Uploaded by Sawit Chatkaroon

การปกครองคณะสงฆ์ 2

advertisement
การปกครองคณะสงฆ์
สมัยสุโขทัย
ประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนาสมัย
สุโขทัย
-
แต่เดิมในบริเวณที่เรียกว่าประเทศไทยในปัจจุบันนั้น นับถือ
ศาสนาผี ต่อมาจึงค่อยมีศาสนาอื่นมาตามเส้นทางการค้า อัน
ได้แก่ ฮินดู และต่อมาคือ พระพุทธศาสนา (สุจิตต์ วงษ์เทศ)
พระพุทธศาสนาที่มาตั้งอยู่ในประเทศไทยแต่แรก เป็นทั้งนิกาย
มหายาน และเถรวาท
โดยภาคกลางและภาคเหนือ เป็นมหายาน และ ภาคใต้เป็นเถร
วาท (แต่ในภาคใต้ ต่อมาก็เปลี่ยนไปนับถือมหายาน)
ในยุคก่อนสุโขทัย บริเวณที่เป็นเมืองสุโขทัย มีการนับถือศาสนา
ฮินดู และต่อมา คือพระพุทธศาสนานิกายมหายานมาก่อน
(ปรางค์เขาปู่จ่า)
ประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนาสมัย
สุโขทัย ต่อ
-
ต่อมาพ่อขุนศรีนาวนาถม มีการนาพระพุทธศาสนา นิกายเถรวาท แทนที่นิกายมหายาน
สุจิตต์ วงษ์เทศกล่าวว่า “พ่อขุนศรีนาวนาถุมเปลี่ยนลัทธิทางศาสนา กล่าวคือทิ้งลัทธิมหายาน แล้วหัน
ไปยกย่องฝ่ายเถรวาทแบบลังกา ด้วยเหตุผลอย่างใดไม่ปรากฏ
การเปลี่ยนแปลงครั้งนี้เห็นได้จากการสร้างเมืองสุโขทัยใหม่ในลักษณะ “ตรีบูร” ที่มีวัดมหาธาตุอยู่กลาง
เมือง พร้อมทั้งให้สร้างพระบรมธาตุขึ้นกลางใจเมืองทีข่ ยายใหม่ ดังมีข้อความในจารึกวัดศรีชุมว่า
“…ประดิษฐานพระศรีรัตนมหาธาตุใกล้ฝงั่ น้า”
การสร้างพระบรมธาตุไว้ในวัดมหาธาตุกลางเมือง เพื่อให้เป็นศาสนสถานสาคัญของบ้านเมือง แทนการ
สร้างปราสาทอันเป็นเทวาลัย ฝ่ายฮินดูหรือพุทธาลัยฝ่ายมหายาน ย่อมหมายถึงการเปลีย่ นคติจากการนับ
ถือพุทธศาสนาฝ่ายมหายาน เป็นนับถือพุทธศาสนาฝ่ายเถรวาท
การยกย่องพุทธศาสนาที่ไม่ใช่มหายานให้สาคัญกว่าลัทธิอนื่ เป็นประเพณีของบ้านเมืองในดินแดนสยาม
มาช้านานก่อนมีเมืองสุโขทัย เช่น เมืองอู่ทอง (จ.สุพรรณบุรี) เมืองคูบัว (จ.ราชบุรี) เมืองนครชัยศรี (จ.
นครปฐม) และ เมืองละโว้ (จ.ลพบุรี) ที่มีพัฒนาการมาแต่สมัยทวารวดี หลังจากนัน้ พระบรมธาตุจึงมี
ความหมายสาคัญที่สุดต่อบ้านเมืองและแว่นแคว้นแทนบทบาทของปราสาทวัดพระพายหลวงที่เคยมีมา
ก่อน
ประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนาสมัย
สุโขทัย ต่อ
- หลังจากสุโขทัย เปลี่ยนมานับถือพระพุทธศาสนานิกายเถรวาทแล้ว ต่อมาพ่อขุน
รามคาแหงจึงได้นาพระพุทธศาสนานิกายเถรวาท แบบลังกาวงศ์ เพราะพระองคทรง
ทราบกิตติศัพทเรื่องพระสงฆที่ไปบวชเรียนที่ศรีลังกาและกลับมาพานักที่เมือง
นครศรีธรรมราชนั้น ปฏิบัติธรรมวินัยอย่างเคร่งครัด พระองคทรงมีความเลื่อมใส จึง
โปรดฯใหอารธนาพระสงฆเหลานั้นขึ้นไปตั้งวงศและเผยแผ่พระศาสนาที่สุโขทัย ดัง
ข้อความที่ปรากฏอยู่ในศิลาจารึกหลักที่ 1 ความว่า
“..... เบื้องตะวันตกเมืองสุโขทัยนี้มีอรัญญิก พอขุนรามคาแหงกระทาโอยทานแกมหา
เถรสังฆราชปราชญเรียนจบปฎกไตรหลวักกวาปูครูในเมืองนี้ทุกคนลุกแต่เมืองศรี
ธรรมราชมา .....”
ประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนาสมัย
สุโขทัย ต่อ
- จากหลักฐานดังกล่าวแสดงว่าพ่อขุนรามคาแหงมหาราชโปรดใหสร้างวัดป่าถวาย
ด้วย จึงเกิดเป็นคณะอรัญญิกหรือลังกาวงศขึ้น คณะใหม่นี้ เจานายและประชาชน
นิยมบวชเรียนกันมาก ทาใหมีผู้นิยมนับถือเพิ่มขึ้นในเวลาไม่นานนัก และทาใหผู้ที่
นิยมคณะเกาลดลง ในระยะแรกๆแต่ละคณะไม่ยอมขึ้นแกกัน เพราะคณะเกาหรือ
หินยานเดิมนั้นใชภาษาสันสกฤตตามแบบนิกายมหายาน สวนคณะลังกาวงศหรือคณะ
ใหม่ใชภาษาบาลีตามแบบศรีลังกา การสังฆกรรมจึงร่วมกันไม่ได้
ประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนาสมัย
สุโขทัย ต่อ
- ในระยะตอมาคณะสงฆทั้งสองฝ่ายก็ปรองดองกันได ซึ่งอาจมาจากสาเหตุ
2 ประการคือ
- ประการแรก พอขุนรามคาแหงใชกุศโลบายชักนาขอรองใหพระสงฆ 2 ฝ่าย
รวมกัน
- หรืออาจเป็นเพราะเจานายและประชาชนหันไปนิยมนับถือคณะใหม่ ทาใหคณะ
เกาตองปรับตัว ซึ่งในที่สุดทั้งสองคณะก็รวมกันได้โดยไม่มีการบังคับ
- รองรอยของการปรองดองกันของคณะสงฆ 2 คณะยังมีปรากฏในสมัยตอมา เชน
การบรรพชาและการอุปสมบท กาหนดใหมีการรับไตรสรณคมน 2ครั้ง คือ
ว่าเป็นบาลี 1 ครั้ง และวาเป็นสันสกฤต 1 ครั้ง ปัจจุบัน ยังคงมีวัดสระเกศ ที่
ยังคงประเพณีนี้ไว้อยู่
ประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนาสมัย
สุโขทัย ต่อ
- นอกจากนี้คือบรรดาอุโบสถที่สร้างตั้งแต่ครั้งสมัยสุโขทัยลงมา ถาเป็นวัดหลวงมักจะ
มีใบเสมา 2แผ่นปกซ้อนกันอยู่ ซึ่งสมเด็จฯกรมพระยาดารงราชานุภาพทรง
สันนิษฐานวา เมื่อคณะลังกาวงศเขามาร่วมกับคณะเดิมแลว ไม่สนิทใจในการทา
พิธีกรรมในพระอุโบสถที่สร้างไวแต่เดิม โดยเฉพาะวัดหลวงที่พระบรมวงศานุวงศเคย
บรรพชาอยู่ ดังนั้นพระมหากษัตริยอาจจะขอใหคณะสงฆลังกาวงศประกอบพิธีผูกสีมา
ซ้าอีกจึงเกิดมีใบเสมาเพิ่มขึ้น แต่ก็พบเฉพาะในวัดหลวงเทานั้น สวนวัดราษฎรยังคงมี
ใบเสมาเพียงใบเดียว
** อุโบสถวัดสระเกศ ก็เป็นตัวอย่างของเสมาคู่***
ประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนาสมัย
สุโขทัย จบ
- ต่อมา ในสมัยพระยาเลอไท ก็ได้มีพระภิกษุ 2 รูป คือ พระอโนมทัสสี และพระ
สุมนะ ซึ่งเป็นศิษย์ของพระสังฆราชปัพพตะ ได้เดินทางไปศึกษายังสานักพระ
