Uploaded by MR. AU TAIN CHOT CHEUR

unit 10 การทําแผ่นวงจรพิมพ์

advertisement
หนวยที่ 10 การทําแผนวงจรพิมพ
1
การทําแผนวงจรพิมพ
(Printed Circuit Board Creation)
หัว ขอเรือ่ ง
10.1
10.2
10.3
10.4
ความหมายของแผนวงจรพิมพ
ชนิดของแผนวงจรพิมพ
อุปกรณสําหรับทําแผนวงจรพิมพ
วิธีการทําแผนวงจรพิมพ
สาระสําคัญ
การศึ กษาเรื่ อง การทํ าแผ นวงจรพิ มพ คื อ การศึกษาเกี่ ยวกั บหลั กการพื้นฐานในการสร าง
แผนวงจรพิมพในรูปแบบตาง ๆ เพื่อใหผูเรียนไดเรียนรูทักษะกระบวนการสรางวงจรอิเล็กทรอนิกสตั้งแต
เริ่มตนการออกแบบวงจร จนสามารถสรางวงจรที่สามารถไชงานไดตามที่ตองการลงบนแผนวงจรพิมพได
สาระสําคัญที่ผูเรียนจะไดศึกษาในหนวยที่ 10 ไดแก ความหมายของแผนวงจรพิมพ ชนิดของแผนวงจรพิมพ
อุปกรณสําหรับสรางแผนวงจรพิมพ และวิธีการสรางแผนวงจรพิมพ
สมรรถนะอาชีพ
1.
2.
3.
4.
แสดงความรูเกี่ยวกับการทําแผนวงจรพิมพ
สามารถสรางแผนวงจรพิมพได
แสดงการวัด ทดสอบ การบัดกรี และการแกไขจุดบกพรองบนแผนวงจรพิมพ
นอมนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใชในการปฏิบัติงาน
การทําแผนวงจรพิมพ
2
วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม
1. บอกความหมายของแผนวงจรพิมพได
2. บอกชนิดของแผนวงจรพิมพได
3. บอกรายการอุปกรณสําหรับการทําแผนวงจรพิมพได
4. บอกหนาที่ของอุปกรณสําหรับการทําแผนวงจรพิมพได
5. อธิบายวิธีการทําแผนวงจรพิมพได
6. ทําแผนวงจรพิมพไดอยางนอย 1 วงจร
7. วัด ทดสอบ บัดกรี และการแกไขจุดบกพรองบนแผนวงจรพิมพได
8. ใชมัลติมิเตอรวัดและอานคาแรงดันไฟฟาได
9. ใชมัลติมิเตอรวัดและอานคากระแสไฟฟาได
10. ใชออสซิลโลสโคปวัดและอานคาของสัญญาณได
11. มีคุณธรรมจริยธรรม แสดงเจตคติและพฤติ กรรมลักษณะนิ สัยในการปฏิบัติงานด วยความ
รับผิดชอบ ซื่อสัตย ใฝรู มีความคิดริเริ่มสรางสรรค ละเอียด รอบคอบ ปลอดภัย และทํางาน
รวมกับผูอื่นได
การทําแผนวงจรพิมพ
3
บทนํา
การทํา แผน วงจรพิม พห รือ ในวงการอิเ ล็ก ทรอนิก สเ รียกวา “แผนพริน ตว งจร” เปน สิ่ง ที่
ผูเรียนอิเล็กทรอนิกสจําเปนตองเรียนรูและสามารถทํา ไดเ นื่องจากการสรางวงจรอิเล็ก ทรอนิก สจาก
แนวคิดหรือหลักทฤษฎีที่เรียนมาจะสามารถทํางานไดตามที่ออกแบบไวหรือไมจะตองสิ้นสุดที่การนํา
วงจรที่ไ ดออกแบบไวม าสรา งเปนชิ้นงานที่สามารถนํา ไปใชป ระโยชนไ ดจ ริง แผน วงจรพิม พที่ใ ชใ น
ปจจุบันมีมากมายหลายแบบแตละแบบมีความเหมาะสมกับงานตา งกันไป ดังนั้นการศึกษาเนื้อหาใน
หนว ยการเรีย นที ่ 10 นี ้จ ะทํ า ใหผู เ รีย นสามารถรู จ ัก วิธ ีก ารสรา งวงจรอิเ ล็ก ทรอนิก สล งบน
แผนวงจรพิมพอยางถูกตองตามหลักการและเหมาะสมกับงานแตละอยาง รวมถึงเรียนรูทัก ษะวิธีก าร
บัดกรีอุปกรณลงบนแผนวงจรพิมพใหถูกตอง สวยงาม และนําไปใชงานได
10.1 ความหมายของแผนวงจรพิมพ
แผนวงจรพิมพ (Printed Circuit Boards) หรือที่นักอิเล็กทรอนิกสทั่วไปนิยมเรียกกันสั้น ๆ
วา “แผนพรินต” เปนแผนที่สรางดวยพลาสติกชนิดหนึ่งที่มีการฉาบผิวดวยทองแดงเต็มแผน เพื่อใชสราง
ลายวงจรพิมพ (Printed Circuit) ทําใหเกิดเปนวงจรอิเล็กทรอนิกสแบบตาง ๆ ตามตองการ ลายวงจรมี
สวนสําคัญตอการใชงาน ในการออกแบบสามารถสรางลายวงจรดวยกรรมวิธีตาง ๆ ที่แตกตางกันออกไป
จนเกิดลายบนทองแดง การเขียนลายวงจรจะตองคํานึงถึงขนาดของลายวงจร ใหเหมาะสมกับขนาดของ
กระแสที่ไหลผาน ลักษณะการเชื่อมตอตองเหมาะสมสวยงาม ถูกตองตามหลักการ ขนาดของลายวงจร
ตองไมเล็กหรือใหญเกินไป การเขาโคงลายวงจรควรตอเขากึ่งกลางจุด ไมควรผานขอบริมจุดตอ หรือ
กรณีจําเปนตองผานขอบริมจุดตอลายวงจรจะตองสัมผัสจุดตอใหมากที่สุด การนําแผนวงจรพิมพไปใชงาน
จะตองคํานึงถึงความเหมาะสมกับลักษณะของวงจรที่ออกแบบ เนื่องจากแผนวงจรพิมพมีหลายชนิดบาง
ชนิ ดเหมาะกั บ การใช ง านสํ า หรั บ วงจรที่ ไ ม ยุง ยากซั บ ซ อ น และบางชนิ ดผลิ ต ขึ้ นมาเพื่ อ รองรั บ วงจร
