Uploaded by KT S

Chemical bonding

advertisement
11/28/2022
01403221-65
เคมีอินทรียค
์ ืออะไร ?
• คือวิชาทีศึกษาเกียวกับสารประกอบของธาตุ C ยกเว้น
เคมีอินทรีย:์ บทนํา
–
–
–
–
–
–
(Organic Chemistry: Introduction)
โครงการจัดตังภาควิชาเคมี
คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกําแพงแสน
เกลือคาร์บอเนต เช่น Na2CO3, CaCO3
เกลือไฮโดรเจนคาร์บอเนต เช่น NaHCO3
เกลือไซยาไนด์ เช่น NaCN
เกลือไซยาเนต เช่น NH4NCO
สารประกอบออกไซด์ เช่น CO, CO2
สารประกอบทีมี C เปนองค์ประกอบธาตุเดียว เช่น เพชร แกรไฟต์
• ตัวอย่างสารประกอบอินทรีย์ เช่น ชีวโมเลกุล (ลิปด โปรตีน
คาร์โบไฮเดรต ดีเอ็นเอ อาร์เอ็นเอ) อาหาร ผ้า ยาง พลาสติก ยา
รักษาโรค ยาฆ่าแมลง ยาปราบศัตรูพืช นํามันเชือเพลิง ผลึกเหลว
ในหน้าจอมือถือและคอมพิ วเตอร์
1
1
2
2
ประวัติวิชาเคมีอินทรีย์
ทําไมสารอินทรีย์มีจํานวนมาก?
• ค.ศ. 1770 แบ่งวิชาเคมีเปน
– สารอนินทรีย์ ได้จากสิงไม่มีชีวิต เช่น แร่ธาตุต่างๆ
– สารอินทรีย์ ได้จากสิงมีชีวิตทังพื ชและสัตว์
• คาร์บอนเกิดพั นธะโควาเลนต์ระหว่างคาร์บอน ซึงอาจเกิดพั นธะเปน
สายโซ่ยาวหรือสัน กิงก้าน หรือ เปนวง
• ค.ศ. 1828 สังเคราะห์สารอินทรีย์ได้จากสารอนินทรีย์
เกิดไอไซเมอร์เมือ คาร์บอน  4 อะตอม
• ค.ศ. 1858 พบว่า คาร์บอนเกิดพั นธะได้ 4 พั นธะและ จัดตัวแบบ
ทรงสีหน้า (tetrahedron)
3
3
4
4
11/28/2022
โครงแบบอิเล็กตรอนของธาตุคาร์บอน
ทําไมสารอินทรีย์มีจํานวนมาก?
• คาร์บอนอาจต่อกันด้วยพั นธะเดียว พั นธะคู่ หรือพั นธะสามได้
• การจัดเรียงอิเล็กตรอน 1s2 2s2 2p2
• เวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่ากับ 4 คือ 2s2 2p2
• s-orbital มีรูปร่างเปนทรงกลม
• p-orbital มีรูปร่างเปนดัมเบล จํานวน 3 ออร์บิทัล วางตังฉากกัน
ในแนวแกน x, y และ z
• คาร์บอนเกิดพั นธะกับอะตอมอืนได้
5
5
6
6
ทฤษฏีพันธะเวเลนซ์
ทฤษฏีพันธะเวเลนซ์
• พั นธะโควาเลนต์เกิดจากซ้อนเหลือมของ atomic orbital ทีมี
อิเล็กตรอนเดียว
• เวเลนซ์ออร์บิทัลของคาร์บอนต้องเกิดการผสม (hybridization)
ให้ได้ออร์บท
ิ ัลลูกผสม (hybrid orbital) ก่อนสร้างพั นธะ
ั ทีผสมกัน
• จํานวนออร์บิทัลลูกผสมจะเท่ากับจํานวนเวเลนซ์ออร์บิทล
เช่น
ผสม s + p ให้ sp + sp
์ ี 2 ประเภท
• พั นธะโควาเลนต์ของคาร์บอนในสารอินทรียม
ผสม s + p + p ให้ sp2 + sp2 + sp2
ตามลักษณะการซ้อนเหลือมของ
ออร์บิทัล
• พั นธะซิกมา ()
• พั นธะไพ ()
ั ลูกผสม
• รูปทรงโมเลกุลของสารอินทรีย์ขนกั