อุทุมพรมหาสามีที่นครพัน ซึ่งท่านได้แนะนาให้สึกแล้วบวชใหม่ พระสุมนะ และ
พระอโนมิทัสสีได้ศึกษา อยู่ที่นครพัน 5 พรรษา จึงกลับสุโขทัย ต่อมาอีก 5 ปี
ท่านทั้งสองได้นาพระภิกษุไทย 8 รูปไปยังนครพันเพื่อ ขอบวชใหม่ แต่พระ
อุทุมพรมหาสามีกลับมอบหมายให้พระสุมนะและพระอโนมิทัสสีเป็นพระ
อุปัชฌาย์ แทน เพราะทั้งสองท่านมีพรรษาครบ 10 ซึ่งเป็นพระอุปัชฌาย์ได้แล้ว
- ต่อมาพระมหาธรรมราชาที่ 1 (ลิไท) ได้อาราธนาพระอุทุมพรมหาสามี ให้มาเป็น
พระสังฆราช และเป็นพระอุปัชฌาย์ให้พระองค์
- ดังนั้น พระพุทธศาสนาเถรวาท แบบลังกาวงศ์ จึงมีที่มา 2 ที่ คือ มาจาก
นครศรีธรรมราช และมาจากนครพัน(เมาะตะมะ)
การปกครองคณะสงฆ์สมัยสุโขทัย
- ตั้งแต่รัชกาลพ่อขุนรามคาแหงมหาราชเป็นต้นมา คณะสงฆ์แบ่ง ออกเป็น 2 คณะ
คือ คณะอรัญวาสี และคณะคามวาสี ตามแบบศรีลังกาตั้งแต่ครั้งพระเจ้าวิชัยพาหุ
ที่ 3 (พ.ศ. 1778)แต่มีข้อที่แตกต่างกัน คือในศรีลังกา คณะอรัญวาสีหรือวนวาสี
เป็นคณะสงฆ์ ที่เน้นวิปัส สนาบาเพ็ญ เพี ยร ในวัดที่ตั้ งอยู่ในป่า หรือที่ห่างไกล
ชุมชน ส่วนคณะคามวาสีเป็นคณะสงฆ์ที่อยู่ตาม วัดในเมือง เน้นการศึกษาเล่า
เรียนพระไตรปิฎก
- สาหรับในสุโขทัยนั้นการแบ่งคณะสงฆ์ดังกล่าวเป็นการแบ่ง ตามความเป็นมาแต่
เดิ ม คื อ คณะคามวาสี ห มายถึ ง คณะสงฆ์ ที่ เ ล่ า เรี ย นคั น ถธุ ร ะหรื อ เล่ า เรี ย น
พระไตรปิฎกอยู่ตามวัดในเมือง ส่วนใหญ่เป็นพระสงฆ์พวกเดิมก่อนการรับเข้ามา
ของพุทธศาสนาแบบลังกาวงศ์ ส่วนคณะ อรัญวาสี เป็นคณะสงฆ์ที่บวชแบบ
ลังกาวงศ์ และไม่จากัดว่าจะต้องเป็นฝ่ายวิปัสสนาธุระเพียงอย่างเดียว สามารถมี
ความรู้ในพระไตรปิฎกและยังรู้หลักธรรมมากกว่าปู่ครูในเมืองสุโขทัยด้วย
การปกครองคณะสงฆ์สมัยสุโขทัย ต่อ
-
-
การปกครองคณะสงฆอีกเรื่องหนึ่งคือ สมณศักดิ์ ดังปรากฏหลักฐานในศิลาจารึกหลักที่ 1 วา
สุโขทัยมี สังฆราช ปู ครู มีพระมหาเถระ และพระเถระ คือพระสงฆพวกเดิมเรียกวา “ปูครู”
ตอมาเมื่อมีการนับถือพุทธศาสนาแบบลังกาวงศ ก็รับเอาสมณศักดิ์ของพระสงฆลังกามาเป็น
ของพระสงฆอรัญวาสีด้วย คือ“มหาสามี” หรือ “มหาสวามี”
สมเด็จฯกรมพระยาดารง ทรงให้พระวินิจฉัยไว้ว่าในสมัยนั้นคงมีสังฆราชหลายองค์ เมืองใหญ่
