Uploaded by Vanitas T.

นายเกรียงศักดิ์ 4 1

advertisement
การ
วแปรต
ยและ
อาหารกลาง
↑
↑
การวิจัยและพัฒนาแบบมีส่วนร่วมเพื่อส่งเสริมการปลูกผักปลอดภัยสําหรับอาหารกลางวัน
ของโรงเรียนขนาดเล็กตามโครงการ 9 บวร
Participatory Research and Development on Promoting Safe Vegetable Production
for School Lunch in Small School Context (9-Gloriousness Projects)
โดย
รองศาสตราจารย์ นาวาอากาศโท ดร.สุมติ ร สุวรรณ
รองศาสตราจารย์ ดร.บรรจบ ภิรมย์คํา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ อรพรรณ ศังขจันทรานนท์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พันธ์จิตต์ สีเหนีย่ ง
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นันทรัตน์ เครืออินทร์
µ√Ï ลธิดา นุกูลธรรม
อาจารย์“ดร.กุ
อาจารย์
µ√» ดร.วิทัศน์ ฝักเจริญผล
…
‡° อภิเดช ช่างชัย
¬
—
อาจารย์
≈
“
‘“ ∑¬ อาจารย์ศราวุฒิ ครุฑศิริ
«
À
อาจารย์ทศพล บุญธรรม
—‘∑≈ ¡
®
‘
อาจารย์ไพฑูล คําคอนสาร
√ŸÈ¥
¡
“
«
อาจารย์ขจิต ฝอยทอง
≈—ߧ
§
À¡¥Õ“¬ÿ«—π∑’Ë 06-11-2566
คณะศึกษาศาสตร์และพัฒนศาสตร์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกําแพงแสน
พั
ได้รับงบประมาณสนับสนุนจากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกําแพงแสน
จั
วิ
ตั
ตั
วแปร
ใน
โดก
↑
บทคัดย่อ
↳
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาพื้นที่และทดลองปลูกพืชผักปลอดภัย สําหรับอาหาร
กลางวันของโรงเรียนขนาดเล็ก และ 2) สร้างความรู้ความเข้าใจให้กับครูและนักเรียนในการปลูกผัก
ปลอดภัย โดยใช้วิธีการวิจัยเชิงปฏิบัติการ กลุ่มเป้าหมาย คือ ครูและนักเรียนในโรงเรียนขนาดเล็ก
จํานวน 6 โรงเรียน ซึ่งอยู่ในพื้นที่ตําบลกําแพงแสน ตําบลวังน้ําเขียว และตําบลทุ่งลูกนก อําเภอกําแพงแสน
จั งหวัด นครปฐม ได้ แ ก่ โรงเรี ยนวั ดทุ่ งกระพั งโหม โรงเรียนบ้ านดอนซาก โรงเรี ยน วั ดไร่แ ตงทอง
โรงเรี ย นบ้ า นอ้อ กระทุ ง โรงเรี ย นวั ดหนองจิ ก และโรงเรี ย นวั ด ห้ว ยผั กชี เครื่ อ งมื อ ที่ใ ช้ ใ นการวิ จั ย
ประกอบด้วย แบบสัมภาษณ์ แบบสังเกต และใบความรู้เกี่ยวกับเรื่องการปลูกปลอดภัยที่ผู้วิจัยจัดทําขึ้น
เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้วิธีการสังเกตและการสัมภาษณ์พูดคุยผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการดําเนินการปลูก
ผักปลอดภัยของแต่ละโรงเรียน รวมทั้งการประชุมสัมมนาเพื่อสรุปบทเรียนและสะท้อนผลการดําเนิน
โครงการ ตรวจสอบและวิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหา
ผลการวิจัย พบว่า 1) โรงเรียนขนาดเล็กที่เข้าร่วมโครงการ จํานวน 6 โรงเรียน มีพื้นที่หรือ
แปลงสําหรับการปลูกผัก จํานวน 5 โรงเรียน ยกเว้นโรงเรียนวัดไร่แตงทอง ซึ่งครู นักเรียน และนักการ
ได้ร่วมกันพัฒนาพื้นที่แปลงปลูกผักโดยการดายหญ้า ขุดดิน ซื้อดินและปุ๋ยคอกมาใส่ รวมทั้งมีการจัดหา
อุปกรณ์เพิ่มเติม ได้แก่ จอบ เสียม บัวรดน้
√Ï ํา หลังจากนั้นทําการปลูกผักระยะสั้นที่สามารถนํามาเป็น
µ
อาหารกลางวันได้เร็ว ได้แก่ ผักบุ»้ง“คะน้า กวางตุ้ง บางโรงเรียนมีการเลี้ยงปลาดุกและไก่ไข่เพิ่มเติม
µ√ าผักที่ปลูกเจริญงอกงามดี สามารถนํามาทําเป็นอาหารในโครงการ
…
ผลการดําเนินการปลูกผัก ปรากฏว่
‡°
¬
—
≈
“
อาหารกลางวันได้ ส่วนที
‘“ ∑¬ ่เหลือสามารถนําขายให้ร้านค้าในชุมชนและแบ่งปันให้เด็กนักเรียนนํากลับไป
«
ฝากผู้ปกครอง ¡แต่Àมีบางโรงเรียนที่ปลูกผักใต้ต้นไม้ใหญ่ ทําให้ผักที่ปลูกมีลักษณะลําต้นเล็ก แคระแกรน
ไม่ค่อยเจริ‘®ญ‘∑—≈งอกงาม ครูและนักเรียนได้เรียนรู้ร่วมกันจึงได้ทําแปลงผักใหม่โดยไปปลูกในสถานที่ที่มี
√ŸÈ¥2) การสร้างความรู้ความเข้าใจในการปลูกผักปลอดภัยให้กับครูและนักเรียน ได้ดําเนินการ
¡
แสงแดด
“
«
§
ß
—
§≈ในระหว่างการติดตามผลโดยการให้คําแนะนําสิ่งที่เป็นปัญหาอุปสรรค และทําเป็นใบความรู้เกี่ยวกับการ
ปลูกผักปลอดภัย จํานวน 13 เรื่อง ๆ ละ 1 หน้ากระดาษ เพื่อให้สามารถอ่านได้ง่ายและเหมาะสมกับ
À¡¥Õ“¬ÿ
—π∑’บการปลู
Ë 06-11-2566
นักเรียนระดับประถมศึกษา ซึ่งเป็นการเสริมสร้างความรู้ความเข้
าใจเกี่ย«วกั
กผักปลอดภัยให้กับ
เด็กนักเรียนและครูเพิ่มเติม
คําสําคัญ: การปลูกผักปลอดภัย โรงเรียนขนาดเล็ก -เ า ะใ
นนท
-
' ยา
ั
มค
เจนาย
มาจาก
จ้
นิ
ะสา
ว็
จึ
ค้
ชื
ุประสง
ก
้อเร
3. กส
เ
ระย เ
ทร
ี
ข
Abstract
The objectives of this research are 1) to develop the area and to experimentally
grow safe vegetables for school lunch in small schools, 2) to provide knowledge and
understanding to teachers and students in growing safe vegetables by using action research.
The target groups are teachers and students in 6 small schools in Kamphaengsaen,
Wangnumkeaw, and Thunglooknok sub-districts in Kamphaengsaen districts, Nakhonpathom
province. The 6 schools includes Wat Thungkrapunghom School, Don Sarg School, Wat
Raitangtong School, Ban Orkrathung School, Wat Nhongjig School, and Wat Hauypugchee
School. The research instruments consists of interviewing form, observational form,
information sheets on growing safe vegetables made by the researchers. The data will be
collected by observing and interviewing all relevant parties who conduct growing safe
vegetables at each school. Also, there will be a seminar meeting to conclude the project
and to reflect the project result. The data checking and data analysis will be done using
content analysis.
From the research results, we found that 1) from 6 small schools in our project, only
5 of them alread have area or field √for
Ï growing vegetables, except Wat Raitangthong school,
µ
which, however, its teachers, »staff
√ “ and students helped to develop area by cutting grass,
µ
plowing the field, mixing°…soil and natural fertilizer. They also gather more agricultural
‡
¬
—
≈
equipment such as hoe,
shovel,
watering can. They start growing short-term vegetables such
“
¬
∑
‘
as water spinach,
“«Chinese broccoli, Chinese cabbage. Some schools also raise catfish and
À
¡
chicken for‘∑—≈eggs. As a result, the vegetables grow well and can be used to cook for school
ŸÈ¥‘®well as to sell to local market in the community and to give away to student to
√
lunch¡as
“
«
§
bring
—ß home. However, in some schools, the fields are under big trees, so that the vegetables
§≈have
thin stems and not growing well. The teachers and students noticed the problem and
solved it by moving the field into the sun. 2) to provide
information
and understanding of
À¡¥Õ“¬ÿ
«—π∑’Ë 06-11-2566
growing safe vegetables to teachers and students, the process of following the project and
consulting for problems as well as creating information sheets on growing safe vegetable in
13 topics for elementary students was conducted to develop knowledge and understanding
in growing safe vegetables for students and teachers.
Key words: growing safe vegetable, small-sized school
ต
กรรมปร
รก:้ช
· บ
สารบัญ
บทคัดย่อภาษาไทย
บทคัดย่อภาษาอังกฤษ
สารบัญ
บทที่ 1 บทนํา
ความสําคัญและที่มาของปัญหา
วัตถุประสงค์ของการวิจัย
ขอบเขตของการวิจัย
นิยามศัพท์
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง
การปลูกผักปลอดภัย
โครงการอาหารกลางวันเพื่อเด็กนักเรียน
การจัดการศึกษาของโรงเรียนขนาดเล็ก
บทที่ 3 วิธีดําเนินการวิจยั
กลุ่มเป้าหมายและพื้นที่ในการดํ√าÏ เนินการ
µ
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย »“
√
การเก็บรวบรวมข้อ‡มู°ล…µ
“≈—¬ เคราะห์ข้อมูล
การตรวจสอบและวิ
¬
‘∑
«
“
บทที่ 4 ผลการวิ¡Àจัย
—≈ ่ 1 การพัฒนาพื้นที่ การทดลอง และการติดตามผลการปลูกผัก
∑
‘
ตอนที
®
‘
√ŸÈ¥ตอนที่ 2 ปัญหาอุปสรรคและการสร้างความรู้ความเข้าใจการปลูกผัก
¡
“
«
§
ß
—
ตอนที่ 3 สรุปบทเรียนและสะท้อนผลการดําเนินโครงการ
§≈
บทที่ 5 สรุปผลการวิจัย อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ
À¡¥Õ“¬ÿ«—π∑’Ë 06-11-2566
สรุปผลการวิจยั
อภิปรายผล
ข้อเสนอแนะ
บรรณานุกรม
ภาคผนวก
%
ม่
ชื
ตั
มีกั
1ไ
ค
หน้า
ก
ข
ช
1
1
3
3
4
4
5
5
12
14
21
21
22
22
22
23
23
41
45
48
48
52
54
55
58
↑
บทที่ 1
บทนํา
ความสําคัญและที่มาของปัญหา
อาหาร เป็นสิ่งจําเป็นสําหรับมนุษยชาติทุกคน สารอาหารที่สําคัญ ได้แก่ คาร์โบไฮเดรต ไขมัน
โปรตีน วิตามินหรือแร่ธาตุ ซึ่งร่างกายเราจะนําไปสร้างพลังงาน กระตุ้นการเจริญเติบโต และที่สําคัญทําให้
เรามีชีวิตดํารงอยู่ได้ การได้รับสารอาหารครบทั้ง 5 หมู่ ในสัดส่วนที่เพียงพอจะส่งผลต่อพัฒนาการทางด้าน
ร่างกาย สติปัญญา และจิตใจ ในขณะเดียวกันการขาดอาหารส่งผลเสียต่อพัฒนาการด้านสมองและระดับ
สติปัญญาของเด็กโดยเฉพาะเด็กในวัยเรียน ดังนั้นการดูแลเรื่องอาหารการกินสําหรับเด็กจึงเป็นสิ่งที่ทุกคน
ต้องตระหนัก โดยเฉพาะผู้ปกครองที่บ้านและครูที่โรงเรียน การจัดอาหารกลางวันในโรงเรียนที่มีนักเรียน
ระดับก่อนประถมศึกษาและระดับประถมศึกษาจึงเป็นสิ่งสําคัญมาก ซึ่งกระทรวงศึกษาธิการได้เริ่มโครงการ
อาหารกลางวันมาตั้งแต่ปีงบประมาณ 2534 ในขณะที่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
ได้ทรงทดลองทําโครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวันในโรงเรียนตํารวจตระเวนชายแดน มาตั้งแต่ปี 2523
โดยทรงทดลองทําโครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวันในโรงเรียนตํารวจตระเวนชายแดน จํานวน 3 โรงเรียน
เพื่อแก้ไขปัญหาการขาดอาหารและพัฒนาภาวะโภชนาการ รวมทั้งสุขภาพของเด็กที่อยู่ในถิ่นทุรกันดาร
เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชนให้ดีขึ้น
√Ï
µ
“
อย่างไรก็ดี ในปัจจุบันยังµมี√เด็»กนักเรียนที่ไม่ได้รับประทานอาหารที่ดี เนื่องจากมีฐานะยากจน
…
โดยเฉพาะในโรงเรียนขนาดเล็—¬ก‡°ที่มีจํานวนเด็กนักเรียนน้อยกว่า 120 คน ซึ่งกระจายอยู่ในพื้นที่ชนบท
¬“≈างเช่น ในเขตพื้นที่อําเภอกําแพงแสน จังหวัดนครปฐม มีจํานวน 13 โรงเรียน
ทุกจังหวัดทั่วประเทศ ตั«‘∑วอย่
À“ ยนประสบปัญหาความขาดแคลนแทบทุกอย่าง โดยเฉพาะปัจจัยด้านการบริหาร
¡
การดําเนินการของโรงเรี
—≈
จัดการ √ได้ŸÈ¥‘®แ‘∑ก่ ขาดแคลนครูทั้งด้านปริมาณและคุณภาพ ขาดแคลนกรรมการสถานศึกษาที่มีความรู้
¡
“
«
ความสามารถและความมุ
่งมั่นทุ่มเท ขาดแคลนงบประมาณ ตํารา สื่อ วัสดุ อุปกรณ์ทางการเรียนและการสอน
§
ß
—
≈
ห้§องปฏิบัติการที่ทันสมัยในสาขาวิชาต่าง ๆ และขาดแคลนความรู้ด้านบริหารจัดการ จึงส่งผลให้มีอุปสรรค
อย่างมาก (สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา, 2553) ในขณะทีÀ¡¥Õ“¬ÿ
่ผู้วิจัยได้ศึก«ษาปั
หาของโรงเรียนขนาดเล็ก
—π∑’ญË 06-11-2566
ในเขตพื้นที่อําเภอกําแพงแสน จํานวน 6 โรงเรียน พบปัญหาต่าง ๆ เช่นเดียวกัน สรุปได้ ดังนี้ (สุมิตร
สุวรรณ, 2558)
1. ครูมีจํานวนน้อย จบไม่ตรงวิชาเอก ไม่ใช่คนในพื้นที่ มีภาระงานมาก
2. ครูอัตราจ้างได้รับเงินเดือนน้อย
3. เด็กนักเรียนมีฐานะยากจน ขาดศักยภาพและความพร้อม มีพัฒนาการทางสมองช้า อ่านไม่ออก
ติดเกม และมีเด็กต่างด้าวมาเรียน
↓
↳
2
4. ผู้ปกครองขาดการเอาใจใส่ ไม่มีเวลา ไม่สามารถสอนการบ้านได้ และมีค่านิยมส่งลูกไปเรียน
โรงเรียนใหญ่หรือโรงเรียนในเมือง
5. ผู้บริหารมีการโยกย้ายบ่อยและต้องเดินทางไปประชุมไกล บางโรงเรียนไม่มีผู้บริหาร
6. หลักสูตรมีการเปลี่ยนแปลงบ่อย เรียนมากและไม่ได้นําไปใช้ในชีวิตจริง
7. ขาดสื่ออุปกรณ์การเรียนการสอน
8. ขาดงบประมาณ
9. ขาดการประชุมพูดคุยกับผู้ปกครอง
10. คณะกรรมการสถานศึกษาหายากและไม่มาประชุม
11. ไม่ได้รับการดูแลจากสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
12. องค์การบริหารส่วนตําบลไม่สามารถเข้ามาช่วยเหลือได้ เนื่องจากติดระเบียบหรือข้อกฎหมาย
13. สถานที่ขาดความสะดวกสบาย
โรงเรียนขนาดเล็กทั้งหลายเหล่านี้ จึงต้องได้รับการพัฒนาอย่างเร่งด่วน โดยอาศัยภาคีเครือข่าย
ต่าง ๆ เข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาโรงเรียน โดยเฉพาะมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ที่มีนักวิชาการ นิสิต
และองค์ความรู้มากมาย ซึ่งจากการดําเนินโครงการวิจัยการสร้างเครือข่ายความร่วมมือพหุภาคีเพื่อการ
พัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนขนาดเล็ก จังหวัดนครปฐม พบประเด็นหนึ่งที่น่าสนใจ คือ โรงเรียน
ขนาดเล็กมีความต้องการเรื่องอาหารกลางวันสําหรับเด็กนักเรียน เนื่องจากงบประมาณที่ได้รับมีจํานวน
√Ï ยงพอสําหรับการปลูกพืชผักเพื่อไว้ทําเป็นอาหารกลางวัน
จํากัด ในขณะที่โรงเรียนมีพื้นที่มากมายและเพี
µ
ให้เด็กนักเรียนได้เป็นอย่างดี ประกอบกั
√»“ บพืชผักที่เราซื้อจากตลาดมักใช้สารเคมีในการป้องกันและกําจัด
µ
…าก เพื่อให้ได้ผักที่สวยงามตามความต้องการของผู้ซื้อ เมื่อนํามาบริโภค
°
‡
แมลงโดยการฉีดพ่นในปริมาณที
่
ม
≈—¬
“
¬
อาจได้รับอันตรายจากสารพิ
«‘∑ ษที่ตกค้างอยู่ในพืชผักนั้น
“
À
≈— ¡
‘∑ การดําเนินการพัฒนาพื้นที่เพื่อทําแปลงปลูกผัก และดําเนินการปลูกผักปลอดภัยจาก
ดัง√นัŸÈ¥้น‘®หากมี
¡็จะเป็นประโยชน์อย่างยิ่งสําหรับเด็กนักเรียนที่จะได้นําผักที่ปลอดภัยมาทําเป็นอาหารกลางวัน
“
«
สารเคมี
ก
—ߧ
≈
§
รับประทานในโรงเรียน ส่วนที่เหลืออาจนําไปรับประทานที่บ้านหรือจําหน่ายได้ ทําให้สามารถลดรายจ่าย
ค่าอาหารกลางวันของโรงเรียน เพิ่มรายได้ และนักเรียนได้มีโอกาสในการเรี
ซึ่งสามารถนําไปใช้ในการ
À¡¥Õ“¬ÿ«—πยนรู
∑’Ë ้ 06-11-2566
ดํ า เนิ น ชี วิ ต ประจํ า วั น ได้ นอกจากนี้ โ รงเรี ย นขนาดเล็ ก ในเขตอํ า เภอกํ า แพงแสนดั ง กล่ า วเป็ น พื้ น ที่ ที่
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกําแพงแสน ได้ดําเนินโครงการ 9 บวร (9 หมู่บ้าน 9 วัด 9 โรงเรียน)
ซึ่งโครงการศึกษาวิจัยนี้จึงเป็นประโยชน์อย่างยิ่งสําหรับการสานต่อโครงการ 9 บวร ทําให้มีกิจกรรมลงไป
ในพื้นที่อย่างต่อเนื่องเพื่อให้เกิดการพัฒนาเชิงพื้นที่ได้อย่างยั่งยืนต่อไป
กสั งน
พอก
!
