญลักษณ์
ทางไฟฟ้า
ใบงาน
หน่วยที่ 1
ชื่อวิชา
วิชาเขียนแบบแมคคาทรอนิกส์ด้วยคอมพิ
วเตอร์
ชื่อหน่วย
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียนแบบไฟ
ฟ้า
สอนสัปดาห์ที่
ชื่อเรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียนแบบไฟฟ้า
1
ท
ป
น
2
3
3
จานวนคาบ 5
เกณฑ์การพิจารณา ใบงานหน่วยที่ 1
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการอ่านและเขียนแบบไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์
ชื่อ-สกุล
สาขา
ชั้นปี
ที่
รายการประเมิน
คะแนน
3
2
1
ข้อคิดเห็น
1 เนื้อหาสาระครอบคลุมชัดเจน
(ความรู้เกี่ยวกับเนื้อหา ความถูกต้อง
ปฏิภาณในการตอบ
และการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า)
2 รูปแบบการนาเสนอ
3 การมีส่วนร่วมของสมาชิกในกลุ่ม
4 ความสนใจใฝ่ รู้ ความคิ ด สร้ า งสรรค์
การพึ่ ง พาตนเองและการท างานเป็ น ที ม
แ ล ะ มี จิ ต บ ริ ก า ร ส า ธ า ร ณ ะ
ด้วยความรอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง
รวม
ผู้ประเมิน…………………………………………………
เกณฑ์การให้คะแนน
1. เนื้อหาสาระครอบคลุมชัดเจนถูกต้อง
3 คะแนน
ตรงตามจุดประสงค์
=
มีสาระสาคัญครบถ้วนถูกต้อง
2 คะแนน =
สาระสาคัญไม่ครบถ้วน แต่ตรงตามจุดประสงค์
1 คะแนน =
สาระสาคัญไม่ถูกต้อง ไม่ตรงตามจุดประสงค์
2. รูปแบบการนาเสนอ
3 คะแนน
=
มีรูปแบบการนาเสนอที่เหมาะสม
มีการใช้เทคนิคที่แปลกใหม่ ใช้สื่อและเทคโนโลยี
ประกอบการ นาเสนอที่น่าสนใจ
นาวัสดุในท้องถิ่นมาประยุกต์ใช้อย่างคุ้มค่าและประหยัด
2 คะแนน =
มีเทคนิคการนาเสนอที่แปลกใหม่
ใช้สื่อและเทคโนโลยีประกอบการนาเสนอที่น่าสน ใจ
แต่ขาดการประยุกต์ใช้ วัสดุในท้องถิ่น
1 คะแนน =
เทคนิคการนาเสนอไม่เหมาะสม และไม่น่าสนใจ
3. การมีส่วนร่วมของสมาชิกในกลุ่ม
3 คะแนน =
สมาชิกทุกคนมีบทบาทและมีส่วนร่วมกิจกรรมกลุ่ม
2 คะแนน =
สมาชิกส่วนใหญ่มีบทบาทและมีส่วนร่วมกิจกรรมกลุ่ม
1 คะแนน =
สมาชิกส่วนน้อยมีบทบาทและมีส่วนร่วมกิจกรรมกลุ่ม
4. ความสนใจของผู้ฟัง
3 คะแนน =
ผู้ฟังมากกว่าร้อยละ 90 สนใจ และให้ความร่วมมือ
2 คะแนน =
ผู้ฟังร้อยละ 70-90 สนใจ และให้ความร่วมมือ
1 คะแนน =
ผู้ฟังน้อยกว่าร้อยละ 70 สนใจ และให้ความร่วมมือ
ข้อสอบ
หน่วยที่ 1
ชื่อวิชา
วิชาเขียนแบบแมคคาทรอนิกส์ด้วยคอมพิ
วเตอร์
ชื่อหน่วย
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียนแบบไฟ
ฟ้า
สอนสัปดาห์ที่
ชื่อเรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียนแบบไฟฟ้า
1
ท
ป
น
2
3
3
จานวนคาบ 5
การประเมินผลการเรียนรู้
หลักการประเมินผลการเรียนรู้
ก่อนเรียน
1. ความรู้เบื้องต้นก่อนการเรียนการสอน
ขณะเรียน
1. ตรวจใบปฏิบัติงาน 2 วงจรขยายออปแอมป์
หลังเรียน
1. ตรวจข้อสอบหน่วยที่ 2
2.
ผลงาน/ชิน
้ งาน/ความสาเร็จของผูเ้ รียน
1. ใบงานหน่วยที่ 2
2. ข้อสอบหน่วยที่ 2
สมรรถนะที่พงึ ประสงค์
ผู้เรียนสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับ รูปร่างสัญญาณไฟฟ้า
1. วิเคราะห์และตีความหมาย
2. สาธิตพร้อมแสดงท่าทางประกอบ
3. อภิปรายแสดงความคิดเห็น
4. ประยุกต์ความรู้สู่งานอาชีพ
สมรรถนะการปฏิบต
ั ิงานอาชีพ
ใช้งานวงจรขยายออปแอมป์
บันทึกหลังการสอน
หน่วยที่ 2 การเขียนแบบของสคีมเมติกไดอะแกรม (Schematic
Diagram)
ผลการใช้แผนการเรียนรู้
.........................................................................................................
.........................................................................................................
.........................................................................................................
.............................................
.........................................................................................................
.........................................................................................................
.........................................................................................................
.............................................
.........................................................................................................
.........................................................................................................
.........................................................................................................
.............................................
ผลการเรียนของนักเรียน
.........................................................................................................
.........................................................................................................
.........................................................................................................
.............................................
.........................................................................................................
.........................................................................................................
.........................................................................................................
.............................................
.........................................................................................................
.........................................................................................................
.........................................................................................................
.............................................
ผลการสอนของครู
.........................................................................................................
.........................................................................................................
.........................................................................................................
.............................................
.........................................................................................................
.........................................................................................................
.........................................................................................................
.............................................
.........................................................................................................
.........................................................................................................
.........................................................................................................
.............................................
Download