อิเล็กทรอนิกสที่มีความซับซอนโดยเฉพาะ
10.2 ชนิดของแผนวงจรพิมพ
การเลือกใชแผนวงจรพิมพเพื่อนํามาสรางวงจรอิเล็กทรอนิกสจะตองเลือกใหเหมาะสมกับ
คุณสมบัติของวงจร ชนิดของแผนวงจรพิมพสามารถแบงไดดังนี้
10.2.1 แบบเทฟลอน (Teflon) เปนแผนวงจรพิมพที่มีคุณสมบัติสูงไมมีวางจําหนายทั่วไป
ตองสั่งเปนกรณีพิเศษเทานั้น จะถูกนําไปใชงานในอากาศยาน และในอุปกรณที่อยูในชวงความถี่ระดับ
กิกะเฮิรต (GHz) เชน ความถี่ไมโครเวฟ แผนวงจรพิมพแบบเทฟลอนแสดงตามภาพที่ 10.1 (ก)
การทําแผนวงจรพิมพ
4
10.2.2 แบบฟนอลิก (Phenolic) นิยมใชโดยทั่วไปในอุปกรณตาง ๆ เชน วิทยุกระเปาหิ้ว ทีวี
เนื่องจากราคาถูกและคุณภาพดีพอสมควร มีการเจาะรูแลวสําหรับความสะดวกในการใสอุปกรณ เนื้อของ
ฟ นอลิก จะเป นสีน้ํา ตาล ออนตั ว งาย โค ง งอเมื่ อถู กความร อ น ติ ดไฟง าย หากใช หั วแร งที่ ร อนเกิ นไป
ทองแดงจะหลุดรอนงาย รวมทั้งเวลาบัดกรี อยานําหัวแรงแชทิ้งไวนาน ๆ ทองแดงจะหลุดรอนไดเชนกัน
แผนวงจรพิมพแบบฟนอลิกแสดงตามภาพที่ 10.1 (ข)
(ก) แบบเทฟลอน
(ข) แบบฟนอลิก
ภาพที่ 10.1 แผนวงจรพิมพแบบเทฟลอนและแบบฟนอลิก
(ที่มา: http://www.smtnet.com, 2558)
10.3.3 แบบกลาสอิพ็อกซี (Glass Epoxy) โครงสรางในสวนที่เปนฉนวนซึ่งเปนฐานของตัวนํา
คือแผนทองแดงบาง ๆ ทํามาจากเสนใยแกวถักทอแลวอัดเปนแผนดวยสวนผสมของอิพ็อกซีเรซิ่น เคลือบ
ด ว ยแผ น ทองแดงบาง ๆ ติ ด ด ว ยกาวอี ก ครั้ง มี ทั้ ง แบบหน า เดี ย ว สองหน า สองหน า เพลททรู โ ฮล
มั ล ติ เ ลเยอร เช น แผงวงจรเมนบอร ด ที่ ใ ช ใ นคอมพิ ว เตอร จ ะมี ชั้ น ของทองแดงประมาณสี่ ชั้ น
แผนวงจรพิมพแบบกลาสอิพ็อกซี แสดงตามภาพที่ 10.2 (ก)
10.3.4 แบบเฟล็กซิเบิล (Flexible) เปนแผนวงจรพิมพที่มีลักษณะเฉพาะคือมีฐานที่เปนฉนวน
บางคลายแผนฟมล สามารถดัดไปมาใหอยูในชองแคบ ๆ ได นิยมนําไปใชกับอุปกรณอิเล็กทรอนิกสขนาด
เล็ก เชน กลองถายภาพ เปนตน แผนวงจรพิมพแบบเฟล็กซิเบิล แสดงตามภาพที่ 10.2 (ข)
10.3.5 แบบเคมวั น (Cem1) ลั กษณะเป นเนื้ อสีข าวขุน หรื อค อนข า งขาว มี ค วามแข็ ง แรง
มากกวาแบบฟนอลิกแตนอยกวาแบบอิพ็อกซี สวนใหญมีใชในผลิตอุปกรณจําพวกเครื่องสํารองไฟ (UPS)
ราคาถูกกวาแบบอิพ็อกซี แผนวงจรพิมพแบบเคมวัน แสดงตามภาพที่ 10.2 (ค)
การทําแผแผการทํ
นวงจรพิ
มพ มพ
า นวงจรพิ
(ก) แบบกลาสอิพอ็ กซี
5
(ข) แบบเฟล็กซิเบิล
(ค) แบบเคม1
ภาพที่ 10.2 แผนวงจรพิมพแบบกลาสอิพ็อกซี แบบเฟล็กซิเบิล และแบบเคม
และแบบเคม1
( ่มา: https://www.indiamart.com, 2558)
(ที
(ที่มา:: http://kingtontech.com/products?cid=66&pid=66,
2558)
http://kingtontech.com/products?cid=66&pid=66 2558
10.3 อุปกรณสําหรับทําแผนวงจรพิมพ
การทําแผนวงจรพิมพสามารถทําไดหลายวิธี เชน การทําซิลสกรีน การเขียนดวยปากกาเคมี
แบบลบไมได การทําโฟโตกราฟฟกส การทาสีน้ํามันทาเปนลายวงจรบนแผนพรินต สําหรับการออกแบบ
ลายวงจรจะใชการออกแบบดวยมือ หรือออกแบบดวยโปรแกรมคอมพิวเตอรสําเร็จรูปก็ได หลังจากได
แผนวงจรพิ
รพิ มพแลวก็จะตองนําอุป กรณอิเล็กทรอนิกสมาติดตั้ งบนแผ นวงจรดวยการบั ดกรี การศึ กษา
เกี่ยวกับอุปกรณสําหรับทําแผนวงจรพิมพจึงแบงไดเปน 2 สวน คือ อุปกรณสําหรับการออกแบบลายวงจร
และอุปกรณสําหรับการบัดกรี
10.3.1 อุปกรณสําหรับการออกแบบลายวงจร
1) แผนวงจรพิมพหนาเดียวแบบไมเจาะรู ชนิดอิพ็อกซีหรือชนิดฟนอลิกก็ได แสดง
ตามภาพที่ 10.3 (ก)
การทําแผนวงจรพิมพ
6
2) น้ํายากัดลายพรินต (Etching Solution) ใชสําหรับกัดลายทองแดงที่ไม ตองการ
ออกจากแผงวงจรพิมพ แสดงตามภาพที่ 10.3 (ข)
(ก) แผนวงจรพิมพหนาเดียว
(ข) น้ํายากัดลายพรินต
ภาพที่ 10.3 แผนวงจรพิมพหนาเดียวแบบไมเจาะรูและน้ํายากัดลายพรินต
(ที่มา: http://www.myarduino.net, 2558)
3) ถาดน้ํายากัดลายพรินต (Etching Container) ทําจากพลาสติกใชสําหรับใส