4 มาจาก
ต ประสง
3
ของ
การ
1. เพื่อพัฒนาพื้นที่และทดลองปลูกพืชผักปลอดภัย สําหรับอาหารกลางวันของโรงเรียนขนาดเล็ก
ตามโครงการ 9 บวร
2. เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจให้กับครูและนักเรียนในการปลูกผักปลอดภัยสําหรับอาหารกลางวัน
โรงเรียนขนาดเล็กตามโครงการ 9 บวร
ขอบเขตของการวิจัย
ขอบเขตด้านพื้นที่
การวิจัยครั้งนี้จะดําเนินการศึกษาในโรงเรียนขนาดเล็กตามโครงการ 9 บวร ในเขตพื้นที่อําเภอ
กําแพงแสน จังหวัดนครปฐม จํานวน 6 โรงเรียน ดังนี้
1. โรงเรียนวัดทุ่งกระพังโหม
ตําบลกําแพงแสน
2. โรงเรียนบ้านดอนซาก
ตําบลวังน้ําเขียว
3. โรงเรียนวัดไร่แตงทอง
ตําบลทุ่งลูกนก
4. โรงเรียนบ้านอ้อกระทุง
ตําบลทุ่งลูกนก
5. โรงเรียนวัดหนองจิก
ตําบลทุ่งลูกนก
6. โรงเรียนวัดห้วยผักชี
µตํ√าÏ บลทุ่งลูกนก
√»“
µ
…
ขอบเขตด้านเนื้อหา —¬‡°
¬“≈ ฒนาพื้นที่หรือแปลงปลูกผัก ทดลองปลูกผัก และติดตามผลการปลูกผักของ
1. ศึกษาดําเนิ«น‘∑การพั
“
Àงโหม
¡
โรงเรียนวัดทุ่งกระพั
โรงเรียนบ้านดอนซาก โรงเรียนวัดไร่แตงทอง โรงเรียนบ้านอ้อกระทุง โรงเรียน
—≈
∑
‘
‘® ยนวัดห้วยผักชี
วัดหนองจิก√ŸÈ¥โรงเรี
¡
“2. ศึกษาปัญหาอุปสรรคในการดําเนินการ ให้คําแนะนําและสร้างความรู้ความเข้าใจให้กับครูและ
«
§
≈—ß
นั§กเรียนในการปลูกผักของโรงเรียนวัดทุ่งกระพังโหม โรงเรียนบ้านดอนซาก โรงเรียนวัดไร่แตงทอง โรงเรียน
ถุ
บ้านอ้อกระทุง โรงเรียนวัดหนองจิก โรงเรียนวัดห้วยผักชี
À¡¥Õ“¬ÿ«—π∑’Ë 06-11-2566
3. สรุปบทเรียนและสะท้อนผลการดําเนินโครงการวิจัยและพัฒนาแบบมีส่วนร่วมเพื่อส่งเสริมการ
ปลูกผักปลอดภัยสําหรับอาหารกลางวันของโรงเรียนขนาดเล็กตามโครงการ 9 บวร
ค์
วั
ชื่
วัตถุประสงค์ของการวิจัย
อเร
ความหมาย ขอ อง ยา
นิยามศัพท์
ม พท
4
์เ
↑
โรงเรียนขนาดเล็ก หมายถึง โรงเรียนที่มีจํานวนเด็กนักเรียนน้อยกว่า 120 คน ประกอบด้วย
โรงเรียนวัดทุ่งกระพังโหม โรงเรียนบ้านดอนซาก โรงเรียนวัดไร่แตงทอง โรงเรียนบ้านอ้อกระทุง โรงเรียน
วัดหนองจิก โรงเรียนวัดห้วยผักชี
การปลูกผักปลอดภัย หมายถึง การปลูกผักที่ไม่ใช้ยาฆ่าแมลงหรือสารพิษในการกําจัดศัตรูพืชที่เป็น
อันตรายต่อผู้บริโภคและสิ่งแวดล้อม แต่อาจใช้ปุ๋ยเคมีหรือปุ๋ยอินทรีย์ต่าง ๆ เพื่อเร่งการเจริญเติบโต
->> ประโยช ไ บจากง
ประโยชน์ที่ได้รับ
1. พื้นที่ปลูกพืชผักสําหรับอาหารกลางวันของโรงเรียนขนาดเล็กตามโครงการ 9 บวร
2. ผักปลอดภัยสําหรับอาหารกลางวันให้กับเด็กนักเรียนโรงเรียนขนาดเล็กตามโครงการ 9 บวร
3. ครูและเด็กนักเรียนโรงเรียนขนาดเล็กมีความรู้เรื่องผักปลอดภัยสามารถนําไปใช้ดําเนินชีวิต
ประจําวันได้
4. ผลงานตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ
√Ï
µ
“
µ√»
…
‡°
—¬
“≈
‘“«∑¬
À
¡
‘∑—≈
‘®
√ŸÈ¥
¡
“
—≈ߧ«
§
รั
ด้
ที่
น์
นิ
ศั
À¡¥Õ“¬ÿ«—π∑’Ë 06-11-2566
บทที่ 2
การทบทวนวรรณกรรม
การวิจัยและพัฒนาแบบมีส่วนร่วมเพื่อส่งเสริมการปลูกผักปลอดภัยสําหรับอาหารกลางวันของ
โรงเรียนขนาดเล็กตามโครงการ 9 บวร ผู้วิจัยได้ทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง ดังนี้
1. การปลูกผักปลอดภัย
2. โครงการอาหารกลางวันเพื่อเด็กนักเรียน
3. การจัดการศึกษาของโรงเรียนขนาดเล็ก
การปลูกผักปลอดภัย
พืชผักเป็นพืชอาหารที่คนไทยนิยมนํามาใช้รับประทานกันมาก เนื่องจากมีคุณค่าทางอาหารทั้ง
วิตามินและแร่ธาตุต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อร่างกายสูง แต่ค่านิยมในการบริโภคผักนั้น มักจะเลือกบริโภค
ผักที่สวยงามไม่มีร่องรอยการทําลายของหนอนและแมลงศัตรูพืช จึงทําให้เกษตรกรที่ปลูกผักจะต้องใช้
สารเคมีป้องกันและกําจัดแมลงฉีดพ่นในปริมาณที่มาก เพื่อให้ได้ผักที่สวยงามตามความต้องการของตลาด
เมื่อผู้ซื้อนํามาบริโภคแล้วอาจได้รับอันตรายจากสารพิษที่ตกค้างอยู่ในพืชผักนั้นได้เพื่อเป็นการแก้ปัญหา
ดังกล่าว เกษตรกรจึงควรหันมาทําการปลูกผักปลอกภัยจากสารพิษ โดยนําเอาวิธีการป้องกันและกําจัด
Ï
ศัตรูพืชหลายวิธีมาประยุกต์ใช้ร่วมกัน เป็นµ√การทดแทนหรื
อลดปริมาณการใช้สารเคมีให้น้อยลง เพื่อความ
“
ปลอดภัยของเกษตรกร ผู้บริโภคและสิ
µ√»่งแวดล้อม (อภิสรา, 2556)
…
°
‡
≈—¬
“
↳ างอิงในเ
ความหมายของผั
‘“ ∑¬กปลอดภัยจากสารพิษ
«
À
ผักปลอดภั
—‘∑≈ ¡ยจากสารพิษ หมายถึง ผลผลิตพืชผักที่ไม่มีสารเคมีป้องกันและกําจัดศัตรูพืชตกค้างอยู่
‘® ่ไม่เกินระดับมาตรฐานที่กระทรวงสาธารณสุขกําหนดไว้ในประกาศกระทรวงสาธารณสุข
หรือมีตกค้√าŸÈ¥งอยู
¡
“ พ.ศ. 2538 ลงวันที่ 28 เมษายน 2538 เรื่อง อาหารที่มีสารพิษตกค้าง
ฉบับ—ßที§่ «163
§≈
นื
อ้
ส่วนอีกข้อมูลหนึ่งระบุว่า ผักปลอดสารพิษ หมายถึÀ¡¥Õ“¬ÿ
ง ผักที่มีกระบวนการผลิ
ตมีการใช้สารเคมี
«—π∑’Ë 06-11-2566
สังเคราะห์ (เช่น ธาตุอาหาร ปุ๋ยเร่งการเจริญเติบโต ปุ๋ยอินทรีย์ต่าง ๆ) เพียงแต่สารเคมีสังเคราะห์ดังกล่าว
จะไม่เป็นอันตรายต่อผู้บริโภคและสิ่งแวดล้อม เมื่อถึงเวลาเก็บเกี่ยวสารเคมีสังเคราะห์เหล่านี้จะไม่มีสารพิษ
ตกค้างอยู่ (เนื่องจากเป็นกลุ่มของปุ๋ยเคมี จุลธาตุต่าง ๆ ซึ่งมีอยู่ในใบพืชอยู่แล้ว) ส่วนคําว่า ผักปลอดสาร
จะหมายถึง ผักที่มีกระบวนการผลิตที่ใช้สารเคมีในการกําจัดศัตรูพืชหรือยาฆ่าแมลงในช่วงที่มีแมลงศัตรูพืช
ระบาด เพียงแต่จะต้องมีการกําหนดใช้อย่างเข้มงวด ต้องรู้ว่าควรฉีดยาฆ่าแมลงช่วงไหนและช่วงไหนไม่ควรฉีด
ซึ่งตามหลักการก็คือจะต้องเว้นระยะเวลาการเก็บเกี่ยวหลังจากฉีดยาฆ่าแมลงไปแล้ว แต่ทั้งนี้ผลผลิตที่ได้
6
จะต้องไม่มีสารพิษตกค้างหรือมีไม่เกินมาตรฐานที่กระทรวงสาธารณะสุขได้กําหนดไว้ (บางแห่งใช้ยาฆ่าแมลง
บางแห่งก็ไม่ใช้) ซึ่งผักปลอดสาร เป็นคนละประเภทกับผักออแกนิค (การปลูกผักที่มีความเป็นธรรมชาติสูงมาก
คือจะไม่มีการใช้สารเคมีใด ๆ เลยในระหว่างการเพาะปลูกจนกระทั่งการเก็บเกี่ยว) และผักไฮโดรโปนิกส์
(การปลูกพืชโดยไม่ใช้ดิน หรือเป็นการปลูกพืชในน้ําที่มีธาตุอาหารพืชละลายอยู่)
อย่างไรก็ตาม พืชผักที่มีจําหน่ายในท้องตลาดในทุกวันนี้ มักจะมีสารพิษและสารกําจัดโรคแมลง
ที่มารบกวนการเจริญเติบโตของพืชผักปะปนอยู่ ในระหว่างขั้นตอนการเพาะปลูก สาเหตุที่ทําให้เกิดการ
ตกค้างของสารพิษเหล่านี้มาจากหลายสาเหตุ (1) การใช้สารเคมีที่มีฤทธิ์ตกค้างยาวนานเกินไปจนถึงระยะ
เก็บเกี่ยวมาบริโภค (2) การใช้สารเคมีบ่อยครั้งเกินไป จนทําให้เกิดการสะสมของสารเคมีเหล่านั้นในพืชผักได้
(3) มีการใช้สารเคมีในชนิดที่ไม่เหมาะสมกับช่วงการเจริญเติบโตของพืชผัก (4) มีการใช้สารเคมีในชนิดที่ไม่
เหมาะสมกับชนิดของผัก
ปัญหาการใช้สารเคมีเพื่อปราบศัตรูพืช ผลจากการใช้วิธีทางเคมีในการเกษตรมากเกินไป และใช้
ติดต่อกันเป็นระยะเวลานาน ส่งผลต่อสุขภาพของมนุษย์และทําลายระบบนิเวศน์ทางธรรมชาติอย่างน่าวิตก
แมลงศัตรูพืชเกิดการพัฒนาสายพันธุ์ เพื่อให้เกิดการต้านทานต่อสารเคมีเหล่านั้น ซึ่งทําให้มนุษย์เราต้องค้นคิด
พัฒนาสารเคมีกําจัดแมลงที่มีฤทธิ์รุนแรงมากขึ้นจนเกิดการตกค้างและทําลายสิ่งแวดล้อมมากขึ้น จาก
พื้นฐานความคิดที่ผิดพลาดเหล่านี้ก่อให้เกิดปัญหาต่าง ๆ มากมายและวิธีการที่จะกลับมาสู่การทําเกษตร
ยั่งยืนโดยใช้หลักการควบคุมพืชแบบใหม่ที่ไµด้√รÏ ับการยอมรับอย่างกว้างขวางในปัจจุบัน (ธนรัช ใกล้กลาง, 2545:
37-41) จึงเกิดแนวทางการปฏิบัติทางการเกษตรอย่
างน้อย 3 ประการ คือ
√»“
µ
…
1. การปรับปรุงดิน —¬‡°
“≈
2. ระบบการปลู«‘∑ก¬พืชหลายชนิดร่วมกัน
Àษ์“ แมลงที่เป็นประโยชน์
¡
3. การอนุ
ร
ก
ั
—≈
∑
‘
®
‘
โดยมี
เ
ป้
ŸÈ¥ าหมายที่จะลดการใช้สารเคมีทางการเกษตรที่ทําลายสิ่งแวดล้อมให้น้อยลงมากที่สุดเท่าที่
√
¡
“
«
จะมากได้
§
—ß
§≈
ข้อดีของการปลูกผักปลอดสารพิษ
À¡¥Õ“¬ÿ«—π∑’Ë 06-11-2566
1. ทําให้ได้พืชผักที่มีคณ
ุ ภาพ ไม่มีสารพิษตกค้าง เกิดความปลอดภัยแก่ผู้บริโภค
2. ช่วยให้เกษตรกรผู้ปลูกผักมีสุขภาพอนามัยดีขึ้นเนื่องจากไม่มีการฉีดพ่นสารเคมีป้องกันและ
กําจัดศัตรูพืช ทําให้เกษตรกรปลอดภัยจากสารพิษเหล่านี้ด้วย
3. ลดต้นทุนการผลิตของเกษตรกรด้านค่าใช้จ่ายในการซือ้ สารเคมีป้องกันและกําจัดศัตรูพืช
4. ลดปริมาณการนําเข้าสารเคมีป้องกันและกําจัดศัตรูพืช
7
5. เกษตรกรจะมีรายได้เพิ่มมากขึ้น เนื่องจากผลผลิตที่ได้มีคุณภาพ ทําให้สามารถขายผลผลิตได้ใน
ราคาสูงขึ้น
6. ลดปริมาณสารเคมีป้องกันและกําจัดศัตรูพืชที่จะปนเปื้อนเข้าไปในอากาศและนํ้า ซึง่ เป็นการ
อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและลดมลพิษของสิ่งแวดล้อมได้ทางหนึ่ง
วิธีการผลิตผักปลอกภัยจากสารพิษ
ในการปลูกผักปลอดภัยจากสารพิษนั้นจะใช้หลักการปลูกพืชผักโดยการใช้สารเคมีในการผลิตให้
น้อยที่สุดหรือใช้ตามความจําเป็นและจะใช้หลัก การป้องกันและกําจัดศัตรูพืชโดยวิธีผสมผสานหรือไอพีเอ็ม
แทนแต่ ก ารที่ จ ะป้ อ งกั น และกํ า จั ด ศั ต รู พื ช ให้ ไ ด้ ผ ลนั้ น จะต้ อ งเลื อ กวิ ธี ที่ ป ระหยั ด เหมาะสมและมี
ประสิทธิภาพซึ่งผู้ปลูกจะต้องเข้าใจเรื่องต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องดังนี้
1. สาเหตุการระบาดของศัตรูพืช
1.1 ศัตรูพืชเคลื่อนย้ายจากแหล่งหนึ่งไปยังอีกแหล่งหนึ่งที่มีความเหมาะสมมากกว่าทําให้มีการ
ขยายพันธุ์และระบาดทําความเสียหายเพิ่มขึ้น
1.2 สภาพแวดล้อมและสภาพทางนิเวศน์เปลี่ยนแปลงไปทําให้ศัตรูพืชมีการขยายพันธุ์ได้ดีขึ้น
เพิ่มจํานวนมากขึ้นหรือมีผลต่อการพัฒนาสายพันธุ์ให้มีความต้านทานและมีประสิทธิภาพในการเข้าทําลาย
มากขึ้นเช่นการกําจัดงูทําให้หนูระบาดการใช้สารเคมีทําให้แมลงที่กินแมลงศัตรูพืชตายเป็นต้น
1.3 สภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจและสังคมของมนุษย์ที่เปลี่ยนแปลงไปทําให้ความต้องการผลิต
√Ï ตในการบริโภคเปลี่ยนไปทําให้ความต้องการผลผลิตที่
ในการบริโภคเปลี่ยนไปทําให้ความต้องการผลผลิ
µ
แตกต่างกันไปตามความต้องการของบริ
√»“โภคทําให้บางครั้งร่องรอยการทําลายของศัตรูพืชเพียงจุดเดียวก็ถือ
µ
…การระบาดของศัตรูพืชได้
°
‡
ว่าผลผลิตตกเกรดไม่ได้มาตรฐานมี
≈—¬
“
¬
2. การควบคุม«ศั‘∑ตรูพืชให้ประสบผลสําเร็จ มีหลักการง่ายๆ
À“องกันไม่ให้เกิดโรคในแปลงปลูก เช่น การใช้พันธุ์ที่ปราศจากโรคและแมลงการไม่นํา
2.1 ต้—≈อ¡งป้
‘∑ที่มีโรคแมลงเข้ามาในแปลงปลูก เป็นต้น
®
‘
ชิ้นส่วนของพื
ช
¥
È
Ÿ
¡√2.2 ถ้ามีศัตรูพืชเข้ามาในแปลงปลูกหรือแสดงอาการเป็นโรคแล้ว ต้องยับยั้งการแพร่ระบาด
“
«
§
§≈—ß 2.3 และถ้ามีการระบาดแล้วต้องกําจัดให้หมดไปอย่างไรก็ตามสาเหตุสําคัญที่ก่อให้เกิดการ
ระบาดของศัตรูพืชในแปลงปลูก คือ ตัวเกษตรกรเองที่ละเลยการควบคุ
ให้ศัตรูพืชสะสมในแปลง
À¡¥Õ“¬ÿม«ดู—πแลทํ
∑’Ë า06-11-2566
ปลูก จนถึงระดับที่ไม่สามารถควบคุมกําจัดได้
3. วิธีการควบคุมศัตรูพืชอย่างมีประสิทธิภาพ มีขั้นตอนดังนี้
3.1 ต้องศึกษาชนิดของศัตรูพืชในแปลงปลูกนั้นๆ ก่อน
3.2 สํารวจสถานการณ์ศัตรูพืชในแปลงปลูก
3.3 พิจารณาแนวโน้มการระบาดของศัตรูพืชแล้วจึงหาแนวทางป้องกันและกําจัดต่อไป
8
3.4 เมื่อควบคุมการระบาดให้อยู่ในระดับที่ไม่ก่อให้เกิดความเสียหายมากขึ้นแล้วให้เลือกใช้
วิธีการที่เหมาะสมเพื่อลดปริมาณหรือรักษาระดับการเข้าทําลายให้คงที่หรือลดลง
3.5 ในกรณีที่ไม่สามารถควบคุมสถานการณ์ศัตรูพืชด้วยวิธการอื่นๆ ได้มีความจําเป็นที่จะต้อง
ใช้สารเคมีให้เลือกใช้สารเคมีที่ถูกต้องเหมาะสมกับชนิดศัตรูพืชและการระบาดตามคําแนะนําวิธีการใช้ใน
ฉลาก
4. ผลดีของการป้องกันและกําจัดศัตรูพืชโดยวิธีผสมผสาน
4.1 ลดปริมาณศัตรูพืชให้ต่ํากว่าระดับที่จะก่อให้เกิดความเสียหายแก่พชื
4.2 ลดปริมาณการใช้สารเคมีป้องกันและกําจัดศัตรูพืช
4.3 มีความปลอดภัยต่อสุขภาพของเกษตรกรผู้บริโภครวมไปถึงสภาพแวดล้อม
5. วิธีการผสมผสานในการควบคุมศัตรูพืช
จะเป็นการนําเอาวิธีการป้องกันและกําจัดศัตรูพืชหลายวิธีมาประยุกต์ใช้ร่วมกันโดยวิธีการปลูก
ผักปลอดภัยจากสารพิษนี้มีข้อแนะนําให้เกษตรกรเลือกใช้วิธีการป้องกันและกําจัดศัตรูพืชทดแทนการใช้
สารเคมี ดังนี้
5.1 การเตรียมแปลงปลูก
5.2 การเตรียมเมล็ดพันธุ์
5.3 การปลูกและการดูแล
5.4 การให้ธาตุอาหารเสริม
5.5 การใช้กับกัดกาวเหนียว µ√Ï
5.6 การใช้กับดักแสงไฟµ√»“
°…อฟางข้าวคลุมแปลงปลูก
5.7 การใช้พลาสติ—¬ก‡หรื
“≈
5.8 การปลู«ก‘∑ผั¬กในโรงเรือนมุ้งตาข่ายไนล่อน
À“ มโดยชีววิธี
¡
5.9 การควบคุ
—≈
∑
‘
®
‘
5.10
ŸÈ¥ การใช้สารสกัดจากพืช
√
¡
“ 5.11 การใช้สารเคมีป้องกันและกําจัดศัตรูพืช
«
§
—ß
§≈
เทคนิคการปลูกผักปลอดสารพิษ
À¡¥Õ“¬ÿ«—π∑’Ë 06-11-2566
ปัจจุบันผู้บริโภคหันมาใส่ใจในเรื่องของสุขภาพมากขึ้น จึงนิยมบริโภคผักปลอดสารพิษ ดังนั้นทาง
สํานักงานเกษตรจังหวัดนครราชสีมา จึงแนะนําให้เกษตรกรปลูกผักปลอดสารพิษ เพื่อสนองความต้องการ
ของตลาด โดยใช้วิธีป้องกันกําจัดศัตรูพืชแบบผสมผสาน ดังนี้
1. ควรปรับสภาพความอุดมสมบูรณ์ของดิน ด้วยการใส่ปุ๋ยอินทรีย์ เช่น ปุ๋ยคอก ปุ๋ยหมัก หรือปุ๋ย
พืชสด ในอัตรา1-2 ตัน/ไร่
9
2. การปรับสภาพความเป็นกรดเป็นด่างในดิน โดยการใส่ปูนขาว ปูนมาร์ล หรือแร่โดโลไมท์ อัตรา
200-300 กิโลกรัม/ไร่
3. เมล็ดพันธุ์ อาจมีเชื้อราหรือเชื้อแบคทีเรียติดมา จึงควรแช่เมล็ดพันธุ์ผักในน้ําที่อุณหภูมิ 50-55
องศาเซลเซียส นาน 10-15 นาทีก่อนปลูก วิธีการเช่นนี้นอกจากจะเป็นการกําจัดเชื้อโรคแล้ว ยังเป็นการ
กระตุ้นให้เมล็ดพันธุ์งอกอย่างสม่ําเสมอ และหากพบการระบาดของโรคราน้ําค้างหรือโรคใบจุด ให้คลุก
เมล็ดพันธุ์ด้วยสารเคมี เมทาแลคซิน 35% และ ไอโปรไดโอล อัตรา 10 กรัม/เมล็ดพันธุ์ 1 กิโลกรัม
4. ก่อนปลูกหรือหลังปลูก ควรเพิ่มธาตุอาหารในดิน เช่น แคลเซียม แมกนีเซียม ฟอสฟอรัส และ
โบรอน เป็นต้น
5. การกําจัดศัตรูพืช ซึ่งทําได้หลายวิธีคือ ใช้กาวเหนียวสีเหลือง ทาแผ่นพลาสติกหรือถุงพลาสติกที่
มีสีเหลือง แล้วนําไปวางอยู่เหนือระดับยอดผักประมาณ 1 ฟุต ระยะห่าง 4x4 เมตร ในพื้นที่ 1 ไร่ใช้กับดัก
ประมาณ 60-80 อัน การใช้กับดักแสงไฟ โดยใช้หลอดไฟสีม่วงหรือสีน้ําเงิน แขวนหลอดไฟห่างจากพื้นดิน
ประมาณ 1.5 เมตร แล้ ว วางภาชนะใส่ น้ํ า รองรั บ ด้ า นล่ า ง พื้ น ที่ 1 ไร่ ใ ห้ ใ ช้ กับ ดั ก แสงไฟ 2 จุ ด การใช้
พลาสติกสีเทา-เงินคลุมแปลง จะช่วยลดการระบาดของแมลงปากดูด เช่น เพลี้ยอ่อน เพลี้ยไฟ และไร ได้
การใช้สารสกัด จากพืช เช่น สารสกัดสะเดาหรือจากสมุนไพร ต่าง ๆ อย่างไรก็ตามหากวิธีการดังกล่าวยังไม่
ได้ผลให้ใช้สารเคมี แต่ควรใช้อย่างถูกต้องตามชนิดและอัตรา รวมทั้งทิ้งระยะการเก็บเกี่ยวผลผลิตเพื่อให้
สารเคมีสลายตัวด้วย
√Ï
การเตรียมแปลงปลูก
µ
ความสําคัญของการเตรียµมดิ
√»น“ ปลูกผักปลอดสารพิษ การเตรียมแปลงปลูกนับเป็นขั้นตอนที่มี
…
ความสํา คัญ มาก เพราะจะช่—¬ว‡°ยให้ผัก ที่ป ลูก เจริญ เติบ โตสมบรูณ์แ ข็ง แรงดีแ ล้ว ยัง เป็น การช่ว ยลด
“≈
ปัญหาจากการทําลายศั«‘∑ต¬รูพืชและที่สําคัญในการเตรียมดินที่ดีเป็นการป้องกันการงอกของวัชพืชที่อาจ
Àา“งการปลูกผักได้เป็น อย่างดีเมื่อพืช ผัก เจริญ เติบ โตแข็งแรงและสมบูร ณ์เ ราก็ไ ม่
¡
เกิด ขึ้น ในช่ว งระหว่
‘∑—≈สารเคมีในการดูแลรักษา ดังนั้น การเตรียมแปลงในการปลูกพืชผักให้ปลอดสารพิษ
จําเป็นจะต้√อŸÈ¥‘®งใช้
¡
ถือว่—ßา§เป็«“นขั้นตอนที่สําคัญอีกข้อหนึ่งที่จะขาดไม่ได้
§≈
การเตรียมดินปลูกพืชผักปลอดสารพิษ
À¡¥Õ“¬ÿ«—π∑’Ë 06-11-2566
การเตรียมดินที่ดีจะมีผลต่อการเจริญเติบโตและง่ายต่อการดูแลรักษาทําให้การปลูกพืชผักปลอด
สารพิษประสบผลสําเร็จ ซึ่งมีหลักการปฏิบัติ ดังนี้
1. ปรับพื้นที่ปลูกให้ราบเรียบ ไม่ควรให้เป็นแอ่งมีน้ําขัง
2. จัดทําคูระบายน้ํา เพื่อระบายน้ําที่ให้มากจนเกินความจําเป็นออกจากแปลง
3. พื้นที่ที่เป็นแหล่งหลบอาศัยของศัตรูต่างๆ ก็ควรทําลายแหล่งอาศัยให้หมด เพื่อป้องกันไม่ให้สัตว์
เหล่านี้เข้าทําลายในแปลงผัก
10
4. กําจัดวัชพืชออกให้หมด เพื่อไม่ให้วัชพืชขึ้นแข่งกับผักที่จะปลูก
5. หลังจากเตรียมพื้นที่เสร็จแล้วจึงทําการการไถดะให้ลึก 1 ครั้ง แล้วตากดินไว้อย่างน้อย 7 วัน
เพื่อที่จะให้แสงแดดช่วยทําลายดักแด้และตัวอ่อนของแมลง ทําลายไส้เดือนฝอยและเชื้อโรคที่สะสมอยู่ในดิน
ส่ ว นวั ช พื ช ที่ ขึ้ น อยู่ ต ามผิ ว ดิ น จะถู ก พลิ ก กลบลงในดิ น และย่ อ ยสลายเป็ น ธาตุ อ าหารแก่ พื ช ผั ก ต่ อ ไป