เมืองหนึ่ ง น่า จะมี พระสัง ฆราชองค์ หนึ่ง เนื่ องจากในทาเนีย บสมณศั ก ดิ์สมัยหลั ง ยัง เรีย ก
เจ้าคณะเมือง ว่าสังฆราชาเป็นเค้าเงื่อนอยู่
ในพงศาวดารเหนือกล่าวถึงการปกครองคณะสงฆ์สมัยสุโขทัยว่าแบ่งเป็นฝ่ายขวา และฝ่าย
ซ้าย พระสังฆราชาเป็นประธานสงฆ์ฝ่ายขวา อยู่วัดมหาธาตุ พระครูธรรมราชา เป็นประธาน
สงฆ์ฝ่ายซ้าย อยู่วัดไตรภูมิป่าแก้ว รองลงมาเป็นพระครู มีราชทินนามต่างๆ กัน ได้แก่ พระ
ครูธรรมไตรโลก พระครูยาโชค พระครูธรรมเสนา ฝ่ายขวา พระครูญาณไตรโลก พระครู
ญาณสิทธิ์ ฝ่ายซ้าย
การปกครองคณะสงฆ์สมัยสุโขทัยตามแนว
สมเด็จฯกรมพระยาดารงราชานุภาพ
การปกครองคณะสงฆ์สมัยสุโขทัย จบ
-
ตัวอย่างนามพระสังฆราชฝ่ายคามวาสี และ อรัญวาสี ที่ปรากฏพร้อมกันในจารึกยุคเดียวกัน
1. คามวาสี พระสังฆราช ชื่อ พระสังฆราชาญาณรูจีมหาเถระ ดังปรากฏในจารึกวัดป่า
แดง แผ่นที่ 3 ด้านที่ 1ว่า
“ด้วยปู่พระยาและฝูงนักปราชญ์ทั้งหลายมีต้นว่านายสวรปรัชญาและบาธรรมไตรโลก
หนราชามาตย์ไซร้ขุนสุคนธรสราชมนตรีนายเพนีพมูยราชศาสน์เบื้องสงฆ์ทั้งหลาย
หนคามวาสีอันมีประธานคือสังฆราชญาณรุจีมหาเถร”
2. อรัญวาสีพระสังฆราชชื่อ พระบรมครูติโลกดิลกรัตนสีล คันธะวนวาสีธรรมกิติสังฆราช
มหาสวามี ดังปรากฏในจารึกวัดป่าแดงแผ่นที่ 1 ว่า
“สารนี้พระบรมครูติโลกดิลกติรัตนศีลคันธวนวาสีธรรมกิตติสังฆราชมหาสวามีเจ้ามีพุทธฎีกาดังนี้
แต่ท่านเอาอุปสมบทในคามวาสีศักราชได้๗๐๕ในปีมะแมเดือนหกออกสิบเอ็ดค่าวันจันทร์
เมื่อท่านเอาอุปสมบทในอรัญญวาสีไซร้ศักราชได้๗๑๙(๓)ปีระกาเดือนหกออกหกค่าวันอังคาร....”
- คณะคามวาสี นิยมเรียกวา คณะเหนือ เพราะเป็นคณะเก่าของสุโขทัยและภาคเหนือ
- สวนคณะอรัญวาสี นิยมเรียกวา คณะใต เพราะนิมนตมาจากเมืองนครศรีธรรมราช
สรุปการปกครองคณะสงฆ์สมัยสุโขทัย
-
กษัตริย์เป็นผู้ตั้งตาแหน่งสังฆราช และสมณศักดิ์
มี 2 คณะ คือ คามวาสี และ อรัญวาสี
ทั้งสองคณะมีพระสังฆราชแยกกัน และในแต่ละหัวเมืองใหญ่ ก็มีสังฆราชประจาเมือง
ตาแหน่งทางการปกครองได้แก่ สังฆราช ปู่ครู /พระครู ส่วนมหาเถระ และเถระ อาจจะไม่มี
ตาแหน่งทางการปกครอง
เริ่มมีการถวายสมณศักดิ์ และมีราชทินนาม โดยนาประเพณีมาจากลังกา
การค้นคว้า
- การปกครองคณะสงฆ์สมัยอยุธยา
- ประวัติศาสตร์อยุธยา
Download