ึ บชนิดของออร์บิทล
8
7
7
8
11/28/2022
Hybridization
sp3-hybridization
ประกอบด้วย 2 ขัน คือ
• กระตุ้นให้ออร์บิทัลมีพลังงานเท่ากัน เกิดการจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใหม่ เหลือเพี ยงออร์บท
ิ ัลละ1 อิเล็กตรอน
• ผสม 2s กับ 2p จํานวน 3 ออร์บิทัล
• เกิดออร์บิทัลลูกผสม ซึงมีทังหมด 3 แบบ คือ sp3, sp2 และ sp
(แต่ละแบบต่างกันทีจํานวนของออร์บิทล
ั ทีผสมกัน)
ข้อสังเกต ออร์บิทัลลูกผสมเกิดพั นธะโควาเลนต์แบบ sigma เท่านัน
9
9
10
10
sp3-hybridization
sp2-hybridization
• ผสม 2s และ 2p จํานวน 2 ออร์บิทัล
• เพิ มเติม: การเกิดพั นธะของออร์บิทล
ั sp3 ของ C ในโมเลกุล
ethane (C2H6)
11
11
12
12
11/28/2022
sp2-hybridization
sp-hybridization
• เพิ มเติม: ภาพออร์บิทล
ั sp2 และการสร้างพั นธะ  และ  ของ C
ในโมเลกุล ethene
• ผสม 2s และ 2p จํานวน 1 ออร์บิทัล
13
13
14
14
sp-hybridization
Hybridization
• เพิ มเติม: ภาพออร์บิทล
ั sp2 และการสร้างพั นธะ  และ  ของ C
ในโมเลกุล ethyne
• เปรียบเทียบมุม ความยาวและพลังงานพั นธะ
พั นธะ
มุมพั นธะ
(องศา)
ความยาว
พั นธะ (A)
พลังงาน
พั นธะ
(kJ/mol)
sp3
C-C
109.5
1.53
348
sp2
C=C
120
1.09
614
sp
CC
180
1.06
839
16
15
15
Hybrid
orbital
16
11/28/2022
อิเล็กตรอนคู่โดดเดียว
การเขียนสูตรโครงสร้าง
• อิเล็กตรอนคู่โดดเดียว (lone pair of electrons) เปนคู่
Expanded
formula
อิเล็กตรอนบรรจุเต็มในออร์บิทล
ั แต่ไม่ได้เกิดพั นธะ เช่น
Condensed
formula
Skeletal
structure
– โมเลกุลของแอมโมเนีย มีอิเล็กตรอนคู่สร้างพั นธะ 3 คู่ และมี
อิเล็กตรอนคู่โดดเดียว 1 คู่
– โมเลกุลของนํา มีอิเล็กตรอนคู่สร้างพั นธะ 2 คู่ และอิเล็กตรอนคู่
โดดเดียว 2 คู่
17
17
18
18
สภาพขัวของโมเลกุล
สภาพขัวของโมเลกุล
• สภาพขัวไฟฟาของพั นธะโควาเลนต์ (dipole) เกิดจากค่า EN ของ
คู่อะตอมทีสร้างพั นธะกัน
– ถ้าพั นธะเกิดจากคู่อะตอมทีมี EN เท่ากันจะไม่มข
ี ว
ั
– ถ้าพั นธะเกิดจากอะตอมทีมี EN ต่างกัน จะมีขัว โดยอะตอมทีมี
EN ตํา มีขวไฟฟาบวก
อะตอมทีมี EN สูง มีขัวไฟฟาลบ
ั
• สภาพขัวของโมเลกุลหาได้จากผลรวมแบบเวคเตอร์ของสภาพขัว
•
ของทุกพั นธะในโมเลกุล
สภาพขัวของโมเลกุล มีผลต่อ แรงระหว่างโมเลกุล และแรงภายใน
โมเลกุล
•
•
19
19
แรงระหว่างโมเลกุล มีผลต่อสมบัติทางกายภาพ เช่น จุดเดือด จุด
หลอมเหลว และการละลาย
แรงภายในโมเลกุล มีผลต่อสมบัติทางเคมี เช่น อัตราการเกิดปฏิกิริยา
20
20
11/28/2022
แรงกระทําระหว่างโมเลกุล