นอกจากนี้ยังทําให้โครงสร้างของดินโปร่ง สามารถระบายน้ําและอากาศได้ดีขึ้น
6. หลังจากไถดะและตากดินแล้วจึงทําการไถพรวนอีก 1 ครั้ง เพื่อที่จะทําให้ดินมีเนื้อละเอียด ร่วนซุย
เหมาะสมแก่การปลูกผัก นอกจากนี้หากมีต้นอ่อนของวัชพืชที่งอกมาก็จะถูกไถกลบทําลายไปด้วย สําหรับ
ในบางพื้นที่ที่มีปัญหาวัชพืชและศัตรูเคยระบาดอย่างรุนแรงมาก่อน ก็ควรจะตากดินทิ้งไว้อีก 7 วัน แล้วไถ
พรวนอีกครั้งหนึ่งก็จะสามารถลดปัญหาต่าง ๆ ที่จะเกิดขึ้นในภายหลังได้
7. ปรับสภาพดินที่เป็นกรดด้วยการใส่ปูนขาว ปูนมาร์ลหรือปูนโดโลไมท์ ให้มีสภาพเป็นกลาง
โดยทั่วไปแล้วจะใส่ประมาณไร่ละ 100 กิโลกรัมทุกๆ ปี
การปลูกและการดูแล
การเลือกวิธีการปลูก ระยะปลูกเป็นเท่าใดนั้นจะขึ้นอยู่กับชนิดของพืชผักที่เกษตรกรเลือกปลูก แต่
มีข้อแนะนํา คือ เกษตรกรควรปลูกผักให้มีระยะห่างพอสมควร อย่าให้แน่นจนเกินไป เพื่อให้มีการระบาย
อากาศที่ดี เป็นการปรับสภาพแวดล้อมไม่ให้เหมาะสมต่อการระบาดของโรค นอกจากนี้ควรหมั่นตรวจ
แปลงอยู่เสมอ โดยอาจเลือกสํารวจเป็นจุด ๆ ประมาณ 10-20 จุด/ไร่ ถ้าพบว่ามีการระบาดของโรคและ
แมลงในระดับที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่µพ√ืชÏ ผักนั้น ก็ควรดําเนินการกําจัดโรคและแมลงที่พบทันที
√»“
µ
…
การให้ธาตุอาหารเสริ—¬ม‡°แก่พชื
“≈
การให้ธาตุอาหารเสริ
‘“«∑¬ มแก่พืชจะมีความจําเป็นต่อพืชผักในบางชนิดเท่านั้น ทั้งนี้เพื่อสร้างความ
ต้านทานโรคให้แ—≈ก่¡พÀืชนั้น เช่น พืชในตระกูลกะหลํ่า จะต้องการธาตุโบรอนเพื่อสร้างความต้านทานโรคไส้
‘∑เทศจะต้องการธาตุแคลเซียมเพื่อสร้างความตานทานโรคผลเน่า เป็นต้น
®
‘
กลวงดํา มะเขื
อ
¥
È
Ÿ
¡√
“
«
§
§≈—ß การใช้กับดักแสงไฟ
เป็นการใช้แสงไฟจากหลอดฟลูออร์เรสเซนต์ (หลอดนีÀ¡¥Õ“¬ÿ
ออน) หรือ«หลอดไฟแบล็
คไลท์ ล่อแมลงใน
—π∑’Ë 06-11-2566
เวลากลางคืน เช่น ผีเสื้อ หนอน กระทู้หอม หนอนกระทู้ ผัก ให้มาเล่นไฟและตกลงในภาชนะที่บรรจุ
น้ํามันเครื่องหรือน้ําที่รองรับอยู่ด้านล่าง การติดตั้งกับดักและแสงไฟจะติดตั้งประมาณ 2 จุด/พื้นที่ 1 ไร่
โดยติดตั้งให้สูงจากพื้นดินประมาณ 150 เซนติเมตร และให้ภาชนะที่รองรับอยู่ห่างจากหลอดไฟ 30 เซนติเมตร
และควรปิดส่วนอื่นๆ ที่จะทําให้แสงสว่างกระจายเป็นบริเวณกว้างเพื่อล่อจับแมลงเฉพาะในบริเวณแปลง
มิใช้ล่อแมลงจากที่อื่นให้เข้ามาในแปลง
11
การใช้พลาสติกหรือฟางข้าวคลุมแปลงปลูก
เป็นการควบคุมปริมาณวัชพืชและเก็บรักษาความชื้นในดินไว้ได้นาน ทําให้ประหยัดนํ้าที่ใช้รด
แปลงผัก การใช้พลาสติกหรือฟางข้าวคลุมแปลงปลูกนี้ ควรใช้กับพืชผักที่มีระยะปลูกแน่นอน ในแปลงที่พบ
การระบาดของโรคที่มีเชื้อไวรัสเป็นสาเหตุ และมีเพลี้ยอ่อนหรือแมลงเป็นพาหะ แนะนําให้ใช้พลาสติกที่มีสี
เทา-ดํา โดยให้ด้านที่มีสีเทาอยู่ด้านบน เนื่องจากสีเทาจะทําให้เกิดจากสะท้อนแสงจึงช่วยไล่แมลงที่เป็น
พาหนะได้
การใช้สารสกัดจากพืช
พืชที่นิยมนํามาใช้สกัดเป็นสารควบคุมโรคและแมลง คือ สะเดา เนื่องจากในสะเดามีสารอะซาดิแรคติน
(Azadirachtin) ซึ่งมีคุณสมบัติช่วยในการป้องกันและกําจัดแมลงได้โดย
1. สามารถใช้ฆ่าแมลงได้บางชนิด
2. ใช้เป็นสารไล่แมลง
3. ทําให้แมลงไม่กินอาหาร
4. ทําให้การเจริญเติบโตของแมลงผิดปกติ
5. ยับยั้งการเจริญเติบโตของแมลง
6. ยับยั้งการวางไข่และการลอกคราบของแมลง
7. เป็นพิษต่อไข่ของแมลงทําให้ไขไม่ฟัก
8. ยับยั้งการสร้างเอนไซม์ในระบบย่
µ√อÏ ยอาหารของแมลง
√»“
µ
… อสะเดาที่บดแล้ว 1 กิโลกรัม แช่ในน้ํา 20 ลิตร ทิ้งค้างคืนไว้ 1 คืน
°
‡
วิธีการใช้ คือ นําเอาผลสะเดาหรื
≈—¬
“
¬
แต่ถ้าเกษตรกรมีเครื่องกวนส่
‘∑ วนผสมดังกล่าว ก็จะลดเวลาเหลือเพียง 3-4 ชั่วโมง จากนั้นกรองเอาแต่น้ํามา
«
“
À 1 ช้อนโต๊ะ แล้วนําไปรดพืชผักทันทีส่วนกากของสะเดาที่เหลือให้นําไปโรยโคนต้น
ผสมด้วยสารจับใบประมาณ
—‘∑≈ ¡
‘® น และกําจัดแมลงในดินได้อีกด้วย
เพื่อปรับปรุ√งŸÈ¥สภาพดิ
¡
“
«
§
§≈—ß ข้อควรระวัง พืชบางชนิดเมื่อได้รับสารนี้แล้วอาจเกิดอาการใบไหม้เหี่ยวย่นหรือต้นแคระแกร็น
ดังนี้เมื่อพบอาการต่าง ๆ เหล่านี้ก็ควรจะงดใช้สารสกัดจากสะเดาทั
นที «—π∑’Ë 06-11-2566
À¡¥Õ“¬ÿ
การบริโภคผักปลอดสารพิษ
แม้ ว่ าผั ก ปลอดสารพิ ษ จะเป็ น อี ก ทางเลือ กหนึ่ งที่ดี สํ าหรั บ คนชอบรั บประทานผั ก และมีค วาม
ปลอดภัย แต่หากผู้บริโภคยังไม่มั่นใจก่อนนําบริโภคก็นําผักมาให้ล้างให้สะอาดอย่างถูกวิธีเสียก่อน ซึ่งก็มีอยู่
หลายวิธี เช่น ล้างด้วยน้ําไหลจากก๊อกนาน 2 นาที, หรือการแช่ในน้ําสะอาดประมาณ 5-10 นาที แล้วค่อย
12
ล้างออกด้วยน้ําสะอาด, หรือแช่ในน้ําปูนใส น้ําด่างทับทิม น้ําซาวข้าว น้ําส้มสายชูหรือเกลือป่น หรือน้ํายา
ล้างผัก ประมาณ 10 นาที แล้วจึงล้างออกด้วยน้ําสะอาดอีกครั้งหนึ่ง เป็นต้น
นอกจากนี้ผู้บริโภคควรจะเลือกรับประทานผักให้เหมาะสมกับฤดูกาล เช่น ถ้าเป็นฤดูฝน ผักคะน้า
ที่เห็นขายในตามท้องตลาดส่วนใหญ่จะปนเปื้อนสารเคมีก็ให้หันมาบริโภคผักกวางตุ้งแทน เป็นต้น หรือเลี่ยง
การบริโภคผักที่อยู่นอกฤดูกาล เช่น ในฤดูฝนเป็นไปไม่ได้ที่ผักกะหล่ําจะออก ถ้ามีขายก็แสดงว่าต้องมีการ
ใช้สารเคมีอย่างดุเดือด เป็นต้น
โครงการอาหารกลางวันเพื่อเด็กนักเรียน
โครงการอาหารกลางวัน เป็นโครงการที่เกิดจากความตระหนักของรัฐบาลที่มุ่งแก้ปัญหาภาวะทุพ
โภชนาการในเด็ ก ซึ่งพบว่ า นักเรียนประถมศึ กษาจํานวนมากขาดแคลนอาหารกลางวันหรือมี อาหาร
กลางวันแต่ปริมาณไม่เพียงพอ หรืออาหารมีคุณค่าทางโภชนาการต่ําทําให้ภาวะการเจริญเติบโตไม่เป็นไป
ตามเกณฑ์ ข องกระทรวงสาธารณสุ ข โครงการอาหารกลางวั น เริ่ ม ดํ า เนิ น การมาตั้ ง แต่ ปี 2495
กระทรวงศึกษาธิการได้ทดลองจัดอาหารกลางวันแก่นักเรียนในสังกัด ซึ่งพบว่า โรงเรียนขาดงบประมาณใน
การดําเนินงาน ทําให้ไม่สามารถจัดอาหารกลางวันให้นักเรียนขาดแคลนได้อย่างทั่วถึง
ในปี พ.ศ. 2530 สํานักงานคณะกรรมการการประถมศึ
กษาแห่งชาติ ได้เล็งเห็นความสําคัญของ
√Ï
µ
โครงการอาหารกลางวัน จึงกําหนดนโยบายให้
โรงเรียนดําเนินโครงการอาหารกลางวันทุกโรงเรียน ก่อน
“
»
√
วันที่ 5 ธันวาคม 2530 ภายใต้°ค…ําµขวัญ 60 พรรษามหาราชา เด็กประถมศึกษาไม่หิวโหย ต่อมาในช่วง
‡
ปลายปีงบประมาณ 2534¬“รั≈ฐ—¬บาลเร่งรัดช่วยเหลือเด็กในระดับประถมศึกษาที่มีภาวะทุพโภชนาการและ
‘∑ โดยกําหนดให้มีกฎหมาย พระราชบัญญัติกองทุนเพื่อโครงการอาหารกลางวัน ใน
«
“
ขาดแคลนอาหารกลางวั
น
¡À
≈
—
โรงเรียนประถมศึ
‘∑ กษา พ.ศ.2535 สาระสําคัญ คือ การจัดตั้งกองทุนเพื่อโครงการอาหารกลางวันในโรงเรียน
®
‘
¥
È
Ÿ
√ น 6,000 ล้านบาท โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นทุนหมุนเวียนและใช้จ่ายสําหรับการ
ประถมศึ“ก¡ษาวงเงิ
«
§ นและช่วยเหลือภาวะโภชนาการของนักเรียนในโรงเรียนประถมศึกษาและการประชาสัมพันธ์ปัญหา
สนั§≈บ—ßสนุ
ภาวะทุพโภชนาการของเด็ก ในปี พ.ศ. 2542 รัฐบาลได้ตระหนักถึงความสําคัญของอาหาร ปัญหา อุปสรรค
À¡¥Õ“¬ÿ
∑’Ë 06-11-2566
อนักเรี«ย—πนขาดแคลนอี
กจํานวนหนึ่งยัง
ต่าง ๆ ที่โรงเรียนไม่สามารถดําเนินการแต่ลําพังได้ ส่งผลกระทบต่
ไม่ได้รับประทานอาหารกลางวัน คณะรัฐมนตรีจึงได้มีมติ เมื่อวันที่ 19 ตุลาคม 2542 ให้ถือว่า การส่งเสริม
ให้นักเรียนทุกคนได้รับประทานอาหารกลางวันอิ่มทุกวันเป็นนโยบายสําคัญของรัฐบาล โดยเห็นชอบให้มีความ
ร่ ว มมื อ ในการส่ ง เสริ ม และสนั บ สนุ น ให้ นั ก เรี ย นทุ ก คนได้ รั บ ประทานอาหารอิ่ ม ทุ ก วั น ระหว่ า ง
กระทรวงศึกษาธิการกับกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และเห็นชอบให้ กระทรวงมหาดไทย กระทรวง
สาธารณสุข และทุกกระทรวง ทบวง กรม ให้การสนับสนุนการดําเนินงานตามโครงการ ตั้งแต่ปีงบประมาณ
2544 กระทรวงศึ ก ษาธิก ารได้ ถ่ า ยโอนงบประมาณค่ า อาหารกลางวั น ไปให้ ก ระทรวงมหาดไทย ตาม
13
พระราชบัญญัติกําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542
และกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นได้จัดตั้งและจัดสรรงบประมาณเองมาตั้งแต่ปีงบประมาณ 2546 จนถึง
ปัจจุบัน ผลการดําเนินโครงการพบปัญหาอุปสรรค ดังนี้ (สุภาพร อาจเดช, 2556)
1. งบประมาณถ่ายโอนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นผู้ดูแลและบริหารจัดการมีผลกระทบต่อ
กิจกรรมการประกอบอาหารและการดําเนินงานโครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน
2. โรงเรียนขาดกําลังคน ไม่เพียงพอที่จะดูแลการจัดอาหารกลางวันได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3. ขาดการบริหารจัดการที่ดีในการดําเนินงานโครงการอาหารกลางวัน
4. โรงเรียนขาดองค์ความรู้ในการจัดอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการและถูกหลักโภชนาการ
5. โรงเรียนจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศ ยังไม่เป็นระบบและไม่เป็นปัจจุบัน
6. ไม่มีการนิเทศติดตามและประเมินผลอย่างเป็นระบบ
7. ไม่ มี ก ารประชาสั ม พั น ธ์ ใ ห้ ทุ ก ภาคส่ ว นเห็ น ความสํ า คั ญ และตระหนั ก ถึ ง ปั ญ หาภาวะทุ พ
โภชนาการ ทําให้ขาดการมีส่วนร่วมทั้งจากผู้ปกครองหรือชุมชน
ในขณะที่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ได้ทรงเริ่มงานพัฒนาในปี 2523 โดย
ทรงทดลองทําโครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวันในโรงเรียนตํารวจตระเวนชายแดน จํานวน 3 โรงเรียน
เพื่อแก้ไขปั ญหาการขาดอาหารและพัฒนาภาวะโภชนาการและสุขภาพของเด็ กที่ อยู่ใ นถิ่ นทุร กันดาร
หลังจากนั้นได้ทรงขยายงานพัฒนาในด้านอื่น ๆ อีก เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชนให้ดีขึ้น พร้อมทั้ง
√Ï
ขยายพื้นที่การดําเนินงานมากขึ้นด้วย โดยทรงพระกรุ
ณาโปรดเกล้าฯ ให้ “สํานักงานโครงการส่วนพระองค์
µ
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุ
มารี” ร่วมกับหน่วยงานต่าง ๆ รับผิดชอบดําเนินงาน
√»“
µ
…
°
โครงการตามพระราชดําริ ส่—¬ว‡นราชการที
่เกี่ยวข้องกับเยาวชนโดยเฉพาะอย่างยิ่งกระทรวงศึกษาธิการ ได้
≈
“
สนองพระราชดําริและให้
‘“ ∑ค¬วามสําคัญเรื่องอาหารกลางวันแก่นักเรียน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการช่วยเหลือให้
«
À
โรงเรียนระดับประถมศึ
—‘∑≈ ¡ กษาที่อยู่ห่างไกลมีสภาพความเป็นอยู่ขาดแคลน สามารถได้รับการช่วยเหลือและ
‘®
ช่วยเหลือตั√วŸÈ¥เองในการผลิ
ตอาหารกลางวันได้อย่างยั่งยืนมีศักยภาพในการสร้างแหล่งอาหารที่มีคุณภาพตาม
¡
«“
หลัก—ßโภชนาการครบถ้
วนขึ้นในพื้นที่โรงเรียน อันได้แก่ ผลผลิตทางการเกษตร การดําเนินโครงการนี้ทําให้
§
≈
เด็§กนักเรียนได้รับประทานอาหารกลางวันที่มีคุณภาพอย่างเพียงพอเหมาะสมต่อความต้องการของร่างกาย
และมีสุขภาพอนามัยที่ดี ตลอดจนได้เผยแพร่ความรู้ด้านโภชนาการและด้
À¡¥Õ“¬ÿ«า—πนการเกษตรกรรมให้
∑’Ë 06-11-2566 นักเรียน
ผู้ปกครอง รวมทั้งชุมชน มีความรู้เกี่ยวกับการบริโภคอาหารที่มีคุณภาพ ถูกหลักโภชนาการมีสุขนิสัยที่ดีใน
การรับประทานอาหาร (เสกสรร สิทธาคม, 2557)
14
การจัดการศึกษาของโรงเรียนขนาดเล็ก
การศึกษาเป็นเครื่องมือในการบ่มเพาะและพัฒนาคนให้มีคุณภาพ และเป็นพลังของการสร้างสรรค์
สังคมที่ผ่านมาแม้ประเทศไทยจะสามารถขยายโอกาสทางการศึกษาได้ทั่วถึงมากขึ้น แต่กลับประสบปัญหา
ด้านคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาคุณภาพคน โดยเฉพาะการบริหารจัดการโรงเรียนขนาดเล็ก ซึ่งตามการ
จัดประเภทของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) หมายถึง โรงเรียนที่มีนักเรียนตั้งแต่
120 คนลงมา ส่วนใหญ่เปิดการสอนตั้งแต่ระดับชั้นอนุบาลถึงประถมศึกษาปีที่ 6 แต่มีโรงเรียนบางแห่งที่
เป็นโรงเรียนขยายโอกาสจัดการเรียนการสอนถึงระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนขนาดเล็กเหล่านี้มี
แนวโน้มเป็นปัญหาสําคัญของการจัดการศึกษาในระดับขั้นพื้นฐานทั้งในด้านคุณภาพการศึกษาโดยรวมของ
ประเทศ ด้านคุณภาพของผู้เรียนซึ่งเป็นกําลังสําคัญของการพัฒนาประเทศ ด้านการลงทุนทางการศึกษา
รวมถึงด้านประสิทธิภาพและผลตอบแทนจากการดําเนินการ
ผลการวิจัยในโรงเรียนขนาดเล็กโดย พิธาน พื้นทอง (2548) แสดงให้เห็นสภาพปัญหาและอุปสรรค
ในการดําเนินงานของโรงเรียนขนาดเล็กในด้านต่าง ๆ ได้แก่ 1) ด้านโครงสร้าง เป็นปัญหางบประมาณไม่
เพียงพอต่อความต้องการ บุคลากรไม่ครบตามโครงสร้าง และการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลคุณภาพ
การศึกษายังขาดความชัดเจน 2) ด้านคน เป็นปัญหาการจัดสรรครูและบุคลากรให้โรงเรียนขนาดเล็กทําให้
ครูไม่ครบชั้น และมีวุฒิการศึกษาไม่ตรงตามวิชาที่สอน ครูขาดความชํานาญเฉพาะสาขา ขาดขวัญและ
√Ï เป็นปัญหาการขาดแคลนสื่อเทคโนโลยี เช่น อินเทอร์เน็ต
กําลังใจในการปฏิบัติงาน 3) ด้านเทคโนโลยี
µ
คอมพิวเตอร์ อุปกรณ์ประกอบ รวมทั
√้ง»คู“่สายโทรศัพท์ สื่อ CAI และ ข้อจํากัดด้านงบประมาณทําให้โรงเรียน
µ
… อมบํารุงเอง บุคลากรและผู้ปกครองขาดความรู้เรื่องการใช้งาน ICT และ
°
‡
ต้องจัดหางบประมาณจัดซื้อเองและซ่
≈—¬
“
¬
คอมพิวเตอร์ และ 4) ด้า«นงาน
‘∑ เป็นปัญหาการพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่นที่ไม่ต่อเนื่อง และใช้การคัดลอกหลักสูตร
“
À
กันมาจากที่อื่น การจั
—‘∑≈ ¡ ดกระบวนการเรียนรู้ของนักเรียนยังขาดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ ขาดการทํา
ความเข้าใจในเนื
ŸÈ¥‘® ้อหาหลักสูตร และการบริหารงานวิชาการยังไม่มีประสิทธิภาพดีเท่าที่ควร ส่วนใหญ่
√
¡
“ ํา เพราะขาดงบประมาณ ขาดการนิเทศและสื่อการเรียนการสอนที่จําเป็น ซึ่งสอดคล้องกับ
«
คุณภาพต่
§
§≈—ß จัยของสุรชัย ทินกระโทก (2549) และ ถวิล แพงยา (2550)
ผลการวิ
À¡¥Õ“¬ÿ«—π∑’Ë 06-11-2566
ในช่วงเวลาต่อมา นโยบายคณะรัฐมนตรีกําหนดแผนปรับปรุงโรงเรียนขนาดเล็กในปี พ.ศ. 2551
ตามที่กระทรวงศึกษาธิการได้เสนอขอเพิ่มเงินอุดหนุนรายหัวให้แก่โรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสํานักงาน
คณะกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ว่าด้วยการให้เงินอุดหนุนรายหัวตามจํานวนนักเรียนในระดับชั้น
ประถมศึกษาและมัธยมศึกษาหัวละ 500 และ 1,000 บาท ตามลําดับ แต่การกระทําดังกล่าวเป็นเพียงการ
แก้ปัญหาระยะสั้นแบบไม่ยั่งยืน เนื่องจากสาเหตุหลายประการ เช่น การลดลงของอัตราประชากรเกิดใหม่
และความต้องการของผู้ปกครองที่พยายามส่งบุตรหลานไปโรงเรียนใหญ่กว่า แม้จะต้องเสียเงิน เสียเวลา
15
เดินทาง หรือเสียค่าหอพักในเมือง จึงทําให้โรงเรียนขนาดเล็กยังคงมีจํานวนนักเรียนลดน้อยลงเรื่อยๆ
ในขณะที่โรงเรียนขนาดกลางบางแห่งเกิดภาวะลดขนาดลงกลายเป็นโรงเรียนขนาดเล็กในที่สุด (สุกัญญา
หาญตระกูล, 2552)
ภายหลังการสนับสนุนด้านงบประมาณดังกล่าว สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (2553) ได้
ศึกษาสภาพการดําเนินการของโรงเรียนขนาดเล็ก พบว่า โรงเรียนขนาดเล็กยังคงประสบปัญหาขาดแคลนแทบทุก
อย่าง โดยเฉพาะปัจจัยด้านการบริหารจัดการ ขาดแคลนครูทั้งด้านปริมาณและคุณภาพ ขาดแคลนกรรมการ
สถานศึกษาที่มีความรู้ ความสามารถและความมุ่งมั่นทุ่มเท ขาดแคลนงบประมาณ ตํารา สื่อ วัสดุ อุปกรณ์
ทางการเรียนและการสอน ห้องปฏิบัติการที่ทันสมัยในสาขาวิชาต่าง ๆ และขาดแคลนความรู้ด้านบริหาร
จัดการ จึงส่งผลให้มีอุปสรรคอย่างมาก โดยเฉพาะในช่วงที่รัฐบาลกําหนดนโยบายการบริหารจัดการแบบ
กระจายอํานาจให้องค์กรท้องถิ่นให้มีหน้าที่รับผิดชอบและดูแลโรงเรียนขนาดเล็ก สํานักงานเลขาธิการสภา
การศึกษา (2553) ได้ให้ข้อเสนอแนะในการลดจํานวนโรงเรียนขนาดเล็กให้เหลือน้อยลง ทั้งนี้เพื่อให้โรงเรียน
แต่ละแห่งมีทรัพยากรทางการบริหาร ซึ่งได้แก่ คน เงิน วัสดุอุปกรณ์ อาคารสถานที่ สิ่งอํานวยความสะดวก
ทางการเรียน นวัตกรรมเทคโนโลยี และความรู้ที่จะใช้ในการบริหารจัดการอย่างเพียงพอ เพื่อที่จะได้บริหาร
จัดการแบบกระจายอํานาจได้สําเร็จ
นอกจากนี้รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนขนาดเล็กของสํานักงานรับรอง
√Ï พบว่า โรงเรียนขนาดเล็กจํานวนมากยังไม่สามารถพัฒนา
มาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา µ(สมศ.)
