Uploaded by MR. AU TAIN CHOT CHEUR

ch01

advertisement
วงจรไฟฟ้า (Electric circuit)
วงจรไฟฟ้าหรือ โครงข่ายไฟฟ้า (Electric network) ก็คือการเชื่อมต่อกันของอุปกรณ์ไฟฟ้า (Electric
element) ตั้งแต่ 2 ตัวขึ้นไป
รูปที่ 1.1 วงจรไฟฟ้าอย่างง่ายที่ประกอบด้วยถ่านไฟฉายและหลอดไฟ
หน่วย SI (International System of Units)
หน่วยที่ใช้เป็นมาตรฐานในทางวิศวกรรมคือ หน่วย SI มีปริมาณพื้นฐานอยู่ 6 หน่วยดังแสดงในตาราง
ปริมาณ
ความยาว (Length)
น้้าหนัก (Mass)
เวลา (Time)
กระแสไฟฟ้า (Electric Current)
อุณหภูมิ (Temperature)
ความเข้มการส่องสว่าง (Luminous
intensity)
หน่วย
เมตร (Meter)
กิโลกรัม
(kilogram)
วินาที (Second)
แอมแปร์
(Ampere)
เคลวิน (Kelvin)
แคนเดอลา
(Candela)
สัญลักษณ์
m
kg
s
A
K
cd
คาอุปสรรคในหน่วย SI (SI Prefixes)
ตัวคูณ
109
106
103
102
101
10-1
10-2
10-3
10-6
10-9
10-12
10-15
คาอุปสรรค
Giga
Mega
Kilo
Hecto
Deka
Deci
Centi
milli
micro
nano
pico
femto
สัญลักษณ์
G
M
K
H
da
d
c
m
µ
n
p
f
ประจุไฟฟ้า (Electric Charge)
ประจุไฟฟ้าคือคุณสมบัติทางไฟฟ้าของอนุภาคใน
สสารมีหน่วยเป็น คูลอมบ์ (Coulomb,C) โดย
ประกอบด้วยประจุบวกและประจุลบ ซึ่งประจุชนิด
เดียวกันจะผลักกันแต่ประจุต่างชนิดกันจะดูดกัน
ประจุไฟฟ้านี้จะใช้อักษรย่อเป็น q หรือ Q
Charlesอนุภาคที่เล็กที่สุดของสสารซึ่งก็คืออะตอม(atom)
Augustin de
ซึ่งในอะตอมแต่ละอะตอมจะประกอบด้วย
อิเล็กตรอน (Electrons) โปรตอน (Protons) และ Coulomb
French
นิวตรอน (Neutron) โดยที่อิเล็กตรอนจะมีประจุ
ขนาด -1.6021x10-19 คูลอมบ์ โปรตอนจะมีประจุ physicist.(17361806)
ขนาด +1.6021x10-19 คูลอมบ์ ส่วนนิวตรอนจะไม่
มีประจุ
รูปที่ 1.2 องค์ประกอบต่างๆของอะตอม
กระแสไฟฟ้า (Electric Current)
กระแสไฟฟ้าใช้ตัวอักษร i หรือ I คืออัตราการเคลื่อนที่ของประจุ
ไฟฟ้าในหนึ่งหน่วยเวลา มีหน่วยเป็น แอมแปร์ (Ampere,A)
หรือเราสามารถหาประจุที่มีการส่งผ่านในช่วงเวลา t0 ถึง t ได้โดย
ไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current,DC)
คือ กระแสไฟฟ้าที่ไม่มีการเปลี่ยนแปลงตามเวลา
Andre-Marie
Ampere
French
physicist.(17751836)
ไฟฟ้ากระแสสลับ (Alternating Current,AC)
คือกระแสไฟฟ้าที่มีการเปลี่ยนแปลงตามเวลาเป็นรูปแบบฟังก์ชันไซน์
รูปที่ 1.3 ไฟฟ้ากระแสตรงและไฟฟ้ากระแสสลับ
ในการเขียนค่าของกระแสไฟฟ้านั้นที่ส้าคัญคือเรื่องของทิศทาง เช่นในรูป 1.4(a) กระแสขนาด 3A