น้ํายากัดพรินตเพื่อนําแผนวงจรพิมพลงไปแชไว แสดงตามภาพที่ 10.4 (ก)
4) ปากกาเคมีแบบลบไมได (Permanent Marker) ใชสําหรับเขียนลายวงจรลงบน
แผนวงจรพิมพเลือกใชขนาดของหัวปากกาตามความเหมาะสมของปริมาณกระแส แสดงตามภาพที่
10.4 (ข)
(ก) ถาดใสน้ํายากั ดลายพรินต
(ข) ปากกาเขียนลายวงจร
ภาพที่ 10.4 ถาดใสน้ํายากัดลายพรินตและปากกาเขียนลายวงจร
(ที่มา: http://www.boatbook.co.th, 2558)
การทําแผนวงจรพิมพ
7
5) น้ํายาทําความสะอาดแผนพรินต (Acetone) ใชสําหรับทําความสะอาด
แผนวงจรพิมพหลังจากนําขึ้นจากการแชน้ํายากัดลายพรินต แสดงตามภาพที่ 10.5 (ก)
6) สวานเจาะพรินต (Rotary tool or drill) ใชสําหรับเจาะแผนวงจรพิมพเพื่อ
ติดตั้งอุปกรณอิเล็กทรอนิกส แสดงตามภาพที่ 10.5 (ข)
(ก) น้ํายาทําความสะอาดแผนพรินต
(ข) สวานเจาะพรินต
ภาพที่ 10.5 น้ํายาทําความสะอาดแผนพรินตและสวานเจาะพรินต
(ที่มา: http://www.myarduino.net, 2558)
10.3.2 อุปกรณสําหรับการบัดกรี
การบัดกรีอุปกรณอิเล็กทรอนิกส หมายถึง การเชื่อมตออุปกรณที่ตองการติดตั้งไวบน
แผ นวงจรพิ มพโ ดยใชตะกั่ วเปนตัวประสานระหว า งขาของอุปกรณอิเล็กทรอนิ ก สกับลายทองแดงบน
แผนวงจรพิมพเพื่อใหเกิดการทํางานของวงจรอิเล็กทรอนิกสตามที่ไดออกแบบไว อุปกรณที่จําเปนตองใช
สําหรับการบัดกรี มีดังนี้
1) หัวแรงไฟฟา (Electric Soldering Iron) เปนเครื่องมือสํา คัญที่ใชในการบัดกรี
ทํา หนา ที่ใ หค วามรอ นเพื่อ หลอมละลายตะกั ่ว บัด กรีใ นการเชื ่อ มตอ อุป กรณอิเ ล็ก ทรอนิก สล งบน
แผนวงจรพิมพ หัวแรงไฟฟามีใหเลือกหลายชนิดในที่นี้จะขอยกตัวอยางหัวแรงไฟฟา 2 ชนิดที่นิยมใช
ในงานอิเล็กทรอนิกสทั่วไปคือ หัวแรงแช และหัวแรงปน
1.1) หัว แรง แช (Electric Soldering) มีลัก ษณะคลา ยปากกา มีข นาดเล็ก
น้ําหนักเบา เหมาะสําหรับงานบัดกรีอุปกรณอิเล็กทรอนิกส มีความรอนคงที่ อุณหภูมิไ มสูงมาก และ
ไมเปนอันตรายกับอุปกรณอิเล็ก ทรอนิกส ในการใชงานจําเปนตองเสียบปลั๊กทิ้งไวใหรอนตลอดเวลา
การทําแผนวงจรพิมพ
8
มีข นาดตั้ง แต 10 วัตต ถึง 250 วัต ต ในงานอิเ ล็ก ทรอนิก สจ ะใชข นาดประมาณ 15-30 วัตต เพื่อ
ความปลอดภัยควรใชงานรวมกับที่วางหัวแรง หัวแรงแชและที่วางแสดงตามภาพที่ 10.6 (ก)
1.2) หัวแรงปน (Electric Soldering Gun) หัวแรงปนจะมีลักษณะคลา ย ๆ ปน
ในการใชงานจะมีสวิตชที่ดา มจับ หัวแรงชนิดนี้จะมีความรอนไดร วดเร็วมีข นาดประมาณ 130 วัตต
เหมาะสําหรับงานบัดกรีเปนครั้งคราว และจุดเชื่อมตอที่คอนขา งใหญ แตไมเหมาะสําหรับที่จะใชกับ
อุป กรณที่ไ มทนความรอน เชน ขั้วลํา โพง แจ็ค เสียบตา ง ๆ เปนตน เพราะความรอนที่สูงอาจทํา ให
อุปกรณอิเล็กทรอนิกสที่ไวตอความรอนไดรับความเสียหาย หัวแรงปนแสดงตามภาพที่ 10.6 (ข)
(ก) หัวแรงแชและที่วาง
(ข) หัวแรงปน
ภาพที่ 10.6 หัวแรงแช และหัวแรงปน
(ที่มา: http://www.inventor.in.th/home/หัวแรง, 2558)
2) ตะกั่วบัดกรี (Solder) คือวัสดุที่ทําหนาที่เปนตัวเชื่อมประสานรอยตอของสายไฟ
หรือ ขาของอุป กรณอิเ ล็ก ทรอนิก สเ ขา ดวยกัน หรือตออุป กรณอิเล็ก ทรอนิก สเขากับลายวงจรพิม พ
สวนประกอบของตะกั่วบัดกรีป ระกอบดวยดีบุก (Tin) และตะกั่ว (Lead) ซึ่งมีสว นผสมของสาร
ทั้งสองแตกตา งกัน ถูก กําหนดออกมาเปนเปอรเ ซ็น คา ที่บ อกไวคาแรกเปนดีบุก เสมอ เชน 70/30
หมายถึง สวนผสมประกอบดวยดีบุก 70% และตะกั่ว 30% บางครั้งอาจเรียกเฉพาะคาดีบุก เทา นั้น
ก็ไ ด ดัง นั้น สว นผสม 70/30 อาจเรีย กวา ตะกั่ว บัด กรีช นิด ดีบุก 70% จุด หลอมละลายของตะกั่ว
บัด กรี ขึ้นอยูกับ เปอรเ ซ็นตสว นผสมของสารทั้ง สองจุด หลอมละลายต่ํา สุด มีคา ประมาณ 177 °C
ที่สวนประกอบประมาณ 60/40 คือดีบุกประมาณ 60% และตะกั่วประมาณ 40% ถือวา เปนตะกั่ว
บัดกรีชนิดคุณภาพดี
การทําแผนวงจรพิมพ
9
ตะกั่วบัดกรีที่ผ ลิตมาใชงานดา นไฟฟา และอิเล็กทรอนิก สมีลักษณะเปนเสนเล็กกลม