คุณภาพผู้เรียนได้อย่างน่าพึงพอใจ µและไม่
√»“ ผ่านรับรองการประเมินมาตรฐานภายนอกของ สมศ. โดยเฉพาะ
…
ด้านผู้เรียน เช่น มาตรฐานที่ 4—¬‡°ผู้เรียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ มีวิจารณญาณ มี
“≈
ความคิดสร้างสรรค์ คิด«ไตร่
‘“ ∑¬ ตรองและมีวิสัยทัศน์ มาตรฐานที่ 5 ผู้เรียนมีความรู้และทักษะที่จําเป็นตาม
À
หลักสูตร มาตรฐานที
—‘∑≈ ¡ ่ 6 ผู้เรียนมีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รักการเรียนรู้ และพัฒนาตนเอง
อย่างต่อเนื่อ√ŸÈ¥ง‘®เป็นต้น จึงมีการเสนอความเห็นให้ “ยุบ/เลิก” ในกรณีโรงเรียนที่ไม่สามารถพัฒนาผู้เรียนให้มี
¡ ซึ่งความเห็นดังกล่าวสอดคล้องกับนโยบายกระทรวงศึกษาธิการที่ว่ากรณีโรงเรียนขนาดเล็กที่มี
“
«
คุณภาพได้
—ߧ
≈
§
นักเรียนจํานวนน้อย หากโรงเรียนใดพึงเลิกได้ก็ให้ “เลิก” หากโรงเรียนใดพึงรวมกับโรงเรียนอื่นใกล้เคียงได้
อผู้เรีย«น—π∑’แต่Ë 06-11-2566
หากโรงเรียนใดยังคงเปิด
ก็ให้ “รวม” แต่ต้องหาวิธีการที่จะไม่ส่งผลกระทบต่อผู้ปกครองหรื
À¡¥Õ“¬ÿ
สอนก็จะต้องดําเนินการได้อย่างมีคุณภาพ (ฟาฏินา วงศ์เลขา, 2553)
อย่างไรก็ตาม การดําเนินการตามแนวคิด “ยุบ/เลิก/รวม” โรงเรียนขนาดเล็กยังอยู่ในระหว่างการ
พิจารณาปัจจัยและความจําเป็นต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง เนื่องจากตามสภาพความเป็นจริงโรงเรียนขนาดเล็กแต่
ละแห่งมีบริบทที่แตกต่างกัน ในที่นี้เราอาจแบ่งออกเป็น 4 กลุ่ม ได้แก่ 1) โรงเรียนขนาดเล็กที่มีความพร้อม
ที่จะพัฒนาเป็นโรงเรียนแกนนําหรือศูนย์วิชาการสําหรับโรงเรียนขนาดเล็กอื่น ๆ 2) โรงเรียนขนาดเล็กที่มี
16
ความพร้อมในการยกระดับคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนตนเองเท่านั้น 3) โรงเรียนขนาดเล็กที่ไม่มีความ
พร้อมด้านบุคลากร ไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ แต่ไม่สามารถยุบได้ 4) โรงเรียนขนาดเล็กที่อยู่ในพื้นที่
พิเศษ เช่น ทุรกันดาร เสี่ยงภัย ชายแดน เกาะ ห่างไกล (สมยศ ปั๋นแก้ว,
2549) ทั้งนี้ สํานักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานได้ระบุปัญหาและอุปสรรคในการดําเนินการจัดการโรงเรียนขนาดเล็ก
ด้วยนโยบายดังกล่าว ไว้ดังนี้
1. การดําเนินการตามนโยบายเกี่ยวกับโรงเรียนขนาดเล็กไม่ต่อเนื่อง เนื่องจากแนวทางการปฏิบัติไม่มี
ความชัดเจนและเปลี่ยนแปลงบ่อย
2. ในกรณียุบรวมหรือเลิก ผู้บริหารสถานศึกษาไม่พร้อมให้ความร่วมมือหรืออาจต่อต้าน เนื่องจาก
ขาดความมั่นใจว่าเมื่อสถานศึกษาที่ตนเองดํารงตําแหน่งอยู่ถูกยุบรวม เลิกล้มไป ตนเองจะมีตําแหน่งอยู่ที่ใด
3. ในกรณีที่นักเรียนต้องย้ายโรงเรียน ค่าพาหนะที่นักเรียนได้รับวันละ 6 บาท ไม่เหมาะสมกับ
สภาพความเป็นจริงในปัจจุบัน นอกจากนั้นในบางปี งบประมาณยังล่าช้าหรือถูกตัด
4. ชุมชนบางส่วนต่อต้านการยุบรวมหรือเลิกสถานศึกษา
5. ในกรณีการใช้ทรัพยากรร่วมกันระหว่างโรงเรียนแกนนํายังขาดประสิทธิภาพ
นอกจากนี้ในการเสวนาเรื่อง “ยุบโรงเรียนขนาดเล็ก ใครได้ ใครเสีย?” พบว่า การลดจํานวน
โรงเรียนขนาดเล็กอาจยังไม่ใช่แนวทางออกที่ดีที่สุด และจําเป็นต้องมีการศึกษาอย่างรอบด้าน พร้อมทั้งได้รับ
ความเห็นและยินยอมจากชุมชนท้องถิ่น เพราะเมื่อพิจารณาด้านการจัดการศึกษาเพื่อตอบสนองกลุ่มผู้เรียน
Ï น้อยที่ต้องการให้ลูกหลานได้เรียนในโรงเรียนท้องถิ่นใกล้
และผู้ปกครองที่อยู่ในพื้นที่ห่างไกลและมีµร√ายได้
บ้าน และอาจเป็นโอกาสในการแก้µ√ป»ัญ“หาการศึกษาที่ไม่สอดคล้องกับการดํารงชีวิตในสังคม เนื่องจาก
… ยนขนาดใหญ่เน้นวิชาการ ท่องจํา เรียนเพื่อสอบแข่งขันและเลื่อน
°
‡
การศึกษาในปัจจุบัน โดยเฉพาะในโรงเรี
≈—¬
“
¬
ชั้น แต่โรงเรียนขนาดเล็«‘∑กสามารถจัดการศึกษาที่สอดคล้องกับสภาพปัญหาและความต้องการของท้องถิ่น
“
¡À
โดยให้ชุมชน ผู้ป—≈กครองและองค์
การบริหารส่วนตําบลเข้ามามีส่วนร่วมและผลักดันทั้งด้านงบประมาณและ
∑
‘
การบริหารอย่
ŸÈ¥‘®างมีประสิทธิภาพ ทั้งนี้ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่ายจําเป็นต้องมีความรู้ความเข้าใจและทุ่มเท
√
¡
“ที่ เริ่มที่ผู้บริหารโรงเรียนและครูพึงต้องสร้างความไว้วางใจจากผู้ปกครองด้วยการร่วมกันวางแผนการ
«
อย่างเต็
ม
§
≈—ß
พั§ฒนาคุณภาพของโรงเรียนเพื่อบุตรหลานในชุมชน และแนวทางอีกอย่างหนึ่งที่ควรพิจารณาเพื่อทดแทน
ความไม่คุ้มทุนของโรงเรียนขนาดเล็ก นั้นคือ การพัฒนาคนด้านคุ
ณธรรม จริ
การจัดการศึกษาที่เน้น
À¡¥Õ“¬ÿ
«—πยธรรม
∑’Ë 06-11-2566
ด้านคุณธรรมจริยธรรมอาจเป็นจุดยืนสําหรับโรงเรียนขนาดเล็กในอนาคต (ณัฐวิทย์ พิมพ์ทอง, 2554)
จากที่กล่าวมาข้างต้นได้แสดงถึงความเสี่ยงของการบริหารงานโรงเรียนขนาดเล็กที่ครอบคลุม
ทั้งด้านงบประมาณและบุคลากรทางการศึกษาที่ส่งผลต่อคุณภาพของผู้เรียนโดยตรง การพยายามลด
จํานวนโรงเรียนขนาดเล็กให้เหลือจํานวนหนึ่งที่อยู่ในวิสัยจะปรับปรุงคุณภาพได้รอบด้าน โดยใช้ข้อมูล
สารสนเทศทั้งทางภูมิศาสตร์กายภาพ (ที่ตั้ง เส้นทางคมนาคม) และภูมิศาสตร์มนุษย์ (ความหนาแน่นของ
17
ประชากร ประชากรวัยเจริญพันธุ์ อัตราการเจริญพันธุ์) ร่วมกับการปฏิรูปให้โรงเรียนขนาดเล็กเป็นแหล่ง
เรียนรู้ที่มีคุณภาพและได้รับการยอมรับ ควรให้เป็นวาระเร่งด่วนที่เป็นการวางแผนในระยะ 5 ปี 10 ปี มี
เป้าหมายระยะสั้นและการติดตาม แต่โรงเรียนขนาดเล็กบางแห่งก็มีความสําคัญและไม่ควรเลิกหรือยุบนั้น
อาทิเช่น ที่ตั้งห่างไกลบนภูเขาสูง บนเกาะ หรือพื้นที่ชายแดน พื้นที่ในเขตพิเศษต่าง ๆ (กฎอัยการศึก)
กระทรวงศึกษาธิการควรตั้งโรงเรียนขนาดเล็กเหล่านี้เป็นกลุ่มเป้าหมายเฉพาะเพื่อการพัฒนาคุณภาพต่อไป
(สุกัญญา หาญตระกูล, 2552)
จากสภาพปัญหาด้านการจัดการและการบริหารของโรงเรียนขนาดเล็กที่กล่าวมาข้างต้น งานวิจัย
ทางการศึกษาได้เสนอทางเลือกหรือนวัตกรรมในการบริหารงานโรงเรียนขนาดเล็ก เพื่อให้เป็นโรงเรียนที่มี
ประสิทธิภาพมีการนําเสนอในหลายแนวทาง เช่น รูปแบบการบริหารงานวิชาการในโรงเรียนขนาดเล็กที่ครู
ไม่ครบชั้นจําเป็นต้องอาศัยการจัดการเรียนรู้แบบคละชั้น การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ แบบรวมเรียน
ช่วงชั้น เป็นต้น (บพิธ ศิริ, 2546 และปรีชา ทินโนรส, 2551) ซึ่งทําได้โดยการจัดชั้นเรียนที่นํานักเรียนต่างชั้น
ต่างกลุ่มอายุ และต่างความสามารถมาเรียนรู้พร้อมกันในห้องเดียว เพื่อให้ครูสามารถดูแลและจัดกิจกรรม
การเรียนรู้ เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้เต็มตามศักยภาพอย่างทั่วถึง อย่างไรก็ตาม ในการจัดกลุ่มนักเรียน
ในชั้ น เรี ย นแบบคละนี้ ครู ต้ อ งคํ า นึ ง ถึ ง พั ฒ นาการ ระดั บ ความสามารถของเด็ ก ควรจั ด เด็ ก ที่ มี ร ะดั บ
พัฒนาการในการเรียนรู้ใกล้เคียงกันมาเรียนรวมกัน เช่น ประถมศึกษาปีที่ 1 และ 2 เรียนรวมกัน หรือ
ประถมศึกษาปีที่ 4 – 6 เรียนรวมกัน โดยให้สัดส่วนครูต่อเด็กไม่เกิน 1 ต่อ 20 คน เพื่อให้การดูแลเด็กที่ต่าง
√Ï าง ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ โรงเรียนขนาดเล็ก
ความสามารถในการเรียนรู้สามารถทํากิจกรรมต่
µ
อาจจัดกิจกรรมการเรียนรู้บูรณาการควบคู
√»“ ่กับการเน้นทักษะพื้นฐานที่จําเป็น โดยจัดตารางเรียนนั้นในช่วง
µ
… ตศาสตร์ ส่วนภาคบ่ายจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการเป็นหน่วยการ
°
‡
เช้าเน้นการเรียนรู้ด้านภาษาและคณิ
≈—¬
“
¬
เรียนรู้โดยเน้นทักษะร่ว«มที
‘∑ ่จําเป็นในการแสวงหาความรู้ เช่น ทักษะการคิด ทักษะการทํางานร่วมกับผู้อื่น
“
ทักษะการสื่อสาร—≈เป็¡นÀต้น (ฟาฏินา วงศ์เลขา, 2553) ซึ่งมีความคล้ายคลึงกับโมเดลการจัดการชั้นเรียนแบบ
‘∑ัฒน์ สอนสมนึก (2553) เพื่อแก้ไขปัญหาความขาดแคลนบุคลากรในโรงเรียนขนาดเล็ก
®
‘
คละชั้นของพิ
พ
¥
È
Ÿ
√
¡
“
«
นอกจากนี
§ ้สุรวิทย์ ธาดา (2551) ได้นําเสนอการใช้ทรัพยากรบุคคลในท้องถิ่นที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญใน
ß
—
≈
ด้§านต่าง ๆ เพื่อช่วยการบริหารงานวิชาการของโรงเรียน เพื่อเติมเต็มในส่วนของหลักสูตรท้องถิ่น และการ
นําแหล่งเรียนรู้ท้องถิ่นมาปรับใช้เพื่อการเรียนการสอน จึงเห็นÀ¡¥Õ“¬ÿ
ได้ว่าการมี«ส—π่ว∑’นร่Ë 06-11-2566
วมของชุมชนถือเป็นส่วน
สําคัญของการส่งเสริมคุณภาพทางการศึกษาโรงเรียนขนาดเล็กเช่นกัน
สถานการณ์ของประเทศไทยซึ่งโรงเรียนขนาดเล็กกําลังประสบปัญหาอย่างรุนแรง โดยหลายฝ่าย
ต้องการให้ทบทวนว่า ควรมีโรงเรียนขนาดเล็กต่อไปหรือไม่ แต่ในทางตรงกันข้ามกับสถานการณ์ของ
ต่างประเทศ เช่น ประเทศสหรัฐอเมริกา ผลการวิจัยตั้งแต่ปี 1964 แสดงความตระหนักถึงความสําคัญและ
มีความต้องการโรงเรียนขนาดเล็ก เช่น Joan McRobbie (2001) ได้สังเคราะห์งานวิจัยในช่วงปี 1990s
พบว่า โรงเรียนขนาดเล็กมีประสิทธิภาพมากกว่าโรงเรียนขนาดใหญ่ในหลายด้าน กล่าวคือ สามารถทําให้ผู้เรียน
เรียนรู้ได้ดีกว่า เวลาเรียนมากกว่า มีการเข้าร่วมกิจกรรมนอกหลักสูตรมากกว่าและหลากหลาย ปัญหา
พฤติกรรมความรุนแรงและการลาออกกลางคันน้อยกว่า และยังพบว่าผู้เรียนที่มีฐานะยากจนหรือชนกลุ่ม
น้อยได้รับประโยชน์มากที่สุดจากโรงเรียนขนาดเล็ก และสาเหตุของการที่โรงเรียนขนาดเล็กมีประสิทธิภาพ
มากกว่า เนื่องมาจากความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างครูและผู้เรียน ผู้ปกครองและชุมชนมีส่วนร่วม การสื่อสารทํา
ได้ง่ายกว่าเพราะมีบุคลากรน้อยที่ทํางานอย่างร่วมมือร่วมใจกัน ครูสามารถสอนและพัฒนาวิชาชีพได้อย่างมี
ประสิทธิภาพเนื่องจากมีจํานวนรายวิชาที่ต้องสอนน้อยกว่าในโรงเรียนขนาดใหญ่ มีความสุขและทุ่มเทใน
การทํางาน เช่นเดียวกับ Lee and Loeb (2000) ได้วิจัยศึกษาทัศนคติของครูด้านความรับผิดชอบต่อการ
เรี ย นรู้ ข องนั ก เรี ย นและผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย นคณิ ต ศาสตร์ ข องนั ก เรี ย น เก็ บ รวบรวมข้ อ มู ล โดยใช้
แบบสอบถาม จากครูกว่า 5,000 คน และนักเรียนเกรด 6 และเกรด 8 กว่า 23,000 คน จาก 264 โรงเรียนใน
รัฐชิคาโก พบว่า ครูที่ทํางานในโรงเรียนขนาดเล็กมีทัศนคติด้านความรับผิดชอบต่อการเรียนรู้ของนักเรียน
สูงกว่าครูที่ทํางานในโรงเรียนขนาดใหญ่ และนักเรียนเรียนรู้ได้ดีกว่า และ Lee and Smith (1994) ที่
แสดงให้เห็นว่าการเพิ่มความร่วมมือกันของครูทําให้โรงเรียนขนาดเล็กมีประสิทธิภาพ และในทางตรงกัน
ข้าม โรงเรียนขนาดใหญ่มีความห่างเหินกันมาก ทําให้ความร่วมมือกันมีน้อย ประสิทธิภาพก็น้อยลงตามไป
ด้วย และความห่างเหินนี้ทําให้ต้องโรงเรียนขนาดใหญ่ต้องสร้างระบบมาควบคุมความเรียบร้อยในโรงเรียน
มากขึ้นด้วย ส่วน Lawrence & Bingler & Diamond & Hill & Hoffman & Howley & Mitchell &
Rudolph & Washor (2002) แสดงให้เห็นว่า ค่าใช้จ่ายกับโรงเรียนขนาดเล็กไม่ได้แพงขนาดนั้น โดย
Steifel et al (1998) ได้วิเคราะห์ค่าใช้จµ่า√ยต่Ï อจํานวนผู้จบการศึกษาในโรงเรียนขนาดใหญ่และขนาดเล็กใน
นิวยอร์ค ไม่ได้ต่างกันมากนัก และในทางตรงกั
√»“ นข้าม Lee and Smith (1996) โรงเรียนขนาดใหญ่ต่างหาก
µ
…
ที่มีความห่างเหินระหว่างนักเรี—¬ย‡°นและครู ทําให้ต้องลงทุนกับเจ้าหน้าที่ต่าง ๆ ทั้งครูที่ปรึกษา นักจิตวิทยา
“≈
เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภั
‘“«∑¬ ยมากกว่าโรงเรียนขนาดเล็ก
ประเภ
ส ร
¡À
∑‘ —≈
ทการ
/
↳แบ บ
ว
นอกจากนี
ŸÈ¥‘® ้จากการทําแบบสํารวจ (survey in large-scale) ครั้งใหญ่ในสหรัฐอเมริกาเกี่ยวกับ
√
¡
“งเรียนโดยเฉพาะ (Elliott 1998, Ferguson 1991, Wenglinsky 1997) และใช้วิธี meta«
ขนาดห้
อ
§
§≈—ß วิเคราะห์ผลการทดลองเกี่ยวกับขนาดห้องเรียนในช่วงปี 1970s (Educational Research
analysis
Service 1980, Glass et al 1982, Glass & Smith 1979, Hedge
& Stock
รวมถึงการทดลองใน
À¡¥Õ“¬ÿ
«—π∑’1983)
Ë 06-11-2566
หลายรัฐ เช่น Indiana’s Project Prime Time (McGivern & Gilman & Tillitski 1989), Tennessee’s
Project STAR (Krueger & Whitmore 2001, Finn & Gerber 2001), Wisconsin’s SAGE Program
(Molnar et al 1999, 2000) และ California Class Size Reduction Program (Stecher &
Bohrnstedt & Kirst & McRobbie & Williams, 2001) ได้ข้อสรุปว่า ห้องเรียนขนาดเล็กโดยเฉพาะใน
ระดับประถมศึกษาลงมา ช่วยส่งเสริมผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่คงทน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในกลุ่มประชากร
ที่เสียเปรียบทางด้านการศึกษา (Bruce J. Biddle and David C. Berliner 2001) และ Bourke (1986)
ำ
นิ
18
19
ได้ศึกษาและติดตามการสอนของครู 5 คน เป็นเวลา 63 ปี ชี้ให้เห็นว่าห้องเรียนขนาดเล็กนั้น ทําให้ครู
สามารถปรับการเรียนการสอนเพื่อใช้ข้อได้เปรียบของห้องเรียนขนาดเล็กได้ เช่นเดียวกับ Howley (2000)
ได้สังเคราะห์งานวิจัยหลายเรื่องในประเทศสหรัฐอเมริกาและได้ข้อสรุปที่ว่าโรงเรียนขนาดใหญ่ไม่ได้ดีกว่า
โรงเรียนขนาดเล็กเสมอไป ทั้งโรงเรียนขนาดใหญ่บางแห่งยังมีขนาดใหญ่เกินไปที่จะจัดการเรียนการสอนได้
อย่างมีประสิทธิภาพ ในขณะที่ความต้องการโรงเรียนขนาดเล็กแพร่หลายมากขึ้น และโรงเรียนขนาดเล็กมี
คุณค่าต่อชุมชน ที่มีไม่ได้มีฐานะร่ํารวย ซึ่งสอดคล้องกับ Nguyen (2004) ที่พบว่าโรงเรียนขนาดเล็ก
สามารถพัฒนาผู้เรียนให้มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่สูงขึ้นได้โดยเฉพาะในกลุ่มนักเรียนอัฟริกันอเมริกัน อีก
ทั้งโรงเรียนขนาดเล็กโดยทั่วไปจะมีสภาพแวดล้อมที่ดีและปลอดภัย และช่วยเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับ
ชุมชนด้วย
อย่างไรก็ตาม ประโยชน์และความสําคัญของโรงเรียนขนาดเล็ก ซึ่งนักวิจัยและนักการศึกษา เช่น
Howley (2000) ได้เสนอให้คงมีโรงเรียนขนาดเล็กไว้เพื่อประโยชน์ของชุมชนที่มีฐานะการเงินค่อนข้างต่ํา
และชุมชนชนบท ไม่สร้างโรงเรียนขนาดใหญ่มาก และอย่าหลงเชื่อว่าโรงเรียนขนาดใหญ่มีประสิทธิภาพ
เสมอไปเพราะมั กทํา ให้เ กิดปั ญ หา เช่ น การเลือกอาชี พ การต่ อต้ า นการคิด อย่ า งมีเ หตุ ผ ล และอื่ น ๆ
นอกจากนี้ โรงเรียนขนาดเล็กยังมีปัจจัยที่เอื้ออํานวยต่อการบริหารและจัดการศึกษาอย่างมีประสิทธิภาพใน
หลายด้าน เช่น ความสามารถในการปกครองบริหารงานเอง ทําให้สามารถตั้งเป้าหมายและวิสัยทัศน์ที่
สอดคล้องกับชุมชนและลักษณะของผู้เรียนในท้องถิ่น ตลอดจนมีตารางการทํางานที่ยืดหยุ่น รู้จักนักเรียน