เคลื่อนที่จากทางซ้ายไปทางขวา ซึ่งกระแสเดียวกันนี้สามารถเขียนแสดงได้อีกรูปแบบหนึ่งคือรูปที่
1.4(b) คือกระแสขนาด -3A เคลื่อนที่จากทางขวาไปทางซ้าย
รูปที่ 1.4 กระแสขนาดเท่ากันที่แสดงในสองรูปแบบ
แรงดัน (Voltage)
แรงดันนี้ใช้อักษรย่อเป็น v หรือ V มีหน่วยเป็นโวลต์
(Volts,V) ซึ่งแรงดันคืองาน(Work) ที่ใช้ในการเคลื่อนประจุ 1
คูลอมบ์จากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง
Alessandro
Volta
Italian
โดย w คืองาน มีหน่วยเป็น จูล (Joules,J)
physicist.(1745
- 1827)
สมมติว่าเรามีอุปกรณ์ไฟฟ้าตัวหนึ่งที่ต่ออยู่ที่ขั้ว a และ b งาน
ที่ใช้เคลื่อนประจุ 1 คูลอมบ์ ผ่านอุปกรณ์นั้นจากขั้ว a ไปยังขั้ว
b เราเรียกว่าแรงดันระหว่างขั้ว a และขั้ว b หรือใช้อักษรย่อ
คือ vab ดังแสดงในรูปที่ 1.5(a) จากรูปจะเห็นว่าเครื่องหมาย
บวกและลบจะแสดงถึงว่าขั้วบวกมีแรงดันมากกว่าขั้วลบ
เท่ากับ vab โวลต์ รูปที่ 1.5(a) และ 1.5(b) แสดงถึงแรงดันที่
มีค่าเท่ากัน ที่แสดงด้วยการเขียนต้าแหน่งของขั้วบวกและลบที่
ต่างกัน หรือกล่าวได้ว่า vab เท่ากับ -vba
James
Prescott Joule
English
physicist.(1818
- 1889)
รูปที่ 1.5 แรงดันขนาดเท่ากันที่ตกคร่อมอุปกรณ์ไฟฟ้าหนึ่ง
แสดงในสองรูปแบบ
พลังงานและกาลังงาน (Power and Energy)
ก้าลังงานใช้อักษรย่อเป็น p หรือ P คืออัตราการ
ใช้พลังงาน มีหน่วยเป็นวัตต์ (Watt,W)
หรือ
การหาค่าก้าลังงานนั้นจะก้าหนดให้ทิศทางของ
กระแสไหลจากขั้วบวกของแรงดันไปยังขั้วลบดังรูป
1.6 เราเรียกการก้าหนดขั้วของแรงดันและทิศทาง
ของกระแสแบบนี้ว่า "การก้าหนดเครื่องหมายแบบ
อุปกรณ์พาสซีฟ" (passive sign convention)
James Watt
Scottish
engineer.(17361819)
รูปที่ 1.6 ขั้วของแรงดันและทิศทางของกระแสที่ใช้
หาค่าก้าลังงาน
ค่าของก้าลังงานที่อุปกรณ์ไฟฟ้าใดๆนั้นสามารถเป็นได้ทั้งค่าบวกและลบขึ้นอยู่กับค่าของแรงดันและ
กระแส โดยถ้าก้าลังงานที่อุปกรณ์ไฟฟ้าใดๆมีค่าเป็นบวกจะเรียกว่าอุปกรณ์ไฟฟ้านั้น ดูดกลืนก้าลัง
งาน (Absorbing power) แต่ถ้าก้าลังงานที่อุปกรณ์ไฟฟ้าใดๆมีค่าเป็นลบจะเรียกว่าอุปกรณ์ไฟฟ้า
นั้น จ่ายก้าลังงาน (Delivering power หรือ Supplying power)
ส่วนพลังงานที่อุปกรณ์ไฟฟ้าหนึ่งๆใช้ไปในช่วงเวลา t0 ถึง t ใดๆคือ
พลังงานนั้นมีหน่วยเป็นจูล แต่บางครั้งในทางไฟฟ้าก้าลังมักจะใช้หน่วยเป็นวัตต์ชั่วโมง (watt-hour
,Wh) โดย
1 Wh = 3600 J