ยาวขดไวเปนมวนมีหลายขนาด ทั้ง ขนาดของเสน ตะกั่วและขนาดของความยาว ตะกั่วบัด กรีชนิด นี้
ตอนกลางของเสนตะกั่วมีน้ํายาประสานหรือฟลักซ (Flux) บรรจุดวยเพื่อชวยในการทําความสะอาด
ผิวหนาของจุดบัดกรีดวยการทําใหสิ่งสกปรกและสนิม ตา ง ๆ บนผิวโลหะชิ้นงานหมดไปชวยใหตะกั่ว
บัด กรีส ามารถเกาะติด ชิ้น งานไดดี รวมทั้ง ชว ยเคลือบผิว ตะกั่วบัดกรีแ ละชิ้น งานไมใ หเ กิด สนิม ดว ย
น้ํายาประสานที่บรรจุไวในตะกั่วบัดกรี ลัก ษณะตะกั่วบัดกรีใชในงานไฟฟา และอิเล็กทรอนิก ส แสดง
ตามภาพที่ 10.7
(ก) แบบมวน
(ข) แบบหลอด
ภาพที่ 10.7 ตะกั่วบัดกรี
(ที่มา: https://www.es.co.th, 2557)
3) ฟลักซ (Flux) มีลักษณะคลายขี้ผึ้งมีคุณสมบัติชวยกําจัดออกไซดที่เปนสาเหตุของ
สนิม และใชทําความสะอาดปลายหัวแรง โดยการจุมหัวแรงที่รอน ๆ ลงไปที่ฟ ลักซ หลังจากนั้นควรนํา
หัวแรงมาหลอมละลายตะกั่วที่ปลายหัวแรงใหมีตะกั่วเกาะอยูเสมอเพื่อไมใหหัวแรงเปนสนิม ลักษณะของ
ฟลักซตลับแสดงตามภาพที่ 10.8
ภาพที่ 10.8 ฟลักซตลับ
การทําแผนวงจรพิมพ
10
4) ที่ดูดตะกั่ว (Solder Sucker) เปนเครื่องมือสําหรับชวยถอดเปลี่ยนอุปกรณ คือเมื่อมี
ความจําเปนตองถอดอุปกรณที่บัดกรีไปแลวออกจากแผนวงจรพิมพ จะตองใชหัวแรงใหความรอนไปที่จุด
ที่บัดกรีไวเพื่อใหตะกั่วละลายและใชที่ดูดตะกั่วซึ่งถูกออกแบบใหมีแรงดันลมจากสปริงภายในดูดตะกั่ว
บริเวณนั้นออกมา การใชที่ดูดตะกั่วชวยใหบริเวณที่เคยมีการบัดกรีแลวมีความสะอาด และสามารถบัดกรี
ซ้ําไดอีกครั้ง ลักษณะของที่ดูดตะกั่วแสดงตามภาพที่ 10.9
(ก) แบบสปริง
(ข) แบบไฟฟา
ภาพที่ 10.9 ที่ดูดตะกั่ว
(ที่มา: https://www.myarduino.net, 2558)
5) เครื่องมือทั่วไป ไดแก คีมตัดสายไฟ คัตเตอร ไขควงปากแบน และปากแฉก แสดง
ตามภาพที่ 10.10
ภาพที่ 10.10 เครื่องมือทั่วไป
10.4 วิธีการทําแผนวงจรพิมพ
วิธีการทําแผนวงจรพิมพแบงออกเปน 2 สวน คือ การสรางลายพรินตบนแผนวงจรพิมพ และ
การบัดกรีวงจร
การทําแผนวงจรพิมพ
11
10.4.1 การสรางลายพรินตบนแผนวงจรพิมพดว ยปากกาเคมีแบบลบไมได มีขั้นตอนดังนี้
1) เตรีย มวั ส ดุ อุ ป กรณป ระกอบด ว ย แผ น พริ นต ท องแดง แผน พริ นต เ อนกประสงค
ปากกาเคมีแบบลบไมได น้ํายากัดพรินต ถาดใสน้ํายากัดพรินต น้ํายาทําความสะอาดแผนพรินต สวาน
เจาะพรินต และเทปกาว
2) ออกแบบวงจรดวยคอมพิวเตอรนําแผนพรินตเอนกประสงคมาวางทับบนแบบแลวใช
ปากกาเคมีเขียนตาม ตามภาพที่ 10.11
ภาพที่ 10.11 ลายวงจรที่ใชปากกาเคมีวาด
3) ตัดแผนพรินตทองแดงตามขนาดงานที่ออกแบบ นํามาประกบกับแผนพรินต
เอนกประสงคใชเทปกาวยึดใหแนน ตามภาพที่ 10.12
(ก) แผนพรินตทองแดง
(ข) ลายวงจร
ภาพที่ 10.12 ตัดแผนพรินตทองแดงใหเทากับขนาดของวงจร
การทําแผนวงจรพิมพ
12
4) เจาะรูดวยสวานเจาะพรินตตามจุดที่กําหนดไว เมื่อเจาะรูครบตามจุดที่กําหนดใหดึง
เทปกาวออกเพื่อแยกชิ้นงานออกจากกัน ตามภาพที่ 10.13
ภาพที่ 10.13 เจาะรูดวยสวานเจาะพรินตตามจุดที่กําหนดไว
5) ทําความสะอาดแผนพรินตโดยขัดใหสะอาด ใชน้ํายาทําความสะอาดแผนพรินตเช็ดให
สะอาด
6) ใชปากกาทําจุดที่จะเจาะใหครบ และเขียนลายวงจรเชื่อมโยงไปตามจุดที่ออกแบบไว
ตามภาพที่ 10.14
ภาพที่ 10.14 ใชปากกาเคมีเขียนลายเสนวงจรและจุดที่จะบัดกรี
การทําแผนวงจรพิมพ
13
7) ทํ าการกัดลายวงจรบนแผนพริ นต ดวยน้ํ ายากั ดพรินต โดยวางชิ้นงานลงในถาดใส
น้ํายากัดพรินต เทน้ํายาลงไปพอประมาณใหทวมแผนวงจร ทําการเขยาภาชนะใหเคลื่อนที่จะใชเวลากัด
พรินตนอยลง หรือถาเปนน้ําอุนก็จะเกิดปฏิกิริยาเร็วขึ้น สังเกตสวนที่ไมไดเขียนดวยปากกาจะหลุดออก
จนหมด หลังจากนั้นนําไปลางน้ําและขัดออกจะไดลายพรินตบนแผนวงจรพิมพตามที่ตองการ แสดงตาม
ภาพที่ 10.15
ภาพที่ 10.15 กัดลายวงจรบนแผนพรินตดวยน้ํายากัดพรินต
(ที่มา: https://makersmagazine.in.th, 2558)
10.4.2 การสรางลายพรินตบนแผนวงจรพิมพโดยใชการลอกลายดว ยเตารีด มีขั้นตอนดังนี้