√จÏ กรรมการสอนที่เหมาะสมกับผู้เรียน และได้รับการสนับสนุน
เป็นอย่างดี สามารถกําหนดหลักสูตรและกิ
µ
“
และร่วมมือเป็นอย่างดีจากชุมชน (Cotton,
µ√» 2001 อ้างใน Nguyen, 2004)
“
…
°
‡
≈—¬
‘“ ∑¬ก ารพั ฒ นาโรงเรี ย นขนาดเล็ ก ให้ มี คุ ณ ภาพการศึ ก ษาดี ขึ้ น มาได้ อ าจใช้
ดั ง นั้ น หากจะมี
«
กระบวนการวิจัย—≈เชิ¡งÀปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม ซึ่งเป็นงานวิจัยเพื่อการพัฒนาเชิงพื้นที่ต้องอาศัยนักวิชาการ
‘®‘∑ อข่ายอีกจํานวนมาก ในขณะที่มหาวิทยาลัยยังไม่สามารถระดมนักวิจัยที่มีฝีมือมาทํางาน
และการสร้√าŸÈ¥งเครื
¡
ร่วมกั—ߧน«เพื“ ่อแก้ปัญหาของพื้นที่ได้อย่างเป็นระบบ (สีลาภรณ์ บัวสาย, 2555) ซึ่งโรงเรียนขนาดเล็กจะก้าว
≈
เดิ§นต่อไปได้นั้นทุกภาคส่วนต้องเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา การมีส่วนร่วมและรวมพลังในการจัด
การศึ ก ษาเพื่ อ ท้ อ งถิ่ น ไม่เ พี ย งเฉพาะงบประมาณที่ เ ป็ น ตั ว เงิÀ¡¥Õ“¬ÿ
น เท่ า นั้ น«แต่
ง ทรั พ ยากรทุ ก ด้ า น
—π∑’หË มายถึ
06-11-2566
ทั้งทรัพยากรบุคคล โดยเฉพาะภูมิปัญญาท้องถิ่นที่มาเป็นครู ทรัพยากรแหล่งเรียนรู้ใกล้ตัวที่ทําให้การ
เรียนรู้ของนักเรียนมีความหมาย และเป็นการจัดการศึกษาที่ไม่ทําให้แยกจากวิถีชีวิต ทักษะอาชีพในท้องถิ่น
เป็นการจัดดารศึกษาเพื่อท้องถิ่นให้กับคนในชุมชนที่ไม่หลุดลอยจากรากเหง้าของตนเอง เครือข่ายการ
เรี ย นรู้ ข องโรงเรี ย นขนาดเล็ ก จะเป็ น เครื่ อ งมื อ ที่ สํ า คั ญ ในการแลกเปลี่ ย นเรี ย นรู้ เ พื่ อ ร่ ว มคิ ด ร่ ว มทํ า
(ประโยชน์ คุปกาญจนากุล และคณะ, 2554)
20
คณะผู้วิจัยเห็นด้วยกับแนวความคิดดังกล่าว ดังนั้นเพื่อให้เกิดการสานต่อและการพัฒนาคุณภาพ
การศึกษาของโรงเรียนขนาดเล็กได้อย่างมีประสิทธิภาพและสําเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดีนั้นจะต้องอาศัยทุกภาค
ส่วนเข้ามามีส่วนร่วม ดังนั้นโครงการวิจัยและพัฒนาแบบมีส่วนร่วมเพื่อส่งเสริมการปลูกผักปลอดภัยสําหรับ
อาหารกลางวันของโรงเรียนขนาดเล็กจะช่วยหนุนเสริมโรงเรียนอีกโครงการหนึ่ง ซึ่งโครงการวิจัยการสร้าง
เครือข่ายความร่วมมือพหุภาคีเพื่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนขนาดเล็กจังหวัดนครปฐม
พบว่า โรงเรียนมีความต้องการให้สนับสนุนอาหารกลางวันและให้เด็กนักเรียนได้เรียนรู้ไปด้วย จึงเป็นการต่อ
ยอดการวิจัยเชิงพื้นที่ให้เกิดความต่อเนื่องได้เป็นอย่างดี โดยมีนักวิชาการจากมหาวิทยาลัยในพื้นที่เป็นแกน
หลักในการขับเคลื่อน ซึ่งอาจเขียนเป็นกรอบแนวคิดในการวิจัยดังภาพ
กรอบแนวความคิดในการวิจัย
มหาวิทยาลัย
ชุมชน
อาหารกลางวันของโรงเรียนขนาดเล็ก
√Ï
µ
“
µ√»
…
‡°
โรงเรียน “≈—¬
«“ ‘∑¬
หน่วยงานอื่น ๆ
À
¡
‘∑—≈
‘®
√ŸÈ¥
¡
“
—≈ߧ«
§
สุขภาพเด็กนักเรียน
คิ
ฮิ
กรอบ
À¡¥Õ“¬ÿ«—π∑’Ë 06-11-2566
แนว ิต นอเง าบ โ
บทที่ 3
วิธีดําเนินการวิจัย
ลุ
ก
เร
ต เ
น การ บ
บกา
างๆ
อ
บ
วย
การวิจัยครั้งนี้ใช้วิธีการวิจัยเชิงปฏิบัติการ (Action Research) มีขั้นตอนและการดําเนินการวิจัยดังนี้
# 1. สํารวจพื้นที่ที่เหมาะสมในการใช้ปลูกพืชผัก และสํารวจความต้องการเครื่องมืออุปกรณ์ต่าง ๆ หลังจากนั้น
ดําเนินการพัฒนาปรับปรุงดินและพื้นที่ให้เป็นแปลงสําหรับการปลูกพืชผัก
* 2. ทดลองปลูกผักปลอดภัยสําหรับอาหารกลางวัน โดยการร่วมกันคิดเพื่อกําหนดชนิดพืชผักที่จะปลูก
ระหว่างนักเรียน ครู และคณะผู้วิจัย หลังจากนั้นทําการปลูกพืชผักตามความสนใจของแต่ละโรงเรียน
&3. ติดตามดูผลการทดลองปลูกผักปลอดภัย รวมทั้งปัญหาอุปสรรคในการดําเนินการปลูกผักของแต่ละ
โรงเรียน
·4. การสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องการปลูกปลอดภัยให้กับครูและนักเรียนโรงเรียนขนาดเล็ก
ทั้ง 6 โรงเรียน โดยการพูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดกับคณะผู้วิจัย
& 5. สรุปบทเรียนและสะท้อนผลการดําเนินโครงการ โดยการจัดประชุมสัมมนาครู ตัวแทนผู้ปกครอง
ตัวแทนนักเรียน และนักวิจัย
กลุ่มเป้าหมายและพืน้ ที่ในการดําเนินการ
กลุ่ ม เป้า หมาย คื อ ครู แ ละนัก เรี ย นในโรงเรี ย นขนาดเล็ก จํ า นวน 6 โรงเรี ยน ซึ่ ง อยู่ ใ นพื้ นที่ ตํ า บล
√Ï
กําแพงแสน ตําบลวังน้ําเขียว และตําบลทุ่ง“ลูกµนก อําเภอกําแพงแสน จังหวัดนครปฐม ได้แก่
»
1. โรงเรียนวัดทุ่งกระพังโหม …µ√ ตําบลกําแพงแสน
‡° ตําบลวังน้ําเขียว
¬
—
2. โรงเรียนบ้านดอนซาก
≈
¬“
∑
‘
«
3. โรงเรียนวัดไร่Àแ“ตงทอง
ตําบลทุ่งลูกนก
¡
—≈ านอ้อกระทุง
4. โรงเรียนบ้
ตําบลทุ่งลูกนก
∑
‘
®
‘
√ŸÈ¥ยนวัดหนองจิก
5. โรงเรี
ตําบลทุ่งลูกนก
¡
“
«
ตําบลทุ่งลูกนก
≈—ß6.§ โรงเรียนวัดห้วยผักชี
&
·ส
§
À¡¥Õ“¬ÿ«—π∑’Ë 06-11-2566
ธี
ชิ้
จั
วิ
ำ
ธี
ธิ
ภาพแสดงที่ตงั้ ของพืน้ ที่ในการดําเนินการ
ป็
ต่
วิ
6
ก
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
-เค อ
เม
อ
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย แบบสัมภาษณ์ แบบสังเกต และใบความรู้เกี่ยวกับการปลูกผัก
ปลอดภัยที่ผู้วิจัยจัดทําขึ้น จํานวน 13 เรื่อง ๆ ละ 1 หน้ากระดาษ เพื่อให้สามารถอ่านได้ง่ายและเหมาะสมกับ
นักเรียนระดับประถมศึกษา ในส่วนของแบบสัมภาษณ์เป็นคําถามแบบกว้าง ๆ เกี่ยวกับความต้องการในการ
พัฒนาพื้นที่หรือแปลงปลูกผัก ความสนใจที่จะปลูกผักต่าง ๆ และปัญหาอุปสรรคในการดําเนินการปลูกผัก
ส่วนแบบสังเกตจะทําการสังเกตพื้นที่ที่ใช้ในการปลูกผักการเปลี่ยนแปลงและการเจริญเติบโตของผัก รวมทั้ง
สังเกตพฤติกรรมของเด็กนักเรียนและครูในแต่ละโรงเรียน
-> บอกเ ยว บการเ บ อ ล การ างๆ เ
การเก็บรวบรวมข้อมูล
เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้วิธีการสังเกตและการสัมภาษณ์พูดคุยผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการดําเนินการ
ปลูกผักปลอดภัยของแต่ละโรงเรียน ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา ครู และนักเรียน หลังจากนั้นเก็บรวบรวมข้อมูล
เพิ่มเติมโดยการลงพื้นที่ภาคสนามเพื่อติดตามผลการดําเนินการปลูกผักปลอดภัย มีการเสริมสร้างความรู้ความ
เข้าใจในการปลูกผักปลอดภัยให้กับครูและนักเรียนโดยใช้ใบความรู้ รวมทั้งการประชุมสัมมนาเพื่อสรุปบทเรียน
และสะท้อนผลการดําเนินโครงการ ได้แก่ ครู ตัวแทนผู้ปกครอง ตัวแทนนักเรียน และนักวิจัย
√Ï
µ
“
µ√»
…
‡°
—¬
“≈
‘“«∑¬
À
¡
‘∑—≈
‘®
√ŸÈ¥
¡
“
—≈ߧ«
ภาพแสดงการสัมภาษณ์ในการการเก็บรวบรวมข้อมูล
§
À¡¥Õ“¬ÿ«—π∑’Ë 06-11-2566
การตรวจสอบและวิเคราะห์ข้อมูล
->
ต่
ธี
วิ
มู
ข้
ก็
กั
กี่
ภายหลังการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้นําข้อมูลเชิงคุณภาพที่ได้มาดําเนินการตรวจสอบและวิเคราะห์
ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหา (Content analysis) หลังจากนั้นนําเสนอข้อมูลโดยการพรรณนาความ
ประกอบรูปภาพและการบรรยาย เพื่อสะท้อนให้เห็นถึงความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในพื้นที่ของแต่ละโรงเรียน
และสร้างข้อสรุปให้เห็นถึงกระบวนการพัฒนาพื้นที่และการทดลองปลูกผักปลอดภัย รวมทั้งการสร้างความรู้
ความเข้าใจในการปลูกผักปลอดภัยสําหรับอาหารกลางวันของโรงเรียนขนาดเล็กในแต่ละโรงเรียน
รื่
มื
22
ผลการวิจัยได้นําเสนอข้อมูลโดยการพรรณนาประกอบรูปภาพและการบรรยายให้เห็นถึงความ
เปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในพื้นที่ของแต่ละโรงเรียน โดยแบ่งออกเป็น 2 ตอน ตามวัตถุประสงค์การวิจัย ดังนี้
ตอนที่ 1 การพัฒนาพื้นที่ การทดลอง และการติดตามผลการปลูกผัก
ตอนที่ 2 การสร้างความรู้ความเข้าใจการปลูกผักปลอดภัยให้กับครูและนักเรียน
ตอนที่ 3 สรุปบทเรียนและสะท้อนผลการดําเนินโครงการ
ตอนที่ 1 การพัฒนาพืน้ ที่ การทดลอง และการติดตามผลการปลูกผัก
-- การทดลอง
พ
ืน
↳ตาม
ของ ธร
1. โรงเรียนวัดทุ่งกระพังโหม
คณะผู้วิจัยได้เริ่มเข้าไปที่โรงเรียนวัดทุ่งกระพังโหม ตําบลกําแพงแสน เมื่อวันที่ 6 สิงหาคม 2558
ซึ่งอยู่ไม่ไกลไปจากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์มากนัก ได้พูดคุยกับครูของโรงเรียนวัดทุ่งกระพังโหม ซึ่งมีครู
ประจําการ จํานวน 4 คน ครูอัตราจ้าง จํานวน 2 คน และผู้อํานวยการโรงเรียน รวมทั้งหมด จํานวน 7 คน
มีนักเรียน จํานวน 60 คน โรงเรียนอยู่ติดถนนใหญ่และติดกับวัดทุ่งกระพังโหม มีแปลงสําหรับการปลูกผัก
แต่ไม่ได้ดําเนินการปลูก โดยครูมีความต้องการพัฒนาพื้นที่ปลูกผักโดยการซื้อดินดีมาใส่แปลงปลูกผักก่อน
และต้องการปุ๋ยขี้ไก่หรือปุ๋ยไส้เดือน รวมทัµ้ง√ต้Ï องการอุปกรณ์ในการทําแปลงผักเพิ่มเติม ได้แก่ ถังน้ําสําหรับ
“ ํา ฟาง ปุ๋ยมะพร้าว โดยครูมีความสนใจที่จะปลูกผักที่มีอายุสั้น
ใส่น้ํารดผักแบบมีฝาปิดกันยุงมาไข่µบั√»วรดน้
…
สามารถทําเป็นอาหารกลางวัน—¬สํ‡°าหรับเด็กนักเรียนได้ เช่น ผักบุ้ง กวางตุ้ง เป็นต้น นอกจากนี้ยังสนใจปลูก
“≈
มะนาวในรองน้ํา โดยใช้«พ‘∑ื้น¬ที่ด้านข้างของโรงเรียน ดังภาพ
“
À
≈— ¡
‘∑
®
‘
Ÿ
¥
È
¡√
“
«
§
≈—ß
§
À¡¥Õ“¬ÿ«—π∑’Ë 06-11-2566
ภาพพืน้ ที่แปลงปลูกผักก่อนดําเนินการ
พี
ตั
บทที่ 4
ผลการวิจัย
24
หลังจากนั้นครูและนักเรียนโรงเรียนวัดทุ่งกระพังโหม ได้ร่วมกันพัฒนาพื้นที่แปลงปลูกผักโดยการ
ดายหญ้าออก นําล้อยางรถยนต์มาวางและซื้อดินมาใส่เพื่อใช้เป็นพื้นที่ปลูกผัก เนื่องจากดินในบริเวณนี้ไม่ดี
ผลที่เกิดขึ้นทําให้ได้แปลงปลูกผัก ดังภาพ
√Ï
µ
“
µ√»
…
‡°
—¬
“≈
‘“«∑¬
À
¡
‘∑—≈
‘®
√ŸÈ¥
¡
“
—≈ߧ«
§
À¡¥Õ“¬ÿ«—π∑’Ë 06-11-2566
ภาพครูและนักเรียนร่วมกันพัฒนาพืน้ ที่แปลงปลูกผัก
25
ภายหลังจากที่โรงเรียนได้ดําเนินการพัฒนาพื้นที่แปลงปลูกผักและทดลองปลูกผักต่าง ๆ ตามความ
ต้องการของโรงเรียนไปได้ระยะหนึ่งประมาณ 1 เดือนเศษ คณะผู้วิจัยได้ลงพื้นที่ติดตามการปลูกผักของ
โรงเรียนวัดทุ่งกระพังโหม พบว่า แปลงผักของโรงเรียนเจริญงอกงามดี รวมทั้งต้นมะนาวที่ปลูกในรองน้ํา
บริเวณหลังโรงเรียน ดังภาพ
√Ï
µ
“
µ√»
…
‡°
—¬
“≈
‘“«∑¬
À
¡
‘∑—≈
‘®
√ŸÈ¥
¡
“
—≈ߧ«
§
À¡¥Õ“¬ÿ«—π∑’Ë 06-11-2566
ภาพแปลงปลูกผักโรงเรียนวัดทุ่งกระพังโหม
26
2. โรงเรียนวัดไร่แตงทอง
คณะผู้วิจัยได้ไปที่โรงเรียนวัดไร่แตงทอง ตําบลทุ่งลูกนก อําเภอกําแพงแสน เมื่อวันที่ 7 สิงหาคม
2558 โรงเรียนนี้มีครูประจําการ จํานวน 2 คน ครูอัตราจ้าง จํานวน 4 คน และนักการ จํานวน 1 คน ไม่มี
ผู้อํานวยการโรงเรียน มีนักเรียนเหลืออยู่ประมาณ 40 กว่าคนเท่านั้น ซึ่งโรงเรียนยังไม่มีพื้นที่หรือแปลง
สําหรับการปลูกผัก แต่มีพื้นที่บริเวณด้านข้างโรงเรียนสามารถทําแปลงปลูกผักได้ จากการที่คณะวิจัยได้
พูดคุยกับครูโรงเรียนวัดไร่แตงทอง พบว่า มีความต้องการพัฒนาพื้นที่ปลูกผัก โดยการปรับปรุงดิน และมี
ความต้องการอุปกรณ์เพิ่มเติม ได้แก่ จอบ เสียม โดยครูมีความสนใจที่จะปลูกผักที่มีอายุสั้น สามารถทําเป็น
อาหารกลางวันสําหรับเด็กนักเรียนได้ เช่น ผักบุ้ง คะน้า กวางตุ้ง เป็นต้น ดังภาพ
√Ï
µ
“
µ√»
…
‡°
—¬
“≈
‘“«∑¬
À
¡
‘∑—≈
‘®
§
√ŸÈ¥
¡
“
—≈ߧ«
ภาพพืน้ ที่แปลงปลูกผักก่อนดําเนินการ
À¡¥Õ“¬ÿ«—π∑’Ë 06-11-2566
27
หลังจากนั้นครู นักเรียนและนักการของโรงเรียนวัดไร่แตงทอง ได้ร่วมกันพัฒนาพื้นที่แปลงปลูกผัก
โดยการขุดดินเพื่อยกร่องทําเป็นแปลงสําหรับปลูกผัก ในบริเวณด้านหน้าของโรงเรียนแทนพื้นที่ด้านข้างที่
เคยสํารวจไว้ ผลที่เกิดขึ้นทําให้ได้แปลงปลูกผัก ดังภาพ
√Ï
µ
“
µ√»
…
‡°
—¬
“≈
‘“«∑¬
À
¡
‘∑—≈
‘®
√ŸÈ¥
¡
“
—≈ߧ«
§
À¡¥Õ“¬ÿ«—π∑’Ë 06-11-2566
ภาพครู นักเรียนและนักการร่วมกันพัฒนาพื้นที่แปลงปลูกผัก
28
ภายหลังจากที่โรงเรียนได้ดําเนินการพัฒนาพื้นที่แปลงปลูกผักและทดลองปลูกผักต่าง ๆ ตามความ
ต้องการของโรงเรียนไปได้ระยะหนึ่งประมาณ 1 เดือนเศษ คณะผู้วิจัยได้ลงพื้นที่ติดตามการปลูกผักของ
โรงเรียนวัดไร่แตงทอง พบว่า ผักบุ้งและกวางตุ้ง มีลักษณะต้นเล็กและแคระแกรน ไม่ค่อยเจริญงอกงาม
เนื่องจากปลูกใต้ต้นไม้ใหญ่ ส่วนต้นกระชายและตะไคร้กําลังเจริญเติบโตงอกงามดี ดังภาพ
√Ï
µ
“
µ√»
…
‡°
“≈—¬ ภาพแปลงปลูกผักโรงเรียนวัดไร่แตงทอง
¬
“«‘∑
À
¡
‘∑—≈
‘®
√ŸÈ¥
¡
“
—≈ߧ«
§
À¡¥Õ“¬ÿ«—π∑’Ë 06-11-2566
29
ในระยะต่อมาหลังจากครูและนักเรียนได้เรียนรู้ร่วมกันถึงปัญหาการปลูกผักใต้ต้นไม้ จึงได้ย้าย
แปลงปลูกผักไปปลูกในพื้นที่ที่มีแสงแดดมากขึ้น ผลที่เกิดขึ้น ทําให้ได้ผักที่เจริญงอกงามดี มีปริมาณมาก
เกินไปสําหรับการทําอาหารกลางวันของโรงเรียน ครูและนักเรียนจึงได้ช่วยกันเก็บผักไปขายให้ร้านค้า
ในชุมชน ซึ่งนักเรียนได้เรียนรู้การขาย โดยการนําของที่เหลือกินไปขายเพื่อเปลี่ยนเป็นสินทรัพย์ได้ ดังภาพ
√Ï
µ
“
µ√»
…
‡°
—¬
“≈
‘“«∑¬
À
¡
‘∑—≈
‘®
√ŸÈ¥
¡
“
—≈ߧ«
§
À¡¥Õ“¬ÿ«—π∑’Ë 06-11-2566
ภาพแปลงปลูกผักและการขายผักของนักเรียนโรงเรียนวัดไร่แตงทอง
30
3. โรงเรียนบ้านอ้อกระทุง
คณะผู้วิจัยได้ไปที่โรงเรียนบ้านอ้อกระทุง ตําบลทุ่งลูกนก อําเภอกําแพงแสน เมื่อวันที่ 7 สิงหาคม
2558 โรงเรียนนี้มีครูประจําการ จํานวน 2 คน ครูอัตราจ้าง 4 คน นักการ 1 คน ไม่มีผู้อํานวยการโรงเรียน
มีนักเรียนเหลืออยู่ประมาณ 40 กว่าคน พื้นที่ของโรงเรียนมีความพร้อมสําหรับการปลูกผัก มีแปลงปลูกผัก
บ่อเลี้ยงปลาและเล้าไก่อยู่แล้ว แต่ไม่มีการดําเนินการใด ๆ เนื่องจากหมากัดไก่ตายไปหมดแล้ว จากการที่ได้
พูดคุยกับครูเพื่อสอบถามความต้องในการพัฒนาพื้นที่ปลูกผัก ครูบอกว่าอยากจะปรับปรุงดินโดยซื้อดินดี ๆ
มาใส่ในแปลงปลูกผัก ซึ่งคณะผู้วิจัยได้แนะนําว่าให้เจาะรูเพื่อระบายน้ําออกจากแปลงผักบ้าง เนื่องจากน้ํา
ไม่สามารถระบายออกจากแปลงผักได้และใต้แปลงผักเป็นพื้นปูนเก่าของโรงเรียน นอกจากนี้ยังมีความสนใจ
ทําปุ๋ยหมักใบ้ไม้ โดยการคัดแยกขยะออกจากใบไม้ และมีความต้องการอุปกรณ์เพิ่มเติม ได้แก่ บัวรดน้ํา
ซ่อมแซมเล้าไก่และมุ้งแปลงผัก โดยมีความสนใจที่จะปลูกผักที่มีอายุสั้น สามารถทําเป็นอาหารกลางวัน
สําหรับเด็กนักเรียนได้ เช่น ผักบุ้ง คะน้า เป็นต้น โดยใช้พื้นที่เดิมบริเวณด้านหน้าของโรงเรียน ดังภาพ
√Ï
µ
“
µ√»
…
‡°
—¬
“≈
‘“«∑¬
À
¡
‘∑—≈
‘®
√ŸÈ¥
¡
“
—≈ߧ«
§
À¡¥Õ“¬ÿ«—π∑’Ë 06-11-2566
ภาพพืน้ ที่แปลงปลูกผักและบ่อเลี้ยงปลาก่อนดําเนินการ
31
หลังจากนั้นครู นักเรียนและนักการของโรงเรียนบ้านอ้อกระทุง ได้ร่วมกันพัฒนาพื้นที่แปลงปลูกผัก
โดยการขุดดินในแปลงเดิมสําหรับใช้ปลูกผักและทําปุ๋ยหมักใบ้ไม้ ผลที่เกิดขึ้นทําให้ได้แปลงปลูกผัก ดังภาพ