แรงกระทําระหว่างโมเลกุล
•
• สภาพขัวของโมเลกุลมีผลต่อแรงกระทําระหว่างโมเลกุล
• จําแนกประเภทแรงกระทําระหว่างโมเลกุล ตามสภาพขัวของโมเลกุล
Dipole-dipole interaction เปน แรงระหว่างโมเลกุลทีมีขว
ั
(dipole) แบบถาวร
– Dipole-dipole interaction
– Van der Waals interaction
– Hydrogen bond
• ความแข็งแรงของแรงกระทําหว่างโมเลกุล:
– Hydrogen bond > Dipole-Dipole > Van der Waals
21
21
22
22
แรงกระทําระหว่างโมเลกุล
แรงกระทําระหว่างโมเลกุล
• Van der Waals interaction เปนแรงระหว่างโมเลกุลทีไม่มีขว
ั
เมือโมเลกุลเกิดสภาพขัวชัวขณะ จะชักนําสภาพขัว (induce
dipole) และเกิดแรงยึดเหนียวระหว่างโมเลกุล
• Hydrogen bond เปนแรงระหว่างโมเลกุลทีมีขวที
ั เกิดจากอะตอม
F, O หรือ N ต่อกับ H
• มีความแข็งแรงกว่าแรง dipole-dipole มาก
• โมเลกุลทีมีพืนทีผิวมาก จะเกิดการชักนําได้มาก เกิดแรงยึดเหนียว
ระหว่างโมเลกุลทีแข็งแรงกว่า
23
23
24
24
11/28/2022
สมบัติทางกายภาพ
สมบัติทางกายภาพ
จุดเดือด (bp.) และจุดหลอมเหลว (mp.)
• บอกถึง พลังงานทีใช้ในการทําลายแรงยึดเหนียวระหว่างโมเลกุล
การละลาย
• “like dissolves like” สารและตัวทําละลายทีมีสภาพขัวใกล้เคียง
กัน จะละลายกันได้ดี
ทําให้สารเปลียนสถานะ
เช่น
CH4 ละลายใน CCl4
CH4 และ CCl4 ไม่ละลายใน นํา (H2O)
CH3OH ละลายในนํา
ี ว:
ั แรงยึดเหนียวตํา (Van der Waals) ทําให้
– โมเลกุลไม่มข
bp., mp. ตํา
– โมเลกุลมีขัว: แรงยึดเหนียวสูง (dipole-dipole, H-bond)
แรงยึดสูง ทําให้ bp., mp. สูง
25
25
26
26
Substituent effects
โครงสร้างสารอินทรีย์
• แบ่งโครงสร้างสารอินทรีย์ออกเปน 2 ส่วน ตามคุณสมบัติเคมี
– Reaction center (หรือ functional group) เปนส่วนใช้
จําแนกประเภทสารอินทรีย์ และเปนส่วนทีการเกิดปฏิกิรย
ิ า
– Substituent site คือโครงสร้างส่วนทีเหลือมีผลให้ reaction
center เกิดปฏิกิริยาได้ชา้ หรือเร็ว
• หมู่แทนที (substituent) ไม่เพี ยงแต่มีผลต่อ reaction center
ผ่านแรงกระทําภายในโมเลกุล ยังมีผลผ่านรูปร่างของหมู่แทนทีด้วย
• สามารถจําแนกผลของหมู่แทนที (substituent effects) ได้ดังนี
– Electronic effect
• Inductive effect
• Resonance effect
– Steric effect
Reaction center
Substituent
28
27
27
28
11/28/2022
Substituent effects
Substituent effects
1. Electronic effect
1. Electronic effect
มีผลต่อความหนาแน่นของอิเล็กตรอนที reaction center
H-CH2-RxnCenter
• G มีกระทําต่อ reaction center 2 แบบ คือ inductive effect