1) ออกแบบวงจรดวยคอมพิวเตอร โดยใชโปรแกรมสําเร็จรูป เชน PCB Wizards
2) แปลงวงจรที่ออกแบบใหเปนลายพรินตสําหรับแผนวงจรพิมพ
3) ใชกระดาษโฟโต 180 แกรม พิมพลายวงจรดวยเครื่องพิมพเลเซอรแบบขาวดํา ตาม
ภาพที่ 10.16 (ก)
4) ตัดขนาดของแผนวงจรพิมพใหเทากับขนาดของลายวงจร ตามภาพที่ 10.16 (ข)
5) ใชเตารีด รีดลายพรินตจากกระดาษลงบนแผนวงจรพิมพ ตามภาพที่ 10.16 (ค)
6) คอย ๆ ดึงกระดาษออก ผงหมึกจากกระดาษจะติดลงไปบนแผนวงจรพิมพ นําไปลาง
ดวยน้ําสะอาด ตามภาพที่ 10.16 (ง)
การทําแผนวงจรพิมพ
14
(ก) พิมพลายลงบนกระดาษโฟโต
(ข) ตัดขนาดแผนวงจรพิมพใหเทากับวงจร
(ค) ใชเตารีดรีดเนน ๆ
(ง) ลอกลายวงจรออก
ภาพที่ 10.16 การสรางลายวงจรโดยใชเตารีดลอกลาย
(ที่มา: http://dtv.mcot.net/, 2558)
7) สังเกตความสมบูรณของลายพรินตถามีบางสวนขาดหายไปใหใชปากกาเคมีแบบลบ
ไมไดเติมลายใหสมบูรณ
8) นําแผนวงจรไปเขาสูกระบวนการกัดพรินตตามวิธีที่ไดศึกษามาแลว
9) เจาะรูบนแผนวงจรพิมพเพื่อใสอุปกรณดวยสวานเจาะพรินต
10) ทําความสะอาดแผนวงจรพิมพอีกครั้ง จากนั้นเคลือบแผนวงจรพิมพดวยยางสนผสม
ทินเนอรเพื่อไมใหเกิดสนิมและงายตอการบัดกรี
การทําแผนวงจรพิมพ
15
10.4.3 การบัดกรีว งจร มีขั้นตอนดังนี้
1) เตรียมอุปกรณการบัดกรี ไดแก เครื่องมือชางทั่วไป หัวแรงแชพรอมที่วาง ตะกั่วบัดกรี
ฟลักซตลับ แผนทําความสะอาดหัวแรง
2) ใสอุปกรณอิเล็กทรอนิกสลงบนแผนวงจรพิมพ โดยหลักการจะตองใสอุปกรณที่มี
ขนาดเล็กและเตี้ยที่สุดกอน กดอุปกรณใหติดกับแผนวงจรพิมพในระยะที่เหมาะสมไมกดใหติดจนเกินไป
เพราะอาจทําใหขาของอุปกรณหักงอได และไมใหสูงเกินไปจนอุปกรณสามารถโยกไปมาได พับขาอุปกรณ
ใหแยกออกเพื่อปองกันกุปกรณหลุดออกจากแผนวงจร ตามภาพที่ 10.17
ถางขาออกเล็กนอย
ภาพที่ 10.17 การใสอุปกรณลงบนแผนวงจรพิมพ
3) ทําความสะอาดปลายหัวแรง กรณีหัวแรงที่ยังไมเคยใชงานควรเสียบหัวแรงทิ้งไวให
รอนเต็มที่ แลวใชตะกั่วไลที่ปลายหัวแรง เพื่อใหการใชงานครั้งตอไปตะกั่วจะติดปลายหัวแรงไดงายขึ้น
ทําความสะดาดปลายหัวแรงดวยผานุม หรือฟองน้ําทนความรอน ตามภาพที่ 10.18
ภาพที่ 10.18 ทําความสะอาดปลายหัวแรง
(ที่มา: https://pcbsmoke.wordpress.com, 2558)
การทําแผนวงจรพิมพ
16
4) เมื่อทําความสะอาดหัวแรงและจุดบัดกรี (รูที่ใชสวานเจาะ) เสร็จแลว ตรวจสอบหัว
แรงวามีค วามรอนพอที่จะบัดกรีไดหรื อไมโดยนําตะกั่วมาสัมผัสที่ ปลายหัวแรง ถาตะกั่วละลายเกาะที่
ปลายหัวแรงแสดงวานําไปใชบัดกรีวงจรได
5) นําปลายหัวแรงไปปอนความรอนใหกับชิ้นงานใหปลายหัวแรงสัมผัสบริเวณจุดที่
ตองการบัดกรีและขาอุปกรณพรอมกัน ใชเวลาประมาณ 3-5 วินาทีขึ้นอยูกับอุณหภูมิของหัวแรงแตละ
ชนิด จากนั้นปอนตะกั่วลงไปตรงจุดบัดกรีโดยวางตะกั่วใหอยูตรงขามกับหัวแรง ตามภาพที่ 10.19
ภาพที่ 10.19 การปอนความรอนใหจุดที่ตองการบัดกรี
(ที่มา: https://www.makerspaces.com/how-to-solder, 2558)
6) เมื่อตะกั่วละลายทั่วจุดบัดกรีแลว นําตะกั่วออกจากจุดบักรี และยกหัวแรงขึ้น ทิ้งให
ตะกั่วเย็นตัวลง
7) ตัดขาอุปกรณที่บัดกรีแลวออก โดยใชคีมตัดสายไฟตัดขาอุปกรณที่อยูนอกรอยบัดกรี
ทิ้ง ตามภาพที่ 10.20
ภาพที่ 10.20 การตัดขาอุปกรณ
การทําแผนวงจรพิมพ
17
8) ตรวจสอบการบัดกรี เปนขั้นตอนสุดทายของการบัดกรีกอนนําวงจรไปทดสอบการ
ทํางาน รอยบัดกรีที่สวยงาม คงทน ตองมีความเงางาม ผิวเรียบ ตะกั่วบัดกรีจะเชื่อมติดกับอุปกรณทุก
สวนเพื่อใหกระแสสามารถไหลไดดี ปริมาณตะกั่วจะตองไมเกาะกลมแตจะมีลักษณะกลมเรียบและมีปลาย
แหลม ตามภาพที่ 10.21
ภาพที่ 10.21 รอยบัดกรีแบบตาง ๆ
(https://learn.adafruit.com, 2559)
10.4.4 การถอนรอยบัดกรี
เมื่อเกิดการบัดกรีผิดพลาด หรือตองการเปลี่ยนอุปกรณบนแผงวงจรพิมพจําเปนตองมี
การถอนรอยบัดกรีเกาออก สามารถทําไดดังนี้
1) นําหั วแรงที่ มีความร อนพรอมใชงานสัมผั สตะกั่วบริเวณจุ ดบัดกรีที่ตองการถอด