√Ï
µ
“
µ√»
…
‡°
—¬
“≈
‘“«∑¬
À
¡
‘∑—≈
‘®
√ŸÈ¥
¡
“
—≈ߧ«
§
À¡¥Õ“¬ÿ«—π∑’Ë 06-11-2566
ภาพครูและนักเรียนร่วมกันพัฒนาพืน้ ที่แปลงปลูกผัก
32
ภายหลังจากที่โรงเรียนได้ดําเนินการพัฒนาพื้นที่แปลงปลูกผักและทดลองปลูกผักต่าง ๆ ตามความ
ต้องการของโรงเรียนไปได้ระยะหนึ่งประมาณ 1 เดือนเศษ คณะผู้วิจัยได้ลงพื้นที่ติดตามการปลูกผักของโรงเรียน
บ้านอ้อกระทุง พบปัญหาเช่นเดียวกับโรงเรียนวัดไร่แตงทอง คือ ผักแคระแกรน ไม่ค่อยโต และต้นมะนาว
เป็นโรคแครงเกอร์ที่ใบ ส่วนใบกระเพรา กระชาย ฟักทอง คะน้า กวางกุ้ง เจริญเติบโตดีมากและสามารถ
เก็บมาทําอาหารกลางวันและแจกจ่ายได้ ส่วนการเลี้ยงปลาดุก เริ่มเจริญเติบโต แต่น้ําในบ่อเลี้ยงมีน้ําน้อย
เกินไป ดังภาพ
√Ï
µ
“
µ√»
…
‡°
—¬
“≈
‘“«∑¬
À
¡
‘∑—≈
‘®
√ŸÈ¥
¡
“
—≈ߧ«
§
À¡¥Õ“¬ÿ«—π∑’Ë 06-11-2566
ภาพแปลงปลูกผักและบ่อเลีย้ งปลาดุกโรงเรียนบ้านอ้อกระทุง
33
4. โรงเรียนห้วยผักชี
คณะวิจัยได้ไปที่โรงเรียนวัดห้วยผักชี ตําบลทุ่งลูกนก อําเภอกําแพงแสน เมื่อวันที่ 11 สิงหาคม
2558 โรงเรียนนี้มีครูประจําการ จํานวน 4 คน ครูอัตราจ้าง จํานวน 1 คน มีผู้อํานวยการโรงเรียนและ
แม่บ้านคอยทําอาหารให้นักเรียน มีนักเรียน จํานวน 58 คน พื้นที่ของโรงเรียนค่อนข้างพร้อมในการปลูกผัก
ซึ่งมีการทําแปลงไว้แล้วแต่ยังไม่ได้มีการปลูก คณะผู้วิจัยได้พูดคุยกับผู้อํานวยการโรงเรียนเพื่อสอบถาม
ความต้องการพัฒนาพื้นที่ปลูกผัก ผู้อํานวยการบอกว่าจะปรับปรุงดินเล็กน้อย โดยใส่ปุ๋ยหมักซึ่งมีอยู่แล้ว
หลังจากนั้นจะปลูกผัก เช่น ผักบุ้ง กวางตุ้ง ฟัก มะละกอ เป็นต้น และจะเลี้ยงปลาดุก นอกจากนี้มีความ
ต้องการอุปกรณ์เพิ่มเติม ได้แก่ จอบ สายยาง โดยใช้พื้นที่บริเวณด้านหลังของอาคารเรียน ดังภาพ
√Ï
µ
“
µ√»
…
‡°
—¬
“≈
‘“«∑¬
À
¡
‘∑—≈
‘®
√ŸÈ¥
¡
“
—≈ߧ«
§
À¡¥Õ“¬ÿ«—π∑’Ë 06-11-2566
ภาพพืน้ ที่แปลงปลูกผักก่อนดําเนินการ
34
หลังจากนั้นครูและนักเรียนโรงเรียนวัดห้วยผักชี ได้ร่วมกันพัฒนาพื้นที่แปลงปลูกผักโดยการดาย
หญ้าออกและขุดดินในแปลง นอกจากนี้ยังได้ทําบ่อเลี้ยงปลาดุกโดยก่อปูนซีเมนต์บริเวณที่ว่างตรงโรงจอด
รถยนต์ ผลที่เกิดขึ้นทําให้ได้แปลงปลูกผักและบ่อเลี้ยงปลาดุก ดังภาพ
√Ï
µ
“
µ√»
…
‡°
—¬
“≈
‘“«∑¬
À
¡
‘∑—≈
‘®
√ŸÈ¥
¡
“
—≈ߧ«
§
À¡¥Õ“¬ÿ«—π∑’Ë 06-11-2566
ภาพครูและนักเรียนร่วมกันพัฒนาพืน้ ที่แปลงปลูกผักและบ่อเลี้ยงปลาดุก
35
ภายหลังจากที่โรงเรียนได้ดําเนินการพัฒนาพื้นที่แปลงปลูกผักและทดลองปลูกผักต่าง ๆ ตามความ
ต้องการของโรงเรียนไปได้ระยะหนึ่งประมาณ 1 เดือนเศษ คณะผู้วิจัยได้ลงพื้นที่ติดตามการปลูกผักของ
โรงเรียนวัดห้วยผักชี พบว่า แปลงผักมีการเจริญเติบโตงอกงามดีมาก ส่วนปลาดุกที่เลี้ยงไว้ ประมาณ 1,000 ตัว
เริ่มเจริญเติบโต ซึ่งภายหลังที่จับมากินได้และเหลือจากการใช้ทําอาหารกลางของโรงเรียน ผู้อํานวยการ
โรงเรียนได้แจกให้นักเรียนนํากลับไปกินที่บ้านอีกด้วย ดังภาพ
√Ï
µ
“
µ√»
…
‡°
—¬
“≈
‘“«∑¬
À
¡
‘∑—≈
‘®
√ŸÈ¥
¡
“
—≈ߧ«
§
À¡¥Õ“¬ÿ«—π∑’Ë 06-11-2566
ภาพแปลงปลูกผักและปลาดุกโรงเรียนวัดห้วยผักชี
36
5. โรงเรียนวัดหนองจิก
คณะผู้วิจัยได้ไปที่โรงเรียนวัดหนองจิก ตําบลทุ่งลูกนก อําเภอกําแพงแสน วันที่ 10 สิงหาคม 2558
พบว่า แปลงปลูกผักของโรงเรียนมีความพร้อมมาก มีโดมใหญ่ที่สามารถปลูกผักที่เลื้อยเป็นเถาได้ ซึ่งเคย
ปลูกบวบและผักอื่น ๆ แต่ตายไปหมดแล้ว นอกจากนี้ยังมีการปลูกพริก ตะไคร้ และผักสวนครัวอยู่หลาย
ชนิด มีโรงเลี้ยงไก่ไข่ ซึ่งบริษัทซีพีเคยมาดําเนินการให้ แต่ได้หยุดการเลี้ยงไป ซึ่งผู้อํานวยการโรงเรียนมี
ความสนใจที่จะเลี้ยงไก่ต่อไป รวมทั้งการปลูกพืชผักสวนครัวต่าง ๆ และมีความต้องการอุปกรณ์เพิ่มเติม
ได้แก่ จอบ เสียม รถเข็น บัวรดน้ํา คราด กรรไกร เป็นต้น สภาพของพื้นที่ดําเนินการ ดังภาพ
√Ï
µ
“
µ√»
…
‡°
—¬
“≈
‘“«∑¬
À
¡
‘∑—≈
‘®
√ŸÈ¥
¡
“
—≈ߧ«
§
À¡¥Õ“¬ÿ«—π∑’Ë 06-11-2566
ภาพพืน้ ที่แปลงปลูกผักก่อนดําเนินการ
37
หลังจากนั้นครูและนักเรียนโรงเรียนวัดหนองจิก ได้ร่วมกันพัฒนาพื้นที่ที่จะดําเนินการเพิ่มเติม
โดยการซื้อรองน้ํามาปลูกต้นแก้วมังกรและมะนาว มีการดายหญ้า ปลูกผัก และซื้อไก่ไข่มาเลี้ยง ดังภาพ
√Ï
µ
“
µ√»
…
‡°
—¬
“≈
‘“«∑¬
À
¡
‘∑—≈
‘®
√ŸÈ¥
¡
“
—≈ߧ«
§
À¡¥Õ“¬ÿ«—π∑’Ë 06-11-2566
ภาพครูและนักเรียนร่วมกันพัฒนาพืน้ ที่แปลงปลูกผัก
38
ภายหลังจากที่โรงเรียนได้ดําเนินการพัฒนาพื้นที่แปลงปลูกผักและทดลองปลูกผักต่าง ๆ ตามความ
ต้องการของโรงเรียนไปได้ระยะหนึ่ง คณะผู้วิจัยได้ลงพื้นที่ติดตามการปลูกผักของโรงเรียนวัดหนองจิก ผลที่
เกิดขึ้น พบว่า โรงเรียนได้แบ่งพื้นที่กันรับผิดชอบ ดังนี้ 1) โซนเด็กอนุบาล ปลูกผักในกระถาง 2) โซนแปลง
ผักเดิม ปลูกพริก ถั่ว ฟัก บวบ เลี้ยงไก่ 3) โซนหลังโรงจอดรถรถ ปลูกพืชสมุนไพร ใบเตย อันชัน กระเจี๊ยบ
ขิง ข่า 4) โซนสนามฟุตบอลปลูกแก้วมังกรและมะนาว ซึ่งพืชผักได้เจริญเติบโตงอกงามดีและไก่ออกไข่
นํามารับประทานได้แล้ว ดังภาพ
√Ï
µ
“
µ√»
…
‡°
—¬
“≈
‘“«∑¬
À
¡
‘∑—≈
‘®
√ŸÈ¥
¡
“
—≈ߧ«
§
À¡¥Õ“¬ÿ«—π∑’Ë 06-11-2566
ภาพแปลงปลูกผักและไข่ไก่โรงเรียนวัดหนองจิก
39
6. โรงเรียนบ้านดอนซาก
คณะวิจัยได้ไปที่โรงเรียนบ้านดอนซาก ตําบลวังน้ําเขียว อําเภอกําแพงแสน วันที่ 6 สิงหาคม 2558
โรงเรียนนี้มีครูประจําการ จํานวน 7 คน และมีผู้อํานวยการโรงเรียน มีนักเรียนประมาณ 120 คน โรงเรียน
มีพื้นที่ในการปลูกผัก ซึ่งได้มีการปลูกผักไปบ้างแล้ว เช่น ผักบุ้ง จากการที่คณะผู้วิจัยได้พูดคุยกับครูเพื่อ
สอบถามความต้องการในการพัฒนาพื้นที่ปลูกผักนั้น พบว่า มีความต้องการปรับปรุงดินในแปลงปลูกผัก
และต้องการอุปกรณ์เพิ่มเติม ได้แก่ บัวรดน้ํา รองปลูกมะนาว โดยครูมีความสนใจที่จะปลูกผักที่มีอายุสั้น
สามารถทําเป็นอาหารกลางวันสําหรับเด็กนักเรียนได้ เช่น ผักบุ้ง กวางตุ้ง เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีความ
สนใจที่จะปลูกมะนาวในรองน้ําด้วย โดยใช้พื้นที่ด้านหลังของอาคารเรียน ดังภาพ
√Ï
µ
“
µ√»
…
‡°
—¬
“≈
‘“«∑¬
À
¡
‘∑—≈
‘®
§
√ŸÈ¥
¡
“
—≈ߧ«
ภาพพืน้ ที่แปลงปลูกผักก่อนดําเนินการ
À¡¥Õ“¬ÿ«—π∑’Ë 06-11-2566
40
ภายหลังจากที่คณะผู้วิจัยได้พูดคุยกับทางโรงเรียนผ่านไปแล้ว ประมาณ 2 เดือนเศษ และได้ลง
พื้นที่เพื่อทําการติดตามการปลูกผักของโรงเรียนบ้านดอนซาก ผลที่เกิดขึ้น พบว่า โรงเรียนมีการปลูกผัก
เพียงเล็กน้อยและได้มีการซื้อต้นมะนาวมาปลูกด้านหลังอาคารของโรงเรียน จํานวน 6 ต้น เท่านั้น ซึ่งมี
ความแตกต่างกับอีก 5 โรงเรียนที่กล่าวมา ดังภาพ
ภาพแปลงปลูกผักโรงเรียนบ้านดอนซาก
ดังนั้นคณะผู้วิจัยจึงขอยุติการดําเนินการในโครงการวิจัยและพัฒนาการปลูกพืชผักปลอดภัยของ
โรงเรียนบ้านดอนซาก เนื่องจากโรงเรียนมีภารกิจอื่น ๆ มาก เพราะไม่สามารถดําเนินการตามกระบวนการ
และขั้นตอนของการวิจัยในโครงการนี้ได้
√Ï
µ
“
µ√»
…
‡°
—¬
“≈
‘“«∑¬
À
¡
‘∑—≈
‘®
√ŸÈ¥
¡
“
—≈ߧ«
§
À¡¥Õ“¬ÿ«—π∑’Ë 06-11-2566
ตอนที่ 2 ปัญหาอุปสรรคและการสร้างความรู้ความเข้าใจการปลูกผัก
การสร้างความรู้ความเข้าใจในการปลูกผักปลอดภัยให้กับครูและนักเรียน คณะผู้วิจัยได้ดําเนินการ
ในระหว่างการลงพื้นที่เพื่อติดตามผลการปลูกผัก มีการสอบถามถึงปัญหาอุปสรรคและให้คําแนะนําแก่ครูที่
รับผิดชอบ รวมทั้งมีการสร้างความรู้ความเข้าใจให้กับครูและเด็กนักเรียนหรือผู้อํานวยการโรงเรียนในแต่ละ
โรงเรียน ดังนี้
* การส างความรู้
ม อ นา
เมะ
ุยเ
1. โรงเรียนวัดทุ่งกระพังโหม
ญห าภาพใน เร ่า
การปลูกผักของโรงเรียนวัดทุ่งกระพังโหม พบว่า มีการปลูกต้นกวางตุ้งแน่นเกินไป เนื่องจาก
นักเรียนใส่เมล็ดผักมากไป ผู้วิจัยได้ให้คําแนะนําโดยการให้ถอนออกไปปลูกในกระถางหรือถุงพลาสติกบ้าง
ส่วนผักบุ้งเจริญงอกงามดีเช่นกัน แต่นักเรียนอาจรดน้ําน้อยเกินไป ทําให้ดินแข็งมาก ซึ่งได้แนะนําให้รดน้ํา
มากกว่านี้ และยังพบอีกว่าดินที่ใช้ปลูกผักบุ้งไม่ค่อยดี ควรใส่ขุยมะพร้าวเพื่อช่วยรักษาความชุ่มชื่นของดิน
ในส่วนของต้นมะนาวที่ปลูกไว้ พบว่า ตายไป จํานวน 4 ต้น ซึ่งอาจเกิดจากรากสะเทือนในตอนที่ปลูกลงดิน
นอกจากนี้คณะผู้วิจัยได้มีการให้ความรู้ความเข้าใจการปลูกผักแก่เด็กนักเรียน และมีการบูรณาการระหว่าง
วิชาภาษาอังกฤษกับวิชาเกษตร โดยการให้เด็กรู้จักคําศัพท์ของพืชผักบางชนิด ดังภาพ
ต
√Ï
µ
“
µ√»
…
‡°
—¬
“≈
‘“«∑¬
À
¡
‘∑—≈
‘®
√ŸÈ¥
¡
“
—≈ߧ«
§
À¡¥Õ“¬ÿ«—π∑’Ë 06-11-2566
ร้
ภาพการให้ความรู้ความเข้าใจการปลูกผักโรงเรียนวัดทุ่งกระพังโหม
คุ
ปั
41
42
2. โรงเรียนวัดไร่แตงทอง
การปลูกผักของโรงเรียนวัดไร่แตงทอง พบว่า ผักบุ้งและกวางตุ้ง มีลําต้นที่เล็ก แคระแกรน ไม่ค่อย
เจริญงอกงาม เนื่องจากมีการปลูกในที่ร่มใต้ต้นไม้ใหญ่ และมีการใช้สาร EM ในอัตราที่มากเกินไป
คณะผู้วิจัยได้ให้คําแนะนําว่า ควรย้ายแปลงผักไปปลูกในพื้นที่ที่มีแสงแดด ส่วนต้นกระชายสามารถปลูกใน
พื้นที่ร่มได้ โดยครูที่รับผิดชอบ บอกว่า อยากให้เด็กนักเรียนปลูกผักปลอดสารพิษและเอามากินเป็นอาหาร
และสิ่งที่สําคัญ คือ นักเรียนได้เรียนรู้และมีทักษะชีวิตต่อไปในอนาคต ซึ่งนักเรียนบางคนสามารถปลูกผัก
เป็นอาชีพได้ ในขณะที่ครูได้พยายามแนะนํานักเรียนว่าควรหยอดเมล็ดผักอย่างไร ผักแต่ละชนิดมีวิธีการ
ปลูกไม่เหมือนกัน การงอกและการปลูกให้เป็นแถวก็ไม่เหมือนกัน ซึ่งครูได้ใช้ท่อพีวีซีขนาดเล็กแทนเชือกวัด
และกดลงบนพื้นเพื่อให้เป็นเส้นตรงและขุดรูเล็ก ๆ หยอดเมล็ดผักลงไป ผู้วิจัยมีข้อสังเกตว่า นักเรียนมี
ความตั้งใจดีมาก ถ้ากระทรวงศึกษาธิการมีนโยบายลดเวลาเรียน เวลาที่เหลือสามารถให้นักเรียนทํา
กิจกรรมต่าง ๆ ได้ เช่น ปลูกผัก เล่นกีฬา เล่นดนตรี ซึ่งจะเป็นการพัฒนาศักยภาพของนักเรียนในทุก ๆ ด้าน
นอกจากนี้คณะผู้วิจัยได้ทําใบความรู้เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจในการปลูกผักปลอดภัยให้กับเด็กนักเรียน
ดังภาพ
√Ï
µ
“
µ√»
…
‡°
—¬
“≈
‘“«∑¬
À
‘®
¡
‘∑—≈
§
√ŸÈ¥
¡
“
—≈ߧ«
ภาพการให้ความรู้ความเข้าใจการปลูกผักโรงเรียนวัดไร่แตงทอง
3. โรงเรียนบ้านอ้อกระทุง
การปลูกผักของโรงเรียนบ้านอ้อกระทุง พบว่า ปัญหาเช่
นเดียวกับ«โรงเรี
นวัดไร่แตงทอง กล่าวคือ
À¡¥Õ“¬ÿ
—π∑’Ë ย06-11-2566
ผักแคระแกรน ไม่ค่อยโต ผู้วิจัยได้ให้คําแนะนําว่า ควรใส่ปุ๋ยสูตร 46-0-0 ประมาณ 2 อาทิตย์ต่อครั้ง
ส่วนใบกระเพรามีการเจริญเติบโตดีมากแต่ควรเด็ดดอกทิ้งบ้าง เพื่อไม่ให้สารอาหารไปเลี้ยงดอกมากเกินไป
ต้นกระชายปลูกไว้ในที่ร่มเจริญงอกงามดีมาก ต้นมะนาว พบปัญหา เป็นโรคแครงเกอร์ที่ใบ ซึ่งควรเด็ดใบที่
เป็นโรคออกและนําไปทิ้งไกล ๆ ต้นใบเตยมีการปลูกในกระถาง ได้แนะนําให้ย้ายไปปลูกในดินที่อยู่ใน
บริเวณใกล้น้ําหรือริมบ่อในร่ม คณะผู้วิจัยได้สังเกตเห็นว่า บริเวณริมรั้วของโรงเรียนอาจปลูกตะไคร้เพิ่มเติม
ในส่วนของการเลี้ยงหมูป่า จํานวน 2 ตัว พบว่า กระโดดหนีออกจากคอก ซึ่งได้แนะนําให้ทํารั้วที่แข็งแรงขึ้น
43
ส่วนปลาดุก พบว่า น้ําในบ่อมีน้อยเกินไป ควรเติมน้ําและหาผักตบชวาหรือผักบุ้งมาใส่เพื่อป้องกันปลาดุก
กระโดดออก รวมทั้งควรใส่ดินลงไปเล็กน้อยเพื่อให้ปลาดุกหลบอาศัยอยู่ได้ นอกจากนี้คณะผู้วิจัยได้ทําใบ
ความรู้เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจในการปลูกผักปลอดภัยให้กับเด็กนักเรียน ดังภาพ
ภาพการให้ความรู้ความเข้าใจการปลูกผักโรงเรียนบ้านอ้อกระทุง
4. โรงเรียนวัดห้วยผักชี
การปลูกผักของโรงเรียนวัดห้วยผักชี พบว่า ผักกวางตุ้งที่นักเรียนปลูกเจริญงอกงามดีมาก โดยเด็ก
นักเรียนได้เรียนรู้การทดลองปลูกผักโดยวิธีการหยอดหลุมกับการหว่าน ซึ่งพบว่า การปลูกโดยวิธีการหว่าน
ผักสามารถขึ้นได้ดีกว่าการหยุดหลุม มีข้อµสั√งÏ เกตว่าเด็กนักเรียนแต่ละคนได้เรียนรู้การปลูกผักจากการช่วย
ผู้ปกครองทําที่บ้านของตนเองอยู่แล้µว√»จึ“งมีความรู้และทักษะในการปลูกผักค่อนข้างดีมาก ในส่วนของการ
…
เลี้ยงปลาดุก ประมาณ 1,000 —¬ตั‡°ว คณะผู้วิจัยได้สังเกตเห็นว่า น้ําดํา ซึ่งอาจจะเน่า แต่ผู้อํานวยการโรงเรียน
“≈ ก่อน นอกจากนี้คณะผู้วิจัยได้ทําใบความรู้เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจ
บอกว่า ไม่เป็นอะไร จะลองทดลองดู
‘“«∑¬
À
ในการปลูกผักปลอดภั
—≈ ¡ ยให้กับเด็กนักเรียน ดังภาพ
‘∑
®
‘
Ÿ
¥
È
¡√
“
«
§
≈—ß
§
À¡¥Õ“¬ÿ«—π∑’Ë 06-11-2566
ภาพการให้ความรู้ความเข้าใจการปลูกผักโรงเรียนวัดห้วยผักชี
44
5. โรงเรียนวัดหนองจิก
การปลูกผักของโรงเรียนวัดหนองจิก ไม่พบปัญหาอุปสรรคในการดําเนินการ ซึ่งผู้อํานวยการ
โรงเรียนได้แบ่งพื้นที่รับผิดชอบในการปลูกผักเอาไว้อย่างดี นอกจากนี้คณะผู้วิจัยได้ทําใบความรู้เพื่อสร้าง
ความรู้ความเข้าใจในการปลูกผักปลอดภัยให้กับเด็กนักเรียน ดังภาพ
ภาพการให้ความรู้ความเข้าใจการปลูกผักโรงเรียนวัดหนองจิก
√Ï
µ
“
µ√»
…
‡°
—¬
“≈
‘“«∑¬
À
¡
‘∑—≈
‘®
√ŸÈ¥
¡
“
—≈ߧ«
§
À¡¥Õ“¬ÿ«—π∑’Ë 06-11-2566
45
ตอนที่ 3 สรุปบทเรียนและสะท้อนผลการดําเนินโครงการ
คณะผู้วิจัยได้จัดประชุมสัมมนาเพื่อสรุปบทเรียนและสะท้อนผลการดําเนินโครงการ ภายหลังจาก
การให้ความรู้ความเข้าใจในการปลูกผักปลอดภัยครบทุกโรงเรียนแล้ว โดยมีผู้เข้าร่วมประชุมสัมมนาทั้งสิ้น
จํานวน 23 คน ประกอบด้วย ผู้บริหารโรงเรียนและครู จํานวน 9 คน คณะกรรมการสถานศึกษา จํานวน 1
คน ตัวแทนนักเรียน จํานวน 8 คน และนักวิจัย จํานวน 5 คน สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ ปัญหาอุปสรรคการดําเนิน
โครงการวิจัย และสิ่งที่จะดําเนินการต่อไปของแต่ละโรงเรียนได้ดังนี้
ปการเ ย น
!ชนการร แ
1. โรงเรียนวัดทุ่งกระพังโหม
ครูและนักเรียนได้เรียนรู้วิธีการปลูกผักและเทคนิคการดูแลรักษา ได้เรียนรู้กระบวนการที่ถูกต้อง
ซึ่งสามารถพัฒนาเด็กนักเรียนได้อย่างยั่งยืน เพื่อไปสร้างแนวคิดให้กับผู้ปกครอง นอกจากนี้เด็กนักเรียน
ได้รับประทานผักที่ปลูกโดยไม่ใช่สารเคมี รู้จักการแบ่งกันทํางาน และมีการบูรณาการเรียนกับวิชาอื่น ๆ
รวมทั้งได้ปฏิสั มพันธ์ที่ ดีระหว่ างโรงเรียนกับผู้ปกครองหรื อชุม ชน การดํ าเนิ นโครงการมีปัญหาในการ
ประสานงานกับคณะผู้วิจัยบ้าง เนื่องจากผู้อํานวยการไม่ค่อยอยู่โรงเรียน เนื่องจากมีงานภายนอกโรงเรียน
ต้องไปดําเนินการ สิ่งที่โรงเรียนจะทําต่อไป คือ การปลูกผักสวนครัวและการเพาะเห็ด รวมทั้งการพัฒนา
วิชาการ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ใหม่ ๆ
!