และ resonance effect
G-CH2-RxnCenter
• เมือเทียบกับ H ถ้า G
• มีผลให้ความหนาแน่น ē ที reaction center ตําลง เรียก G ว่า
electron withdrawing group
• มีผลให้ความหนาแน่น ē ที reaction center สูงขึน เรียก G ว่า
electron releasing group
• Inductive effect เปนการดึง ē ผ่านพั นธะซิกมาด้วย EN
เช่น Cl-CH2COOH มีความเปนกรดสูงกว่า CH3COOH
เพราะ Cl ดึง ē จาก COOH ยังผลให้ O-H แตกง่าย เกิด H+
มากขึน
• Resonance effect เกียวกับการเคลือนทีของ ē ผ่านพั นธะ 
โดยเฉพาะ substituent ต่อกับ reaction center ด้วย พั นธะ 
(กล่าวโดยละเอียดในบทสารประกอบอะโรมาติก)
29
29
30
30
Substituent effects
การแบ่งประเภทของสารอินทรีย์
2. Steric effect
ขึนกับรูปร่างและความเกะกะของ substituent
31
31
32
32
11/28/2022
การแบ่งประเภทของสารอินทรีย์
การแบ่งประเภทของสารอินทรีย์
33
33
34
34
การแตกพั นธะ
ปฏิกิริยาของสารอินทรีย์
• Homolytic cleavage
เกียวข้องกับ
• ลักษณะการแตกพั นธะของสารตังต้น
– เมือแตกพั นธะ แต่ละชินส่วนได้รับ e- ทีเคยใช้ในการสร้างพั นธะไปเท่าๆ กัน
– แต่ละชินส่วนมีประจุเปนกลาง และมีอิเล็กตรอนเดียว (เปนอนุมูลเสรี (free
radical))
– Homolytic Cleavage
– Heterolytic Cleavage
ิ ากับสารตังต้น
• ลักษณะของสารทีเข้าทําปฏิกิรย
– Nucleophile
– Electrophile
– Free Radical
• Heterolytic cleavage
– เมือแตกพั นธะ ชินส่วนหนึงได้รับ e- ทีเคยใช้ในการสร้างพั นธะมากกว่าอีก
ชินส่วนหนึง
– มีชินส่วนทีเปนประจุบวก และประจุลบ
• ประเภทของปฏิกิรย
ิ า
– Substitution Reaction
– Addition Reaction
– Elimination Reaction
35
35
36
36
11/28/2022
สารเข้าทําปฏิกิริยา
ประเภทของปฏิกิริยา
• Substitution reaction อะตอมหรือหมู่อะตอมทีเกาะกับ C ถูก
แทนที
สารเข้าทําปฏิกิรย
ิ ากับสารตังต้น 3 ประเภท ตามโครงสร้างเคมี
• Nucleophile หรือ Lewis base
• สารทีให้คู่อิเล็กตรอนแก่สารอืนชอบทําปฏิกิริยากับตําแหน่งของสารตัง
ต้นทีมีสภาพขัวไฟฟาบวก
• ตัวอย่าง เช่น OH- , CN- , NH3, R-OH , RO-
• Electrophile หรือ Lewis acid
ิ ว
• Addition reaction เพิ มอะตอมหรือหมู่อะตอมในสารทีไม่อมตั
• สารทีขาดหรือสามารถรับคู่อิเล็กตรอน
• ตัวอย่าง เช่น H3O+ , BF3 , AlCl3
• Free Radical
• Elimination reaction กําจัดอะตอมหรือหมู่อะตอมออกจากสาร
ตังต้น
• สารทีทีมีอิเล็กตรอนเดียว ว่องไวในการทําปฏิกิริยา
• ตัวอย่าง เช่น Cl, CH3
37
37
38
38
Download