อุปกรณ จนตะกั่วละลาย จากนั้นใหรี บ ดูดตะกั่วออกโดยใชที่ดูดตะกั่วดูดตะกั่ วออกใหหมดจนขาของ
อุปกรณไมมีตะกั่วติดอยูจนสามารถถอดอุปกรณได
2) การถอนตะกั่วควรทําใหเสร็จในการใชความรอนละลายตะกั่วเพียงครั้งเดียว และควร
ทํ า ให เ สร็ จ อย า งรวดเร็ ว ไม ค วรใชเ วลานานเพราะความร อนจะทํ า ให โ ครงสร า งภายในของอุป กรณ
อิเล็กทรอนิกสไดรับความเสียหายได หรืออาจทําใหลายทองแดงหลุดไมสามารถบัดกรีใหมได
การทําแผแผการทํ
นวงจรพิ
พ
มพ
า มนวงจรพิ
18
สรุป
การทํทําแผนวงจรพิมพมีความสําคัญมากสําหรับการสรางวงจรอิเล็กทรอนิกส เนื่องจากวงจร
อิเล็กทรอนิกสที่ถูกออกแบบมาจะสามารถทํางานไดหรือไมนั้นการทดลองวงจรอยางเดียวอาจไมเพียงพอ
ถาหากยังไมไดผานการติดตั้งลงบนแผนวงจรพิมพ การทําแผนวงจรพิมพโดยขาดทักษะความรู เทคนิค
และเกิดการทํางานที่ผิดพลาด
ความชํานาญอาจสงผลใหโครงสรางภายในของอุปกรณเกิดความเสียหาย และเกิ
ได นอกจากนี้การทําแผนวงจรพิมพยังตองคํานึงถึงความสวยงาม การจัดวางอุปกรณมีความเหมาะสม
สามารถนําไปใชงานไดอยางมีประสิทธิภาพ
แหลงเรียนรูเพื่อทบทวนเนื้อหา
https://padlet.com/ksukasem/235
การทําแผนวงจรพิมพ
แบบฝกหัดที่ 1
19
หนว ยที่ 10
ครั้งที่ 1
ชื่อหนว ย การทําแผนวงจรพิมพ
ชื่อเรื่อง การทําแผนวงจรพิมพ
คาบรวม
8
เวลา 10 นาที
คําสั่ง จงตอบคําถามตอไปนี้ (10 คะแนน)
1. แผนวงจรพิมพคืออะไร คืออะไร
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
2. แผนวงจรพิมพแบงออกเปนกี่ชนิด อะไรบาง
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
3. การออกแบบลายวงจรใชโปรแกรมคอมพิวเตอรชื่อวาอะไร
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
4. แผนวงจรพิมพแบบฟนอลิกมีคุณสมบัติอยางไร
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
5. การบัดกรีใชอุปกรณอะไรบาง
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
การทําแผนวงจรพิมพ
แบบฝกหัดที่ 2
20
หนว ยที่ 10
ครั้งที่
ชื่อหนว ย การทําแผนวงจรพิมพ
คาบรวม
ชื่อเรื่อง การทําแผนวงจรพิมพ
8
เวลา 10 นาที
คําสั่ง ใหผูเรียนออกแบบลายพรินตบนแผนวงจรพิมพจากวงจรตอไปนี้ (10 คะแนน)
1. วงจรเรียงกระแสแบบครึ่งคลื่น
C1
RL
ลายพรินต
2. วงจรควบคุมความเร็วมอเตอรไฟฟากระแสสลับดวยไตรแอค
AC Motor
R1
220VAC
M
POT
Triac
C1
Diac
ลายพรินต
การทําแผนวงจรพิมพ
ใบงานที่ 19
ชื่อใบงาน
21
หนว ยที่
ครั้งที่
ชื่อหนว ย การทําแผนวงจรพิมพ
คาบรวม
เรื่อง การทําแผนวงจรพิมพ วงจรเรียงกระแสดวยไดโอดแบบบริดจ จํานวนคาบ
วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม
1. ทําแผนวงจรพิมพไดอยางนอย 1 วงจร
2. ทําแผนวงจรพิมพไดถูกตองตามขั้นตอน
3. มีคุณธรรม จริยธรรม และความรับผิดชอบในการปฏิบัติงาน
เครื่องมือและอุปกรณ
1. แผนวงจรพิมพแบบฟนอลิก หนาเดียว
จํานวน
1 แผน
2. ปากกาเคมีแบบลบไมได เบอร M
จํานวน
1 ดาม
3. น้ํายากัดลายพรินต
จํานวน
1 ขวด
4. ผาทําความสะอาดแผนวงจรพิมพ
จํานวน
1 ผืน
5. น้ํายาทําความสะอาดแผนวงจรพิมพ
จํานวน
1 ขวด
6. สวานเจาะพรินต
จํานวน
1 ตัว
วงจรการทดลอง
VAC
D1
D4
D2
D3
C1
ภาพที่ 19.1 วงจรเรียงกระแสแบบบริดจ
RL
10
8
4
การทําแผนวงจรพิมพ
22
ขอควรระวัง
1. ควรตรวจสอบความสมบูรณของอุปกรณทุกชิ้นกอนตอวงจรทดลอง
2. เมื่อออกแบบลายวงจรเรียบรอยแลวควรใหครูผูสอนตรวจสอบความถูกตองของวงจรกอน
เขียนลงบนแผนวงจรพิมพ
3. ควรอานลําดับขั้นการปฏิบัติงานใหเขาใจกอนลงมือปฏิบัติ
ลําดับขั้นการปฏิบัติงาน
1. ออกแบบลายพรินตตามภาพที่ 19.1
ลายพรินต
2. ใหครูผูสอนตรวจความถูกตองกอนนําไปเขียนลงบนแผนวงจรพิมพ
3. เขียนลายพรินตลงบนแผนวงจรพิมพดวยปากกาเคมีแบบลบไมได
4. นําไปแชในน้ํายากัดพรินต ทิ้งไวจนกวาทองแดงจะถูกกัดออกจนเหลือเฉพาะลายพรินต
5. นําแผนวงจรพิมพมาลางน้ําทําความสะอาดและเช็ดดวยน้ํายาทําความสะอาดอีกครั้ง