√Ï
2. โรงเรียนวัดไร่แตงทอง
µ
»“ กผักและวิธีการดูแลรักษาที่ถูกต้อง นักเรียนรู้จักการปลูกผักด้วย
ครูและนักเรียนได้เรียนรู้วิธµีก√ารปลู
…าผักที่ปลูกมาเข้าโครงการอาหารกลางวันของโรงเรียนเพื่อเป็นอาหาร
°
‡
ตนเอง โดยไม่ได้ใช้สารเคมี และนํ
≈—¬
“
¬
รับประทาน ส่วนผักที่เหลื
‘∑อจากโครงการอาหารกลางวัน ได้นําไปขายตามแนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
«
“
À
การดําเนินการปลู
—‘∑≈ ¡กผักในระยะแรกเป็นการลองถูกลองผิด มีปัญหาในการปลูก ซึ่งได้ผลบ้างไม่ได้ผลบ้าง
โดยทางโรงเรี
√ŸÈ¥ย‘®นได้ดําเนินการปลูกผักและหาวิธีการที่ถูกต้องต่อไป
¡
“
«
≈—ߧ
§
ต่
รี
3. โรงเรียนบ้านอ้อกระทุง
รักษาการผู้อํานวยการโรงเรียนได้สะท้อนความคิดเห็นÀ¡¥Õ“¬ÿ
สรุปได้ว่า«ด้—πานการบริ
หาร สร้างภาวะผู้นํา
∑’Ë 06-11-2566
ให้ทุ่มเท เสียสละ เพื่อให้โครงการประสบความสําเร็จ ซึ่งจะต้องมาดูแปลงผักทุกวันไม่ว่าจะไปราชการหรือ
วันเสาร์ อาทิตย์ ได้กําลังใจจากอาจารย์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ด้านครูผู้สอน ได้จัดทําแผนการเรียนรู้
บู ร ณาการในงานพื้ น ฐานอาชี พ เพื่ อ พั ฒ นาสมอง มื อ จิ ต ใจ และสุ ข ภาพของเด็ ก นั ก เรี ย น ซึ่ ง มี ค วาม
สอดคล้องกับโครงการลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ และโครงการเศรษฐกิจพอเพียง ด้านผู้เรียน ได้พัฒนาทักษะ
ชีวิตตามที่ตนเองถนัด ทักษะการคิด การแก้ไขปัญหา การใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ มีอาชีพเสริม การทํา
บัญชีรายรับ-รายจ่าย สิ่งที่โรงเรียนวางแผนจะทําต่อไป คือ เด็กชั้นอนุบาลทําการเพาะถั่วงอก เด็กนักเรียน
46
ชั้น ป.1 – 2 ปลูกผักปลอดสารพิษ ชั้น ป.3 เลี้ยงกบและปลาดุก ชั้น ป.4 เลี้ยงหมู ชั้น ป.5 – 6 ทําปุ๋ย
ชีวภาพ เพาะเห็ดนางฟ้า และผักไฮโดรโปนิกส์
4. โรงเรียนวัดห้วยผักชี
นั ก เรี ย นได้ เ รี ย นรู้ โ ดยการปฏิ บั ติ จ ริ ง เช่ น การหว่ า นเมล็ ด ผั ก การตี ห ลุ ม ปลู ก ได้ เ รี ย นรู้ กั บ
บุคคลภายนอกโรงเรียน มีความกล้าในการพูดคุยและซักถาม ได้ใช้ทักษะต่าง ๆ เช่น การวางแผน การคิด
การวิ เ คราะห์ ต้ น ทุ น การผลิ ต กํ า ไร ขาดทุ น การหาตลาด อี ก ทั้ ง ครู นั ก เรี ย น และบุ ค คลภายนอกได้
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน มีการระดมทรัพยากรในโรงเรียนเพื่อสนับสนุนการศึกษา ส่วนโรงเรียน
ได้ รั บ การช่ ว ยเหลื อ ตรงตามปั ญ หาและความต้ อ งการที่ แ ท้ จ ริ ง ในขณะที่ โ รงเรี ย นมี พื้ น ที่ จํ า กั ด เป็ น
ปูนซีเมนต์ พื้นดินข้างใต้เป็นดินลูกรัง ยากต่อการทําเกษตร ไม่มีอุปกรณ์และน้ําในการเพาะปลูก ต้องใช้
น้ําประปาหมู่บ้าน และพื้นที่มีร่มไม้เยอะทําให้การปลูกผักไม่เจริญเติบโต ซึ่งโรงเรียนมีแนวคิดที่จะปลูกพืช
ในขวด ในถัง หรือทําเป็นอุโมงค์ผักสวนครัวในสถานที่ที่เหมาะสมต่อไป
5. โรงเรียนวัดหนองจิก
ครูและนักเรียนได้เรียนรู้และมีทักษะเพิ่มเติมในการทําการเกษตร มีการศึกษาค้นคว้า มีผลผลิตสู่
โครงการอาหารกลางวัน ส่วนที่เหลือสามารถนําไปขายได้ มีการเลี้ยงไก่ไข่ซึ่งนักเรียนได้กินไข่ตลอดเวลา
รวมทั้งได้เรียนรู้ว่าจะเก็บไข่ตอนไหนและสามารถเอาขี้ไก่ไปทําอะไรได้บ้าง นอกจากนี้ยังเสริมสร้างนิสัย
ความรับผิดชอบให้กับเด็กนักเรียนอีกด้วยµ√ซึÏ ่งในการดําเนินการเกษตรของโรงเรียนมีปัญหาอุปสรรค เช่น
พื้นที่ไม่เพียงพอ ไม่มีแหล่งน้ําธรรมชาติ
√»“ ครูไม่มีความถนัด เป็นต้น สิ่งที่โรงเรียนมีความสนใจที่จะ
µ
…ที่เพื่อให้นักเรียนได้ปลูกผักและขายเป็น การจัดเก็บน้ําฝนไว้ใช้ การปลูก
°
‡
ดําเนินการต่อไป คือ การขยายพื
้
น
≈—¬
“
¬
พืชที่ไม่ใช้ดิน การทําปุ๋ย«อิ‘∑นทรีย์ และการสร้างความตระหนักรับรู้ให้กับครู
“
À
≈— ¡
‘∑ ้คณะผู้วิจัยได้ร่วมสะท้อนความคิดเห็นเพิ่มเติม สรุปได้ว่า เด็กนักเรียนในโรงเรียนขนาดเล็ก
®
‘
นอกจากนี
¥
È
Ÿ
√
¡
“
«
มีร่างกายที
§ ่แข็งแรง มีภูมิต้านทานที่ดี มีทักษะและความรู้จากประสบการณ์จริงในครอบครัวที่สามารถ
ß
—
≈
นํ§ามาใช้ได้ ซึ่งเป็นวิถีชีวิตจริงของเด็กนักเรียนในชนบทอยู่แล้ว อย่างไรก็ดี โรงเรียนควรส่งเสริมทักษะและ
ความรู้ต่าง ๆ เหล่านี้ต่อไป โดยเฉพาะในเรื่องการตลาดหรือการขาย
เพื่อเป็
ษะชีวิตให้กับเด็กนักเรียน
À¡¥Õ“¬ÿ
«—πน∑’ทักË 06-11-2566
ในลักษณะที่เรียกว่า “ปลูกได้ ขายเป็น” นอกจากนี้โรงเรียนส่วนใหญ่ยังมีความพร้อมในเรื่องที่ดินสําหรับ
การเพาะปลูก ซึ่งอาจมีการปลูกต้นไม้ประเภทที่โชว์ได้ตามฤดูกาล เช่น พริกสี ไม้ประดับ เป็นต้น แต่อาจ
ขาดครูผู้เชี่ยวชาญที่จบตรงวิชาเอก คือ เกษตรกรรม
47
√Ï
µ
“
µ√»
…
‡°
—¬
“≈
‘“«∑¬
À
¡
‘∑—≈
‘®
√ŸÈ¥
¡
“
—≈ߧ«
§
À¡¥Õ“¬ÿ«—π∑’Ë 06-11-2566
ภาพการประชุมสัมมนาเพื่อสรุปและสะท้อนผลการดําเนินโครงการ
ส ปผ
ผลแล ะอ อ กอ ผล
าง
11 ม 2
การวิจัยและพัฒนาแบบมีส่วนร่วมเพื่อส่งเสริมการปลูกผักปลอดภัยสําหรับอาหารกลางวันของ ป าสน มแ
โรงเรียนขนาดเล็กตามโครงการ 9 บวร มีวัตถุประสงค์การวิจัยเพื่อ 1) พัฒนาพื้นที่และทดลองปลูกพืชผัก ใน อนาคต
ปลอดภัย สําหรับอาหารกลางวันของโรงเรียนขนาดเล็กตามโครงการ 9 บวร และ 2) สร้างความรู้ความ
เข้าใจให้กับครูและนักเรียนในการปลูกผักปลอดภัย โดยใช้วิธีการวิจัยเชิงปฏิบัติการ (Action Research)
มีขั้นตอนและการดําเนินการวิจัยดังนี้ #
# 1. สํ ารวจพื้ นที่ ที่ เหมาะสมในการใช้ ปลู กพื ชผั ก และสํ ารวจความต้ องการเครื่ องมื ออุ ปกรณ์ ต่ าง ๆ
หลังจากนั้นดําเนินการพัฒนาปรับปรุงดินและพื้นที่ให้เป็นแปลงสําหรับการปลูกพืชผัก
2. ทดลองปลูกผักปลอดภัยสําหรับอาหารกลางวัน โดยการร่วมกันคิดเพื่อกําหนดชนิดพืชผักที่จะ
ปลูกระหว่างนักเรียน ครู และคณะผู้วิจัย หลังจากนั้นทําการปลูกพืชผักตามความสนใจของแต่ละโรงเรียน
3. ติดตามดูผลการทดลองปลูกผักปลอดภัย รวมทั้งปัญหาอุปสรรคในการดําเนินการปลูกผักของแต่ละ
โรงเรียน
4. การสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องการปลูกปลอดภัยให้กับครูและนักเรียนโรงเรียนขนาดเล็ก
ทั้ง 6 โรงเรียน โดยการพูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดกับคณะผู้วิจัย
# 5. สรุ ป บทเรี ย นและสะท้ อ นผลการดํ า เนิ น โครงการ โดยการจั ด ประชุ ม สั ม มนาครู ตั ว แทน
ผู้ปกครอง ตัวแทนนักเรียน และนักวิจัย µ√Ï
ีอ
*
*
#
อใคร? เค ยงม
ก มเ าหม
√»“
µ
…
กลุ่มเป้าหมาย คือ ครู—¬‡แ°ละนักเรียนในโรงเรียนขนาดเล็ก จํานวน 6 โรงเรียน ซึ่งอยู่ในพื้นที่ตําบล
“≈
กําแพงแสน ตําบลวังน้«ํา‘∑เขี¬ยว และตําบลทุ่งลูกนก อําเภอกําแพงแสน จังหวัดนครปฐม ได้แก่ โรงเรียนวัดทุ่ง
À“านดอนซาก โรงเรียนวัดไร่แตงทอง โรงเรียนบ้านอ้อกระทุง โรงเรียนวัดหนองจิก และ
กระพังโหม โรงเรี—≈ย¡นบ้
โรงเรียนวัด√ŸÈ¥ห้‘®ว‘∑ยผักชี เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย แบบสัมภาษณ์ แบบสังเกต และใบความรู้
¡่องการปลูกปลอดภัยที่ผู้วิจัยจัดทําขึ้น เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้วิธีการสังเกตและการสัมภาษณ์
“
«
เกี่ยวกั
บ
เรื
§
§≈—ß
าย
พูดคุยผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการดําเนินการปลูกผักปลอดภัยของแต่ละโรงเรียน รวมทั้งการประชุมสัมมนาเพื่อ
สรุปบทเรียนและสะท้อนผลการดําเนินโครงการ หลังจากนั้นดําÀ¡¥Õ“¬ÿ
เนินการตรวจสอบและวิ
เคราะห์ข้อมูลโดยการ
«—π∑’Ë 06-11-2566
วิเคราะห์เนื้อหา (Content analysis) สรุปผลการวิจัยได้ดังนี้
รี
ข้
ก็
ข้
รุ
/การเ บ
ลุ่
ต่
คื
บทที่ 5
สรุปผลการวิจยั อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ
บ
49
สรุปผลการวิจยั
ส ปผ
ล
ผลการ
1. การพัฒนาพื้นที่ การทดลอง และการติดตามผลการปลูกผัก
โรงเรียนวัดทุ่งกระพังโหม มีแปลงสําหรับการปลูกผัก แต่ไม่ได้ดําเนินการปลูก โดยครูมีความ
ต้องการพัฒนาพื้นที่ปลูกผักโดยการซื้อดินดีมาใส่แปลงปลูกผักก่อน และต้องการปุ๋ยขี้ไก่หรือปุ๋ยไส้เดือน
รวมทั้งต้องการอุปกรณ์ในการทําแปลงผักเพิ่มเติม ได้แก่ ถังน้ําสําหรับใส่น้ํารดผักแบบมีฝาปิดกันยุงมาไข่
บัวรดน้ํา ฟาง ปุ๋ยมะพร้าว ซึ่งครูมีความสนใจที่จะปลูกผักที่มีอายุสั้น สามารถทําเป็นอาหารกลางวันสําหรับ
เด็กนักเรียนได้ เช่น ผักบุ้ง กวางตุ้ง เป็นต้น นอกจากนี้ยังสนใจปลูกมะนาวในรองน้ํา โดยใช้พื้นที่ด้านข้าง
ของโรงเรียน ดังนั้นครูและนักเรียนได้ร่วมกันพัฒนาพื้นที่แปลงปลูกผักโดยการดายหญ้าออก นําล้อยาง
รถยนต์มาวางและซื้อดินมาใส่เพื่อใช้เป็นพื้นที่ปลูกผัก เนื่องจากดินในบริเวณนี้ไม่ดี ผลการปลูกผัก พบว่า
ผักต่าง ๆ มีการเจริญเติบโตงอกงามดี สามารถนํามาเป็นอาหารกลางวันได้ ส่วนการปลูกต้นมะนาว พบว่า
ตายไป จํานวน 4 ต้น เนื่องจากรากอาจจะได้รับความสั่นสะเทือนในตอนปลูก
โรงเรียนวัดไร่แตงทอง ไม่มีพื้นที่หรือแปลงสําหรับการปลูกผัก แต่มีพื้นที่บริเวณด้านข้างโรงเรียน
สามารถทําแปลงปลูกผักได้ โดยครูมีความต้องการพัฒนาพื้นที่ปลูกผัก มีการปรับปรุงดิน มีความต้องการ
อุปกรณ์เพิ่มเติม ได้แก่ จอบ เสียม มีความสนใจที่จะปลูกผักที่มีอายุสั้น สามารถทําเป็นอาหารกลางวัน
สําหรับเด็กนักเรียนได้ เช่น ผักบุ้ง คะน้า กวางตุ้ง เป็นต้น ดังนั้นครู นักเรียนและนักการ ได้ร่วมกันพัฒนา
Ï าเป็นแปลงสําหรับปลูกผักในบริเวณด้านหน้าของโรงเรียน
พื้นที่แปลงปลูกผักโดยการขุดดินเพื่อยกร่µอ√งทํ
ผลที่เกิดขึ้น คือ ได้พัฒนาพื้นที่เป็นแปลงปลู
√»“ กผัก ส่วนการปลูกผัก ได้แก่ ผักบุ้ง กวางตุ้ง พบว่า มีลักษณะต้น
µ
…งอกงาม เนื่องจากปลูกใต้ต้นไม้ใหญ่ ต้นกระชายและตะไคร้กําลัง
°
‡
เล็กและแคระแกรน ไม่ค่อยเจริ
ญ
≈—¬
“
¬
เจริญเติบโตงอกงามดี ในระยะต่
‘∑ อมาครูและนักเรียนได้เรียนรู้ร่วมกันในการปลูกผักใต้ต้นไม้ จึงได้ย้ายแปลง
«
“
À
ปลูกผักไปปลูกในพื
—‘∑≈ ¡้นที่ที่มีแสงแดดมากขึ้น ผลที่เกิดขึ้น คือ ได้พื้นที่และแปลงปลูกผักใหม่ ทําให้ผักที่ปลูก
เจริญงอกงามดี
ŸÈ¥‘® ได้ปริมาณมากเกินไปสําหรับการทําอาหารกลางวันของโรงเรียน ครูและนักเรียนจึงได้
√
¡
ช่วยกั—ߧน«เก็“ บผักไปขายให้ร้านค้าในชุมชนซึ่งนักเรียนได้เรียนรู้การขาย โดยการนําของที่เหลือกินไปขายเพื่อ
§≈่ยนเป็นสินทรัพย์ได้
เปลี
À¡¥Õ“¬ÿ«—π∑’Ë 06-11-2566
วิ
รุ
โรงเรียนบ้านอ้อกระทุง มีพื้นที่พร้อมสําหรับการปลูกผัก มีแปลงปลูกผัก บ่อเลี้ยงปลาและเล้าไก่
แต่ไม่มีการดําเนินการใด ๆ โดยครูมีความต้องในการพัฒนาพื้นที่ปลูกผัก ปรับปรุงดินโดยซื้อดินดี ๆ มาใส่
ในแปลงปลูกผัก มีความสนใจทําปุ๋ยหมักใบ้ไม้ โดยการคัดแยกขยะออกจากใบไม้ มีความต้องการอุปกรณ์
เพิ่มเติม ได้แก่ บัวรดน้ํา ซ่อมแซมเล้าไก่และมุ้งแปลงผัก และมีความสนใจที่จะปลูกผักที่มีอายุสั้น สามารถ
ทําเป็นอาหารกลางวันสําหรับเด็กนักเรียนได้ เช่น ผักบุ้ง คะน้า เป็นต้น ดังนั้นครู นักเรียนและนักการได้
ร่วมกันพัฒนาพื้นที่แปลงปลูกผักโดยการขุดดินในแปลงเดิมสําหรับใช้ปลูกผักและทําปุ๋ยหมักใบ้ไม้ ผลการ
50
ปลูกผัก พบว่า ผักแคระแกรน ไม่ค่อยโต และต้นมะนาวเป็นโรคแครงเกอร์ที่ใบ ส่วนใบกระเพรา กระชาย
ฟักทอง คะน้า กวางกุ้ง เจริญเติบโตดีมากและสามารถเก็บมาทําอาหารกลางวันและแจกจ่ายได้ ส่วนการ
เลี้ยงปลาดุก เริ่มเจริญเติบโต แต่น้ําในบ่อเลี้ยงมีน้ําน้อยเกินไป
โรงเรียนวัดห้วยผักชี มีพื้นที่พร้อมในการปลูกผัก โดยผู้อํานวยการโรงเรียนมีความต้องการพัฒนา
พื้นที่และปรับปรุงดินเล็กน้อย มีการใส่ปุ๋ยหมัก มีความสนใจที่จะปลูกผัก เช่น ผักบุ้ง กวางตุ้ง ฟัก มะละกอ
เป็นต้น และเลี้ยงปลาดุก ดังนั้นครูและนักเรียนได้ร่วมกันพัฒนาพื้นที่แปลงปลูกผักโดยการดายหญ้าออก
และขุดดินในแปลง รวมทั้งทําบ่อเลี้ยงปลาดุกโดยก่อปูนซีเมนต์บริเวณที่ว่างตรงโรงจอดรถยนต์ ผลที่เกิดขึ้น
คือ ได้บ่อเลี้ยงปลาดุกใหม่ ส่วนการปลูกผัก พบว่า แปลงผักมีการเจริญเติบโตงอกงามดีมาก ส่วนปลาดุกที่
เลี้ยงไว้ ประมาณ 1,000 ตัว มีการเจริญเติบโตดี สามารถนํามาเป็นอาหารกลางวันและให้นักเรียนนํากลับไป
กินที่บ้าน
โรงเรียนวัดหนองจิก มีพื้นที่แปลงปลูกผักที่มีความพร้อมมาก มีโดมสามารถปลูกผักที่เลื้อยเป็นเถาได้
มีโรงเลี้ยงไก่ไข่ ซึ่งผู้อํานวยการโรงเรียนมีความสนใจที่จะเลี้ยงไก่ต่อไป รวมทั้งการปลูกพืชผักสวนครัวต่าง ๆ
และมีความต้องการอุปกรณ์เพิ่มเติม ได้แก่ จอบ เสียม รถเข็น บัวรดน้ํา คราด กรรไกร เป็นต้น ดังนั้นครู
และนักเรียนได้ร่วมกันพัฒนาพื้นที่ที่จะดําเนินการเพิ่มเติม โดยการซื้อรองน้ํามาปลูกต้นแก้วมังกรและ
มะนาว มีการดายหญ้า ปลูกผัก และซื้อไก่ไข่มาเลี้ยง ผลที่เกิดขึ้น พบว่า โรงเรียนได้แบ่งพื้นที่กันรับผิดชอบ
√Ï กผักในกระถาง 2) โซนแปลงผักเดิม ปลูกพริก ถั่ว ฟัก บวบ
ออกเป็น 4 โซน คือ 1) โซนเด็กอนุบาล µปลู
เลี้ยงไก่ 3) โซนหลังโรงจอดรถรถ ปลู
√»ก“พืชสมุนไพร ใบเตย อันชัน กระเจี๊ยบ ขิง ข่า 4) โซนสนามฟุตบอล
µ
… กผักมีการเจริญเติบโตงอกงามดี ส่วนการเลี้ยงไก่ได้ออกไข่นํามา
°
‡
ปลูกแก้วมังกรและมะนาว ผลการปลู
≈—¬
“
¬
รับประทานได้
«‘∑
“
À
≈— ¡
‘∑นบ้านดอนซาก มีพื้นที่ในการปลูกผัก โดยครูมีความต้องการปรับปรุงดินในแปลงปลูกผัก
®
‘
โรงเรี
ย
¥
È
Ÿ
√
¡
“
«
และต้—ߧองการอุปกรณ์เพิ่มเติม ได้แก่ บัวรดน้ํา รองปลูกมะนาว และมีความสนใจที่จะปลูกผักที่มีอายุสั้น
§≈ าเป็นอาหารกลางวันสําหรับเด็กนักเรียนได้ เช่น ผักบุ้ง กวางตุ้ง เป็นต้น ผลที่เกิดขึ้น พบว่า
สามารถทํ
โรงเรียนมีการปลูกผักเพียงเล็กน้อยและได้มีการซื้อต้นมะนาวมาปลูÀ¡¥Õ“¬ÿ
กด้านหลัง«อาคารของโรงเรี
ยน จํานวน 6 ต้น
—π∑’Ë 06-11-2566
เท่านั้น เนื่องจากโรงเรียนมีภารกิจอื่น ๆ มาก คณะผู้วิจัยจึงขอยุติการดําเนินการในโครงการวิจัยและ
พัฒนาการปลูกพืชผักปลอดภัยของโรงเรียนบ้านดอนซาก เพราะไม่สามารถดําเนินการตามกระบวนการ
และขั้นตอนของการวิจัยได้
51
2. ปัญหาอุปสรรคและการสร้างความรู้ความเข้าใจการปลูกผัก
โรงเรียนวัดทุ่งกระพังโหม พบปัญหาว่า มีการปลูกต้นกวางตุ้งแน่นเกินไป เนื่องจากนักเรียนใส่
เมล็ดผักมากไป ได้แนะนําให้ถอนออกไปปลูกในกระถางหรือถุงพลาสติก ส่วนผักบุ้งเจริญงอกงามดีเช่นกัน
แต่นักเรียนอาจรดน้ําน้อยเกินไป ทําให้ดินแข็งมาก ได้แนะนําให้รดน้ํามากกว่านี้ และยังพบอีกว่าดินที่ใช้ปลูก
ผักบุ้งไม่ค่อยดี ควรใส่ขุยมะพร้าวเพื่อช่วยรักษาความชุ่มชื่นของดิน ในส่วนของต้นมะนาวที่ปลูกไว้ พบว่า
ตายไป จํานวน 4 ต้น นอกจากนี้มีการให้ความรู้ความเข้าใจการปลูกผักแก่เด็กนักเรียน และมีการบูรณาการ
ระหว่างวิชาภาษาอังกฤษกับวิชาเกษตร โดยการให้เด็กรู้จักคําศัพท์ของพืชผักบางชนิด
โรงเรียนวัดไร่แตงทอง พบปัญหาว่า ผักบุ้งและกวางตุ้ง มีลําต้นที่เล็ก แคระแกรน ไม่ค่อยเจริญงอกงาม
เนื่องจากมีการปลูกในที่ร่มใต้ต้นไม้ใหญ่ และมีการใช้สาร EM ในอัตราที่มากเกินไป ได้แนะนําว่า ควรย้าย
แปลงผักไปปลูกในพื้นที่ที่มีแสงแดด ส่วนต้นกระชายสามารถปลูกในพื้นที่ร่มได้ และมีการสร้างความรู้ความ
เข้าใจในการปลูกผักปลอดภัยให้กับเด็กนักเรียนโดยการใช้ใบความรู้
โรงเรียนบ้านอ้อกระทุง พบปัญหาว่า ผักแคระแกรน ไม่ค่อยโต ได้นะนําว่า ควรใส่ปุ๋ยสูตร 46-0-0
ประมาณ 2 อาทิตย์ต่อครั้ง ส่วนใบกระเพรามีการเจริญเติบโตดีมากแต่ควรเด็ดดอกทิ้งบ้าง เพื่อไม่ใ ห้
สารอาหารไปเลี้ยงดอกมากเกินไป ต้นมะนาว พบปัญหา เป็นโรคแครงเกอร์ที่ใบ ควรเด็ดใบที่เป็นโรคออก
และนําไปทิ้งไกล ๆ ต้นใบเตยมีการปลูกในกระถาง ควรย้ายไปปลูกในดินที่อยู่ในบริเวณใกล้น้ําหรือริมบ่อ
√Ï เพิ่มเติมได้ ในส่วนของการเลี้ยงหมูป่า จํานวน 2 ตัว พบว่า
ในร่ม บริเวณริมรั้วของโรงเรียนอาจปลูกตะไคร้
µ
กระโดดหนีออกจากคอก ควรทํารั้วµที√่แ»ข็“งแรงขึ้น ส่วนปลาดุก พบว่า น้ําในบ่อมีน้อยเกินไป ควรเติมน้ําและ
…
หาผักตบชวาหรือผักบุ้งมาใส่เพื—¬‡่อ°ป้องกันปลาดุกกระโดดออก รวมทั้งควรใส่ดินลงไปเล็กน้อยเพื่อให้ปลาดุก
“≈
หลบอาศัยอยู่ได้ นอกจากนี
‘“«∑¬้ยังได้มีการสร้างความรู้ความเข้าใจในการปลูกผักปลอดภัยให้กับเด็กนักเรียนโดย
การใช้ใบความรู้ —≈ ¡À
‘∑
®
‘
Ÿ
¥
È
¡√
“โรงเรียนวัดห้วยผักชี พบปัญหาว่า ผักกวางตุ้งที่นักเรียนปลูกเจริญงอกงามดีมาก โดยเด็กนักเรียน
«
§
≈—ß
ได้§เรียนรู้การทดลองปลูกผักโดยวิธีการหยอดหลุมกับการหว่าน ซึ่งพบว่า การปลูกโดยวิธีการหว่านผัก
สามารถขึ้นได้ดีกว่าการหยุดหลุม มีข้อสังเกตว่าเด็กนักเรียนแต่
ละคนได้«เรี—πย∑’นรูË 06-11-2566
้การปลูกผักจากการช่วย
À¡¥Õ“¬ÿ
ผู้ปกครองทําที่บ้านของตนเองอยู่แล้ว จึงมีความรู้และทักษะในการปลูกผักค่อนข้างดีมาก ในส่วนของการ
เลี้ยงปลาดุก ประมาณ 1,000 ตัว ได้สังเกตเห็นว่า น้ําดํา ซึ่งน้ําอาจจะเน่า นอกจากนี้มีการสร้างความรู้
ความเข้าใจในการปลูกผักปลอดภัยให้กับเด็กนักเรียนโดยการใช้ใบความรู้
52
โรงเรียนวัดหนองจิก ไม่พบปัญหาอุปสรรคในการดําเนินการ ซึ่งผู้อํานวยการโรงเรียนได้แบ่งพื้นที่
รับผิดชอบในการปลูกผักเอาไว้อย่างดี และมีการสร้างความรู้ความเข้าใจในการปลูกผักปลอดภัยให้กับเด็ก
นักเรียนโดยการใช้ใบความรู้
3. สรุปบทเรียนและสะท้อนผลการดําเนินโครงการ
โรงเรียนวัดทุ่งกระพังโหม ครูและนักเรียนได้เรียนรู้วิธีการปลูกผักและเทคนิคการดูแลรักษา ได้
เรี ย นรู้ ก ระบวนการที่ ถู ก ต้ อ ง ซึ่ง สามารถพั ฒ นาเด็ กนั ก เรี ย นได้ อ ย่า งยั่ งยื น เพื่ อ ไปสร้า งแนวคิ ดให้ กั บ
ผู้ปกครอง นอกจากนี้เด็กนักเรียนได้รับประทานผักที่ปลูกโดยไม่ใช่สารเคมี รู้จักการแบ่งกันทํางาน และมี
การบูรณาการเรียนกับวิชาอื่น ๆ รวมทั้งได้ปฏิสัมพันธ์ที่ดีระหว่างโรงเรียนกับผู้ปกครองหรือชุมชน สิ่งที่
โรงเรียนจะทําต่อไป คือ การปลูกผักสวนครัวและการเพาะเห็ด รวมทั้งการพัฒนาวิชาการ การจัดกิจกรรม
การเรียนรู้ใหม่ ๆ
โรงเรียนวัดไร่แตงทอง ครูและนักเรียนได้เรียนรู้วิธีการปลูกผักและวิธีการดูแลรักษาที่ถูกต้อง
นักเรียนรู้จักการปลูกผักด้วยตนเอง โดยไม่ได้ใช้สารเคมี และนําผักที่ปลูกมาเข้าโครงการอาหารกลางวัน
ของโรงเรียนเพื่อเป็นอาหารรับประทาน ส่วนผักที่เหลือจากโครงการอาหารกลางวัน ได้นําไปขายตาม
แนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง การดําเนินการปลูกผักในระยะแรกเป็นการลองถูกลองผิด มีปัญหาในการ
ปลูก ซึ่งได้ผลบ้างไม่ได้ผลบ้าง โดยทางโรงเรียนได้ดําเนินการปลูกผักและหาวิธีการที่ถูกต้องต่อไป
√Ï
µ
“
โรงเรียนบ้านอ้อกระทุง ได้µเ√รี»ยนรู้โดยแบ่งออกเป็นด้านต่าง ๆ ดังนี้ 1) ด้านการบริหาร สร้างภาวะ
°…
‡
ผู้นําให้ทุ่มเท เสียสละ เพื่อให้โ—¬ครงการประสบความสํ
าเร็จ ซึ่งจะต้องมาดูแปลงผักทุกวันไม่ว่าจะไปราชการ
≈
“
หรือวันเสาร์ อาทิตย์ ได้«ก‘∑ํา¬ลังใจจากอาจารย์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 2) ด้านครูผู้สอน ได้จัดทําแผนการ
À“ ้นฐานอาชีพเพื่อพัฒนาสมอง มือ จิตใจ และสุขภาพของเด็กนักเรียน ซึ่งมีความ
¡
เรียนรู้บูรณาการในงานพื
‘∑—≈
สอดคล้องกั√ŸÈ¥บ‘®โครงการลดเวลาเรี
ยน เพิ่มเวลารู้ และโครงการเศรษฐกิจพอเพียง 3) ด้านผู้เรียน ได้พัฒนา
¡
“ิตตามที่ตนเองถนัด ทักษะการคิด การแก้ไขปัญหา การใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ มีอาชีพเสริม
«
ทักษะชี
ว
§
§≈—ß าบัญชีรายรับ-รายจ่าย สิ่งที่โรงเรียนวางแผนจะทําต่อไป คือ เด็กชั้นอนุบาลทําการเพาะถั่วงอก เด็ก
การทํ
นักเรียนชั้น ป.1 – 2 ปลูกผักปลอดสารพิษ ชั้น ป.3 เลี้ยงกบและปลาดุ
ก ชั้น«ป.4
้ยงหมู ชั้น ป.5 – 6 ทําปุ๋ย
À¡¥Õ“¬ÿ
—π∑’เลีË 06-11-2566
ชีวภาพ เพาะเห็ดนางฟ้า และผักไฮโดรโปนิกส์
โรงเรียนวัดห้วยผักชี นักเรียนได้เรียนรู้โดยการปฏิบัติจริง เช่น การหว่านเมล็ดผัก การตีหลุมปลูก
ได้เรียนรู้กับบุคคลภายนอกโรงเรียน มีความกล้าในการพูดคุยและซักถาม ได้ใช้ทักษะต่าง ๆ เช่น การ
วางแผน การคิ ด การวิ เ คราะห์ ต้ น ทุ น การผลิ ต กํ า ไร ขาดทุ น การหาตลาด อี ก ทั้ ง ครู นั ก เรี ย น และ
บุคคลภายนอกได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน มีการระดมทรัพยากรในโรงเรียนเพื่อสนับสนุนการศึกษา
ส่วนโรงเรียนได้รับการช่วยเหลือตรงตามปัญหาและความต้องการที่แท้จริง ในขณะที่โรงเรียนมีพื้นที่จํากัด
เป็นปูนซีเมนต์ พื้นดินข้างใต้เป็นดินลูกรัง ยากต่อการทําเกษตร ไม่มีอุปกรณ์และน้ําในการเพาะปลูก ต้องใช้
น้ําประปาหมู่บ้าน และพื้นที่มีร่มไม้เยอะทําให้การปลูกผักไม่เจริญเติบโต ซึ่งโรงเรียนมีแนวคิดที่จะปลูกพืช
ในขวด ในถัง หรือทําเป็นอุโมงค์ผักสวนครัวในสถานที่ที่เหมาะสมต่อไป
โรงเรียนวัดหนองจิก ครูและนักเรียนได้เรียนรู้และมีทักษะเพิ่มเติมในการทําการเกษตร มีการศึกษา
ค้นคว้า มีผลผลิตสู่โครงการอาหารกลางวัน ส่วนที่เหลือสามารถนําไปขายได้ มีการเลี้ยงไก่ไข่ซึ่งนักเรียนได้
กินไข่ตลอดเวลา รวมทั้งได้เรียนรู้ว่าจะเก็บไข่ตอนไหนและสามารถเอาขี้ไก่ไปทําอะไรได้บ้าง นอกจากนี้
ยังเสริมสร้างนิสัยความรั บผิดชอบให้กับเด็ กนักเรียนอีกด้วย ซึ่งในการดําเนินการเกษตรของโรงเรียน
มีปัญหาอุปสรรค เช่น พื้นที่ไม่เพียงพอ ไม่มีแหล่งน้ําธรรมชาติ ครูไม่มีความถนัด เป็นต้น สิ่งที่โรงเรียน
มีความสนใจที่จะดําเนินการต่อไป คือ การขยายพื้นที่เพื่อให้นักเรียนได้ปลูกผักและขายเป็น การจัดเก็บ
น้ําฝนไว้ใช้ การปลูกพืชที่ไม่ใช้ดิน การทําปุ๋ยอินทรีย์ และการสร้างความตระหนักรับรู้ให้กับครู
อภิปรายผล
อ ปรา ยผลบอ งงาน
ย
น
วิ
นี้
การวิจัยและพัฒนาแบบมีส่วนร่วมเพื่อส่งเสริมการปลูกผักปลอดภัยสําหรับอาหารกลางวันของโรงเรียน
ขนาดเล็กทั้ง 6 โรงเรียน พบว่า<โรงเรียนที่เข้าร่วมการวิจัยในครั้งนี้ จํานวน 5 โรงเรียน มีพื้นที่และแปลงปลูกผัก
เรียบร้อยแล้ว ยกเว้นโรงเรียนวัดไร่แตงทองµ√ซึÏ ่งยังไม่มีแปลงปลูกผัก ในขณะที่โรงเรียนไม่ได้มีการดําเนินการ
ปลูกผัก เนื่องจากโรงเรียนขาดแคลนครู
√»“ โดยเฉพาะครูที่จบตรงสาชาวิชาเอกที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญ
µ
…้โรงเรียนยังมีภารกิจและกิจกรรมต่าง ๆ มากมาย เช่น การประกวด การ
°
‡
ในการสอนวิชาเกษตร นอกจากนี
≈—¬
“
¬
แข่งขัน การอบรมครู การตรวจประเมิ
นคุณภาพโรงเรียน เป็นต้น อีกทั้งโรงเรียนไม่ได้ให้ความสําคัญกับวิชา
‘∑
«
“
À
เกษตรกรรมมากนั
—‘∑≈ ¡ก แต่ได้ให้ความสําคัญกับกลุ่มวิชาสาระหลักที่ต้องใช้สําหรับการทดสอบทางการศึกษา
ในระดับชาติ
ŸÈ¥ข‘®ั้นพื้นฐาน (O-Net) ได้แก่ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ ภาษาไทย และสังคม
√
¡
ศึกษา—ߧ«ดั“งปรากฏให้เห็นในกรณีของโรงเรียนบ้านดอนซาก ซึ่งผู้วิจัยมีความคิดเห็นว่าโรงเรียนในชนบทวิชา
≈
กลุ§ ่ ม สาระการงานอาชี พ เป็ น เรื่ อ งที่ สํ า คั ญ เพราะวิ ถี ชี วิ ต ส่ ว นใหญ่ ข องคนในชนบทประกอบอาชี พ
เกษตรกรรม ดังนั้นการพัฒนาพื้นที่ปลูกผักของโรงเรียนต่าง ๆÀ¡¥Õ“¬ÿ
จึงดําเนิ«น—π
ไปได้
ด้วยดี เพราะเด็กนักเรียน
∑’Ë 06-11-2566
มีทักษะในการทําเกษตรมาจากครอบครัวตั้งแต่เกิด ซึ่งการเตรียมแปลงปลูกผักเป็นขั้นตอนที่สําคัญมาก
จะช่วยให้ผักที่ปลูกเจริญเติบโตสมบูรณ์แข็งแรง ช่วยลดปัญหาจากการทําลายศัตรูพืชและที่สําคัญในการ
เตรียมดินที่ ดีเป็นการป้ องกันการงอกของวั ชพืชที่ อาจเกิดขึ้นในช่วงระหว่างการปลูกผักได้เป็นอย่างดี
เมื่อพืชผักเจริญเติบโตแข็งแรงและสมบูรณ์เราก็ไม่จําเป็นจะต้องใช้สารเคมีในการดูแลรักษา การเตรียมดิน
ที่ดีจะมีผลต่อการเจริญเติบโตและง่ายต่อการดูแลรักษา ทําให้การปลูกพืชผักปลอดสารพิษประสบผลสําเร็จ
ซึ่งต้องมีการปรับพื้นที่ปลูกให้ราบเรียบ ไม่ควรให้เป็นแอ่งมีน้ําขัง มีช่องทางระบายน้ํา เพื่อระบายน้ําที่ให้
ภิ
พี
สั
53
↓
54
มากจนเกินความจําเป็นออกจากแปลง กําจัดวัชพืชออกให้หมด เพื่อไม่ให้วัชพืชขึ้นแข่งกับผักที่จะปลูก
(อภิสรา ธนวงศ์ธร, 2556)
การปลูกผักของแต่ละโรงเรียนจะเลือกปลูกผักคล้าย ๆ กันที่สามารถนํามาเข้าสู่โครงการอาหาร
กลางวันได้เร็ว เช่น ผักบุ้ง คะน้า กวางตุ้ง เป็นต้น ซึ่งผักที่ปลูกเจริญงอกงามดี แต่บางโรงเรียนมีปัญหาบ้าง
กล่าวคือ ปลูกผักใต้ต้นไม้ใหญ่ ทําให้ผักที่ปลูกมีลักษณะลําต้นเล็ก แคระแกรน ไม่ค่อยเจริญงอกงาม ครูและ
นักเรียนได้เรียนรู้ร่วมกันจึงได้ทําแปลงผักใหม่โดยไปปลูกในสถานที่ที่มีแสงแดด แต่ก็มีพืชผักบางชนิดที่
สามารถปลูกในที่ร่มได้ เช่น กระชาย นอกจากนี้บางโรงเรียนยังได้ทําการเลี้ยงปลาดุก เลี้ยงไก่ไข่ ทําปุ๋ยหมัก
ใบ้ไม้ โดยการคัดแยกขยะออกจากใบไม้ ปลูกพืชสมุนไพร เช่น ใบเตย อันชัน กระเจี๊ยบ ขิง ข่า ตะไคร้
กระชาย กระเพรา เป็นต้น ผลผลิตทั้งผักต่าง ๆ ปลาดุก และไข่ไก่ สามารถนํามาทําเป็นอาหารในโครงการ
อาหารกลางวั น ได้ เ ป็ น อย่ า งดี ซึ่ ง ได้ ช่ ว ยเหลื อ ด้ า นงบประมาณให้ กั บ โรงเรี ย นขนาดเล็ ก ในระดั บ หนึ่ ง
นอกจากนี้บางโรงเรียนสามารถปลูกผัก เลี้ยงไก่ เลี้ยงปลา ได้ปริมาณมาก ครูและนักเรียนได้ช่วยกันนําขาย
ให้ร้านค้าในชุมชนหรือแบ่งปันให้เด็กนักเรียนนํากลับไปฝากผู้ปกครองเพื่อรับประทานที่บ้าน ผลของการ
ดําเนินการวิจัยในครั้งนี้นอกจากครูและนักเรียนจะได้เรียนรู้เรื่องการปลูกผักปลอดภัยแล้ว ยังได้เรียนรู้เรื่อง
การขาย การเปลี่ยนผลผลิตให้เป็นสินทรัพย์ และการดํารงชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของ
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในขณะที่ เสกสรร สิทธาคม (2557) ที่กล่าวไว้ว่า โครงการเกษตรเพื่ออาหาร
กลางวันในโรงเรียนตํารวจตระเวนชายแดน สามารถแก้ไขปัญหาการขาดอาหารและพัฒนาภาวะโภชนาการ
√Ï
และสุขภาพของเด็กที่อยู่ในถิ่นทุรกันดาร µโดยเฉพาะอย่
างยิ่งการช่วยเหลือให้โรงเรียนระดับประถมศึกษาที่
อยู่ห่างไกลมีสภาพความเป็นอยู่ขาดแคลน
√»“ สามารถได้รับการช่วยเหลือและช่วยเหลือตัวเองในการผลิตอาหาร
µ
…
°
‡
กลางวันได้อย่างยั่งยืน มีศักยภาพในการสร้
างแหล่งอาหารที่มีคุณภาพตามหลักโภชนาการครบถ้วนขึ้นใน
—¬
≈
“
¬ ตทางการเกษตร การดําเนินโครงการนี้ทําให้เด็กนักเรียนได้รับประทาน
พื้นที่โรงเรียน อันได้แก่«‘∑ผลผลิ
“
อาหารกลางวันที—≈่ม¡ีคÀุณภาพอย่างเพียงพอเหมาะสมต่อความต้องการของร่างกายและมีสุขภาพอนามัยที่ดี
‘®‘∑ ความรู้ด้านโภชนาการและด้านการเกษตรกรรมให้นักเรียน ผู้ปกครอง รวมทั้งชุมชน
ตลอดจนได้√เŸÈ¥ผยแพร่
¡่ยวกับการบริโภคอาหารที่มีคุณภาพ ถูกหลักโภชนาการมีสุขนิสัยที่ดีในการรับประทานอาหาร
“
«
มีความรู
เ
้
กี
—ߧ
§≈
อย่างไรก็ดี การดําเนินโครงการวิจัยนี้มีปัญหาอุปสรรคเล็
กน้อยเกี«่ย—πวกั∑’บË 06-11-2566
ความรู้ความเข้าใจในการ
À¡¥Õ“¬ÿ
ปลูกผัก คณะผู้วิจัยได้ให้คําแนะนําในระหว่างการติดตามผลและได้ทําเป็นใบความรู้เกี่ยวกับการปลูกผัก
ปลอดภัย จํานวน 13 เรื่อง ๆ ละ 1 หน้ากระดาษ เพื่อให้สามารถอ่านได้ง่ายและเหมาะสมกับนักเรียนระดับ
ประถมศึกษา ซึ่งเป็นการเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปลูกผักปลอดภัยให้กับเด็กนักเรียนและ
ครูเพิ่มเติม นอกจากนี้ครูผู้สอนสามารถจัดทําแผนการเรียนรู้แบบบูรณาการได้ เช่น วิชาเกษตรเข้ากับวิชา
ภาษาอังกฤษ โดยการให้เด็กนักเรียนรู้จักคําศัพท์ของพืชผักบางชนิด เป็นต้น หรืออาจจัดการเรียนรู้แบบ
คละชั้นหรือแบบรวมเรียนช่วงชั้น ซึ่งเป็นรูปแบบการบริหารงานวิชาการในโรงเรียนขนาดเล็กที่ครูไม่ครบชั้น
↓
เด็กนักเรียนเหล่านี้ มีความสามารถในการเรียนรู้พร้อมกันได้ (บพิธ ศิริ, 2546 และปรีชา ทินโนรส, 2551)
ในขณะที่การเรียน การสอนกลุ่มสาระการงานพื้นฐานอาชีพ มีความสอดคล้องกับ “โครงการลดเวลาเรียน
เพิ่มเวลารู้” และ “โครงการเศรษฐกิจพอเพียง” ซึ่งสามารถช่วยพัฒนาสมอง มือ จิตใจ และสุขภาพของเด็ก
นักเรียน รวมทั้งได้พัฒนาทักษะชีวิตตามที่ตนเองถนัด ทักษะการคิด การแก้ไขปัญหา การทําบัญชีรายรับรายจ่าย การใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ และสามารถนําไปประกอบอาชีพได้ซึ่งเป็นวิถีชีวิตของในชนบท
ซึ่งผู้วิจัยมีข้อสังเกตว่านักเรียนมีความสุขและรอยยิ้มจากการได้ทําโครงการปลูกผักนี้ ทั้งนี้สามารถใช้บุคคล
ในท้องถิ่นที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญในด้านต่าง ๆ มาช่วยในงานวิชาการของโรงเรียน เพื่อแก้ไขปัญหาความ
ขาดแคลนบุคลากรในโรงเรียนขนาดเล็กและเติมเต็มในส่วนของหลักสูตรท้องถิ่น อีกทั้งยังสามารถนําแหล่ง
เรียนรู้ของท้องถิ่นมาปรับใช้เพื่อการเรียนการสอนได้ โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน ซึ่งถือว่าจะเป็นส่วน
สําคัญของการส่งเสริมคุณภาพทางการศึกษาโรงเรียนขนาดเล็ก (สุรวิทย์ ธาดา, 2551)
อเสนอแน
ข้อเสนอแนะ
ะ
ร
ะ
จะ
ดท ใน
1. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกําแพงแสน โดยเฉพาะในสาขาวิชาทางด้านเกษตรและ
ประมง ควรดําเนินการวิจัยและพัฒนาแบบมีส่วนร่วมนี้ให้เกิดความต่อเนื่องและยั่งยืน เพื่อส่งเสริมการปลูก
ผักปลอดภัย การเลี้ยงปลา การเลี้ยงไก่ สําหรับอาหารกลางวันของโรงเรียนขนาดเล็ก ซึ่งเด็กนักเรียนสามา
ถนําความรู้เหล่านี้ไปใช้ในการประกอบอาชีพได้
#
√Ï
µ
“
2. โรงเรียนขนาดเล็ก ควรจั
µ√ด»กิจกรรมต่าง ๆ ให้มีความหลากหลายทั้งในด้านศิลปะ ดนตรี กีฬา
…
‡°
ปลูกผัก เพื่อให้สอดคล้องตามนโยบายกระทรวงศึ
กษาธิการ “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” อีกทั้งยังเป็นการ
¬
—
≈
“
พัฒนาศักยภาพของนัก«เรี‘∑ย¬นในทุก ๆ ด้าน
#
“
À
≈— ¡
‘∑ กษาธิการ ควรบรรจุข้าราชการครูให้ตรงกับวิชาเอกที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญ โดย
®
‘
กระทรวงศึ
Ÿ
¥
È
¡√
# 3.
“ บททั่วไปของสังคมไทย เช่น เกษตรกรรม
คํานึ—ßง§ถึ«งบริ
§≈
ำ
ที
À¡¥Õ“¬ÿ«—π∑’Ë 06-11-2566
วั
ข้
55
&
กา
,ง
งาน จ
ฐาน
เ บไซ
าง งคา ม A
ไทย
บรรณานุกรม
TH
น อนช
ถวิล แพงยา. 2550. การศึกษาสภาพ ปัญหา และแนวทางแก้ไขปัญหาการบริหารงานวิชาการของ
โรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสํานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาศรีสะเกษ. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตร
มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์.
ราถอยไ
ขอก
ณัฐวิทย์ พิมพ์ทอง. 2554. สรุปการเสวนาเรื่อง “ยุบโรงเรียนขนาดเล็ก ใครได้ ใครเสีย?”,
29 ตุลาคม 2554. http://www.lek-prapai.org/watch.php?id=205
ธนรัช ใกล้กลาง. 2545. ผักปลอดสารพิษ, วารสารเกษตรกรรมธรรมชาติ. 1(2) : 37 – 41.
บพิธ ศิริ. 2546. การประเมินผลการดําเนินงานจัดการศึกษาโรงเรียนขนาดเล็ก แบบรวมเรียน ช่วงชั้น
ของศูนย์โรงเรียนสันปูเลย อําเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษา
ศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
ประโยชน์ คุปกาญจนากุล และคณะ. 2554. การพัฒนาเครือข่ายในพืน้ ที่ เพื่อส่งเสริมคุณภาพการ
เรียนรู้ของนักเรียนในโรงเรียนขนาดเล็ก จังหวัดสุราษฎร์ธานี. กรุงเทพฯ : สํานักงานกองทุน
สนับสนุนการวิจัย.
µ√Ï
√»“
µ
°… ปแบบการบริหารงานวิชาการในโรงเรียนขนาดเล็กทีค่ รู
ปรีชา ทินโนรส. 2551. การนํ—¬า‡เสนอรู
“≈
ไม่ครบชัน้ สังกั«‘∑ด¬สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาอุบลราชธานี เขต 4 . วิทยานิพนธ์ปริญญา
À“ ณฑิต,มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี.
¡
ครุศาสตรมหาบั
—≈
∑
‘
®
‘
√ŸÈ¥
¡
“
พิธาน—ߧ«พื้นทอง. 2548. ข้อเสนอเชิงนโยบายเพื่อพัฒนาศักยภาพโรงเรียนขนาดเล็กในภาค
§≈ ตะวันออกเฉียงเหนือ. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต, มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
À¡¥Õ“¬ÿ«—π∑’Ë 06-11-2566
พิพัฒน์ สอนสมนึก. 2553. การพัฒนาโมเดลการจัดการชั้นเรียนแบบคละชั้น สําหรับโรงเรียนขนาดเล็ก
สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสกลนคร เขต 1. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต,
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
ฟาฏินา วงศ์เลขา. 2553. เรียนรู้บรู ณาการในโรงเรียนเล็ก, 28 ตุลาคม 2554.
http://www.sobkroo.com/detail_room_index.php?nid=3341
สื
สี
วิ
นั
ค่
ก่
↑
ว็
ต์
อั
อ้
ห ง อ
57
สีลาภรณ์ บัวสาย. 2555. การวิจัยเพื่อพัฒนาพื้นที่พัฒนา: แนวคิด ปฏิบัติการและข้อค้นพบ. ใน
สีลาภรณ์ บัวสาย (บรรณาธิการ). พลังความรู้และความร่วมมือ: บทเรียนจากการวิจัย
เพื่อพัฒนาพื้นที่. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
(
สุกัญญา หาญตระกูล. 2552. โรงเรียนขนาดเล็ก ปัญหาขนาดใหญ่. (ออนไลน์).
http://www.bangkokbiznews.com/home/detail/politics/opinion/sukanya/20091030/
83919/โรงเรียนขนาดเล็ก-ปัญหาขนาดใหญ่. html, 28 ตุลาคม 2554.
สุภาพร อาจเดช. 2556. การตั้งงบประมาณโครงการอาหารกลางวัน และอาหารเสริม (นมโรงเรียน).
สํานักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร.
สุมิตร สุวรรณ และคณะ. 2558. การสร้างเครือข่ายความร่วมมือพหุภาคีเพื่อการพัฒนาคุณภาพ
การศึกษาของโรงเรียนขนาดเล็กจังหวัดนครปฐม. สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
สุรชัย ทินกระโทก. 2549. ปัญหาและแนวทางแก้ไขปัญหาการบริหารงานโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสํานักงาน
เขตพืน้ ที่การศึกษาหนองคาย เขต 1. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏ
มหาสารคาม.
√Ï
µ
“
สุรวิทย์ ธาดา. 2551. การใช้ทรัพยากรบุ
µ√» คคลในท้องถิ่นเพื่อการบริหารงานวิชาการของโรงเรียนขนาดเล็ก
…
สังกัดสํานักงานเขตพื—¬้น‡°ที่การศึกษาอุบลราชธานี เขต 1. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหา
¬“≈ยราชภัฏอุบลราชธานี.
บัณฑิต, มหาวิ«ท‘∑ยาลั
“
À
≈— ¡
‘®‘∑ 2557. โครงการอาหารกลางวันแบบยั่งยืนตามพระราชดําริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ.
เสกสรร สิท√ธาคม,
¥
È
Ÿ
¡ ). http://www.chaoprayanews.com/, 28 มกราคม 2558.
“
«
(ออนไลน์
—ߧ
§≈
สมยศ ปั๋นแก้ว. 2549. การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานของโรงเรี
ยนขนาดเล็
ก สังกัดสํานักงานเขต
À¡¥Õ“¬ÿ
«—π∑’Ë 06-11-2566
พื้นที่การศึกษาลําปาง เขต 2. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏ
ลําปาง.
APA
#สชน
58
สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. 2553. รายงานการวิจัยการกระจายอํานาจการบริหารและการจัด
การศึกษาสู่เขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษา.(ออนไลน์).
http://www.onec.go.th/onec_administrator/uploads/Book/221-file.pdf, 28 ตุลาคม
2554.
อภิสรา ธนวงศ์ธร. 2556. การปลูกผักปลอดภัยจากสารพิษ. (ออนไลน์).
http://aphisarahaitha.blogspot.com/, 28 มกราคม 2558.
-
Howler, C. 2000. Small Schools. Small Schools. Clearinghouse on Rural Education and
Small Schools. National Education Policy Center: US Department of education.
http://nepc.colorado.edu/files/Chapter03-Howley-Final.pdf
Joan McRobbie. 2001. Are small schools better? School size considerations for safety
and learning, 30 October 2011. http://www.wested.org/online_pubs/po-01-03.pdf
Lee, V. E. & Smith, J. B. (1994, April).Effects of high school restructuring and size on gains
in achievement and engagement for early secondary school students. Madison, WI:
√Ï
Center on Organization and µRestructuring
of Schools, Wisconsin Center for
“
Education Research. ERIC
µ√»No. ED370120.
…
°
‡
≈—¬
“
Lee, V. E. and Loeb,«‘∑S.¬2000. School Size in Chicago Elementary Schools: Effects on
“
ÀAttitudes
¡
Teachers’
and Student’s Achievement. American Educational
—≈
∑
‘
Research
√ŸÈ¥‘® Journal, 37(1): 3-31.
¡
“
«
≈—ߧ
§ T. S. T. 2004. High Schools: Size Does Matter. Small Schools, 1(1): 1-7.
Nguyen,
À¡¥Õ“¬ÿ«—π∑’Ë 06-11-2566
Stiefel, L., Iatarola, P., Fruchter, N., & Bernie, R. (1998, April). The effects of size of student
body on school costs and performance in New York City high schools. New York:
New York University Institute for Education and Social Policy.
APA
Download