อุปกรณ์ไวงานและอุปกรณ์เฉื่อยงาน (Active and Passive elements)
อุปกรณ์แบบเฉื่อยงาน (Passive element) คืออุปกรณ์ที่รับพลังงานเพียงอย่างเดียวไม่สามารถจ่าย
พลังงานได้ หรือมีพลังงานเป็นบวกตลอดเวลานั่นเอง จะได้ว่าอุปกรณ์เฉื่อยงานต้องเป็นไปตามสมการ
ตัวอย่างของอุปกรณ์แบบเฉื่อยงานก็คือตัวต้านทาน ตัวเก็บประจุและตัวเหนี่ยวน้าเป็นต้น
ส่วนอุปกรณ์แบบไวงาน (Active element) ก็คืออุปกรณ์ที่สามารถจ่ายพลังงานได้นั่นเอง คืออุปกรณ์
ที่มีค่าพลังงานเป็นบวกได้ ตัวอย่างของอุปกรณ์แบบไวงานก็เช่นแบตเตอรี่ เครื่องก้าเนิดไฟฟ้าเป็นต้น
แหล่งจ่ายแรงดันและแหล่งจ่ายกระแส (Voltage and Current source)
แหล่งจ่ายแรงดันแบบอิสระ(Independent voltage source) ยกตัวอย่างเช่นแบตเตอรี่หรือ เครื่อง
ก้าเนิดไฟฟ้า ก็คืออุปกรณ์สองขั้วหนึ่งที่มีแรงดันระหว่างขั้วทั้งสองเป็นค่าหนึ่ง โดยสามารถมี
กระแสไฟฟ้าไหลผ่านตัวเองเท่าไรก็ได้ ดังแสดงสัญลักษณ์ในรูปที่ 1.7 โดยในรูป 1.7(a) เป็นสัญลักษณ์
ของแหล่งจ่ายแรงดันแบบอิสระแบบทั่วๆไป ส่วนในรูป 1.7(b) เป็นสัญลักษณ์ของแหล่งจ่ายแรงดัน
แบบอิสระที่เป็นแหล่งจ่ายไฟตรงหรือแบตเตอรี่นั่นเอง
รูปที่ 1.7 (a) สัญลักษณ์ของแหล่งจ่ายแรงดัน
รูปที่ 1.7 (b) สัญลักษณ์ของแหล่งจ่ายแรงดันไฟตรง
ส่วนแหล่งจ่ายกระแสแบบอิสระ (Independent current source) ก็คืออุปกรณ์สองขั้วชนิดหนึ่ง ที่มี
กระแสไหลผ่านตัวเองเป็นค่าหนึ่งโดยสามารถมีแรงดันตกคร่อมตัวเองเท่าไรก็ได้ ดังแสดงสัญลักษณ์ใน
รูปที่ 1.8 โดยลูกศรในสัญลักษณ์แสดงทิศทางการไหลของกระแส
รูปที่ 1.8 สัญลักษณ์ของแหล่งจ่ายกระแส
แหล่งจ่ายแบบไม่อิสระ (Dependent source)
แหล่งจ่ายอีกชนิดหนึ่งคือแหล่งจ่ายแบบไม่อิสระ เป็นแหล่งจ่ายที่มีค่าเปลี่ยนแปลงไปตามกระแส หรือ
แรงดันที่จุดหนึ่งๆในวงจรแบ่งได้เป็น 4 ชนิดคือ
1. แหล่งจ่ายแรงดันควบคุมด้วยแรงดัน (Voltage Controlled Voltage Source ,VCVS)
2. แหล่งจ่ายแรงดันควบคุมด้วยกระแส (Current Controlled Voltage Source ,CCVS)
3. แหล่งจ่ายกระแสควบคุมด้วยแรงดัน (Voltage Controlled Current Source ,VCCS)
4. แหล่งจ่ายกระแสควบคุมด้วยกระแส (Current Controlled Current Source ,CCCS)
สัญลักษณ์ของแหล่งจ่ายแบบไม่อิสระทั้งสี่แสดงดังรูปที่ 1.8
รูปที่ 1.9 แหล่งจ่ายแบบไม่อิสระ
แหล่งจ่ายทั้งสี่ดังรูป 1.9 แรงดัน v x และกระแส i x คือแรงดันหรือกระแสที่ท้าหน้าที่ควบคุม
แหล่งจ่ายนั้นๆส่วนค่า A จะเป็นตัวเลขที่แสดงอัตราขยายของแหล่งจ่ายนั้น
Download