6. เจาะรูสําหรับใสอุปกรณ และทําความสะอาดอีกครั้ง
คําถามทายการทดลอง
1. สรุปขั้นตอนการทําแผนวงจรพิมพมาเปนขอ ๆ
การทําแผนวงจรพิมพ
2. การบัดกรีมีขอควรระวังอะไรบาง
สรุปผลการทดลอง
แนวทางการสรุปผลการทดลอง
ใหผูเรียนเขียนสรุปลักษณะแผนวงจรที่ได คุณสมบัติ ขอผิดพลาด ขอควรระวัง
23
การทําแผนวงจรพิมพ
24
แบบประเมินผลงานการปฏิบัติงาน
คําชี้แจง ทําเครื่องหมาย  ลงในชองใหตรงกับความเปนจริง
ประเด็นที่ประเมิน
1. การเตรียมวัสดุอุปกรณ
ครบทุกชิ้น (3) ขาด 1 ชิ้น (2)
2. การใชและเก็บเครื่องมือ
เรียบรอย (3)
ขาด 1 ชิ้น (2)
3. ปฏิบัติงานถูกตองตามขั้นตอน ถูกตอง (3)
ขามขั้นตอน (2)
4. ความเรียบรอยของงาน
เรียบรอย (3)
เรียบรอยบางสวน (2)
5. ผลงานถูกตอง
ถูกตอง (3)
ผิดบางขอ (2)
เลขที่
ชื่อ – นามสกุล
ขาดมากกวา 1 ชิ้น (1)
ขาดมากกวา 1 ชิ้น (1)
ไมถูกตอง (1)
ไมเรียบรอย (1)
ไมถูกตอง (1)
พฤติกรรมที่ประเมิน
ขอที่ 1
ขอที่ 2
ขอที่ 3
ขอที่ 4
ขอที่ 5
1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3
(ลงชื่อ)......................................................ผูประเมิน
เกณฑการประเมิน
13 – 15
10 – 12
7–9
4–6
1–3
=
=
=
=
=
5
4
3
2
1
หมายถึง ดีมาก
หมายถึง ดี
หมายถึง ปานกลาง
หมายถึง พอใช
หมายถึง ปรับปรุง
การทําแผนวงจรพิมพ
25
แบบประเมินคุณ ธรรมจริยธรรม/เจตคติ/คานิยม/เศรษฐกิจพอเพียง
เรื่อง การทําแผนวงจรพิมพ
ลงชื่อ ……………………………………….. ผูประเมิน
ครู
ผูรวมงาน
ตนเอง
ผูรว มประเมิน
1. ชื่อ-นามสกุล....................................................................................... เลขที่........... (ตนเอง)
2. ชื่อ-นามสกุล....................................................................................... เลขที่........... (ผูรวมงาน)
คําชี้แจง
1. ใหผูเรียนประเมินตนเองและใหผูรวมงาน 1 คนประเมินซึ่งกันและกันตามหัวขอในตาราง จํานวน
3 ขอ โดยมีเกณฑการใหคะแนนดังนี้
3 คะแนน หมายถึง ดีมาก 2 คะแนน หมายถึง ปานกลาง 1 คะแนน หมายถึง ควรปรับปรุง
2. ครูประเมินหาคาเฉลี่ยคะแนนของผูเรียนเปนรายบุคคลตอไป
ตารางประเมินคุณธรรมจริยธรรม/เจตคติ/คานิยม/เศรษฐกิจพอเพียง
ตามวัตถุ
คุณธรรมจริยธรรม/เจตคติ/
ลําดับ
พฤติกรรมที่แสดง
ประสงค
คานิยม/เศรษฐกิจพอเพียง
ขอที่
1 ความมีวินัยในการทํางาน
เขาเรียนตรงเวลา
5
มีอุปกรณการเรียนครบ
ไมสงเสียงดังรบกวน
แตงกายถูกตองตามระเบียบ
2 ซื่อสัตยและมีจิตสาธารณะ
ไมคัดลอกผลงานผูอื่น
5
ใหคําแนะนําชวยเหลือ
เสนอความคิด มีสวนรวม
3 ประหยัดในการใชทรัพยากร ใชพลังงาน/วัสดุอุปกรณ
5
ตนเองและสวนรวม
อยางประหยัด
คะแนนรวม
คะแนนเฉลี่ยรวม
การทําแผนวงจรพิมพ
ใบงานที่ 20
ชื่อใบงาน
26
หนว ยที่
ชื่อหนว ย วงจรกําเนิดสัญญาณ
เรื่อง การวัด ทดสอบ บัดกรี และแกไขจุดบกพรองบน
แผนวงจรพิมพ
ครั้งที่
คาบรวม
จํานวนคาบ
วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม
1. วัด ทดสอบ บัดกรี และการแกไขจุดบกพรองบนแผนวงจรพิมพได
2. ใชมัลติมิเตอรวัดและอานคาแรงดันไฟฟาได
3. ใชมัลติมิเตอรวัดและอานคากระแสไฟฟาได
4. ใชออสซิลโลสโคปวัดและอานคาของสัญญาณได
5. มีคุณธรรม จริยธรรม และความรับผิดชอบในการปฏิบัติงาน
เครื่องมือและอุปกรณ
1. เครื่องจายแรงดันไฟฟากระแสสลับขนาด 24 V
จํานวน
1 เครื่อง
2. ออสซิลโลสโคป
จํานวน
1 เครื่อง
2. หัวแรงแชพรอมที่วาง
จํานวน
1 ตัว
3. ตะกั่วบัดกรี 60/40
จํานวน
1 ขด
4. ฟลักซตลับ
จํานวน
1 ตลับ
5. ไดโอด 1N4007
จํานวน
4 ตัว
6. ตัวเก็บประจุ 100 µF ตัวตานทาน 1 kΩ
จํานวน
1 ตัว
7. เครื่องมือชางทั่วไป
จํานวน
1 ชุด
10
8
4
การทําแผนวงจรพิมพ
27
วงจรการทดลอง
VAC
D1
D4
D2
D3
C1
RL
ภาพที่ 20.1 วงจรเรียงกระแสเต็มคลื่นแบบบริดจ
ขอควรระวัง
1. ควรตรวจสอบความสมบูรณของอุปกรณทุกชิ้นกอนตอวงจรทดลอง
2. เมื่อตอวงจรเรียบรอยแลวควรใหครูผูสอนตรวจสอบความถูกตองของวงจรกอนจาย
กระแสไฟฟาเขาไปในวงจร
3. ควรอานลําดับขั้นการปฏิบัติงานใหเขาใจกอนลงมือปฏิบัติ
ลําดับขั้นการปฏิบัติงาน
ทําการบัดกรีอุปกรณลงบนแผนวงจรพิมพที่ไดจากการทดลองใบงานที่ 19 ตามขั้นตอนดังนี้
1. นําอุปกรณอิเล็กทรอนิกสใสลงในแผนวงจรพิมพแลวทําการบัดกรี ทีละ 1 ตัว
2. เมื่อบัดกรีอุปกรณเรียบรอยแลวใหตัดขาดวยคีมตัดสายไฟฟาทันที
3. บัดกรีอุปกรณจนครบทุกตัว
4. ใหครูผูสอนตรวจสอบจุดบัดกรี บันทึกคะแนนความสมบูรณของจุดบัดกรีลงในตารางที่ 20.1
ตารางที่ 20.1 บันทึกคะแนนความสมบูรณของจุดบัดกรี
ความสมบูรณ มากที่สุด (5) มาก (4)
ปานกลาง (3) นอย (2)
ตองแกไข (1)
ระดับคะแนน
ขอเสนอแนะ
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
การทําแผนวงจรพิมพ
28
5. ทดสอบการทํางานของวงจรโดยจายไฟฟากระแสสลับ 24 โวลตเขาที่ขั้วอินพุต
6. ตอตัวตานทาน 1 kΩ ที่ขั้วเอาตพุต เพื่อวัดสัญญาณเอาตพุตของวงจร
7. ใชออสซิลโลสโคปวัดสัญญาณที่จุด VIN และ VOUT บันทึกรูปสัญญาณที่ไดลงในกราฟ
สัญญาณอินพุต
Volt/Div = ………. Volt
สัญญาณเอาตพุต
Time/Div = …………. Sec
ภาพที่ 20.2 สัญญาณเอาตพุตที่ R1 1 kΩ
คําถามทายการทดลอง
1. การแกไขจุดปกพรองจากการบัดกรีมีวิธีการอยางไร
2. ถาตองการตรวจสอบลายวงจรวาขาดหรือไมตองทําอยางไร
หนวยที่ 10 การทําแผนวงจรพิมพ
สรุปผลการทดลอง
แนวทางการสรุปผลการทดลอง
ใหผูเรียนเขียนสรุปผลการทดลองจากตารางที่ 20.1 และใหขอเสนอในการปรับปรุงแกไข
29
การทําแผนวงจรพิมพ
30
แบบประเมินผลงานการปฏิบัติงาน
คําชี้แจง ทําเครื่องหมาย  ลงในชองใหตรงกับความเปนจริง
ประเด็นที่ประเมิน
1. การเตรียมวัสดุอุปกรณ
ครบทุกชิ้น (3) ขาด 1 ชิ้น (2)
2. การใชและเก็บเครื่องมือ
เรียบรอย (3)
ขาด 1 ชิ้น (2)
3. ปฏิบัติงานถูกตองตามขั้นตอน ถูกตอง (3)
ขามขั้นตอน (2)
4. ความเรียบรอยของงาน
เรียบรอย (3)
เรียบรอยบางสวน (2)
5. ผลงานถูกตอง
ถูกตอง (3)
ผิดบางขอ (2)
เลขที่
ชื่อ – นามสกุล
ขาดมากกวา 1 ชิ้น (1)
ขาดมากกวา 1 ชิ้น (1)
ไมถูกตอง (1)
ไมเรียบรอย (1)
ไมถูกตอง (1)
พฤติกรรมที่ประเมิน
ขอที่ 1
ขอที่ 2
ขอที่ 3
ขอที่ 4
ขอที่ 5
1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3
(ลงชื่อ)......................................................ผูประเมิน
เกณฑการประเมิน
13 – 15
10 – 12
7–9
4–6
1–3
=
=
=
=
=
5
4
3
2
1
หมายถึง ดีมาก
หมายถึง ดี
หมายถึง ปานกลาง
หมายถึง พอใช
หมายถึง ปรับปรุง
การทําแผนวงจรพิมพ
31
แบบประเมินคุณ ธรรมจริยธรรม/เจตคติ/คานิยม/เศรษฐกิจพอเพียง
เรื่อง การทําแผนวงจรพิมพ
ลงชื่อ ……………………………………….. ผูประเมิน
ครู
ผูรวมงาน
ตนเอง
ผูรว มประเมิน
1. ชื่อ-นามสกุล....................................................................................... เลขที่........... (ตนเอง)
2. ชื่อ-นามสกุล....................................................................................... เลขที่........... (ผูรวมงาน)
คําชี้แจง
1. ใหผูเรียนประเมินตนเองและใหผูรวมงาน 1 คนประเมินซึ่งกันและกันตามหัวขอในตาราง จํานวน
3 ขอ โดยมีเกณฑการใหคะแนนดังนี้
3 คะแนน หมายถึง ดีมาก 2 คะแนน หมายถึง ปานกลาง 1 คะแนน หมายถึง ควรปรับปรุง
2. ครูประเมินหาคาเฉลี่ยคะแนนของผูเรียนเปนรายบุคคลตอไป
ตารางประเมินคุณธรรมจริยธรรม/เจตคติ/คานิยม/เศรษฐกิจพอเพียง
ตามวัตถุ
คุณธรรมจริยธรรม/เจตคติ/
ลําดับ
พฤติกรรมที่แสดง
ประสงค
คานิยม/เศรษฐกิจพอเพียง
ขอที่
1 ความมีวินัยในการทํางาน
เขาเรียนตรงเวลา
5
มีอุปกรณการเรียนครบ
ไมสงเสียงดังรบกวน
แตงกายถูกตองตามระเบียบ
2 ซื่อสัตยและมีจิตสาธารณะ
ไมคัดลอกผลงานผูอื่น
5
ใหคําแนะนําชวยเหลือ
เสนอความคิด มีสวนรวม
3 ประหยัดในการใชทรัพยากร ใชพลังงาน/วัสดุอุปกรณ
5
ตนเองและสวนรวม
อยางประหยัด
คะแนนรวม
คะแนนเฉลี่ยรวม
Download