Uploaded by kwansuda samrejchockdee

Risk&Return ku

advertisement
2/21/2013
Nattawoot Koowattanatianchai
1
Lecture 8
ความเสี่ยงและผลตอบแทน
(Risk and Return)
2/21/2013
Nattawoot Koowattanatianchai
2
หัวข้อการบรรยาย



อัตราผลตอบแทนรายงวด
ค่าเฉลี่ยของอัตราผลตอบแทน
และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ของอัตราผลตอบแทนจาก
หลักทรัพย์เดี่ยว
อัตราผลตอบแทนและความเสี่ยง
จากการลงทุนในกลุ่มหลักทรัพย์
เซ็ทของกลุ่มหลักทรัพย์ที่เป็นไป
ได้
2/21/2013
Nattawoot Koowattanatianchai
3
หัวข้อการบรรยาย




เซ็ทของกลุ่มหลักทรัพย์ที่มี
ประสิทธิภาพ
ผลกระทบของข่าวต่อ
ผลตอบแทน
การกระจายการลงทุนกับความ
เสี่ยงของหลักทรัพย์
ความสัมพันธ์ระหว่างความเสี่ยง
และผลตอบแทนคาดหมาย
(Capital Asset Pricing Model)
2/21/2013
Nattawoot Koowattanatianchai
4
ความสามารถหรือความโชคดี

The Wall Street Journal จัดการทดสอบเพื่อวัดว่า
การลงทุนโดยผู้เชี่ยวชาญจะให้ผลตอบแทนดีกว่า
การลงทุนแบบสุ่มหรือไม่ โดยการเปรียบเทียบ กลุ่ม
หลักทรัพย์ (portfolio) ของผู้เชี่ยวชาญ 4 คน กับ
กลุ่มหลักทรัพย์ของนักเล่นหุ้นสมัครเล่น 4 คน กลุ่ม
หลักทรัพย์ประกอบด้วยหุ้นที่ซื้อขายกันใน NYSE
AMEX NASDAQ


2/21/2013
ให้ผู้เชี่ยวชาญเลือกหุ้นที่คิดว่าดีที่สุด
ให้นักเล่นหุ้นสมัครเล่นเลือกหุ้นจากการปาลูกดอก
Nattawoot Koowattanatianchai
5
ความสามารถหรือความโชคดี

ผลการทดสอบ



2/21/2013
จากการติดตามผลทุกๆ 6 เดือน ปรากฎว่าทีม
ผู้เชี่ยวชาญชนะทีมสมัครเล่นในการเล่นหุ้น 87 ครั้ง แพ้
57 ครั้ง
โดยเฉลี่ย ผลตอบแทนจากกุล่มหลักทรัพย์ของ
ผู้เชี่ยวชาญสูงกว่าผลตอบแทนถัวเฉลี่ยในตลาด Dow
Jones
หลักทรัพย์ของทีมผู้เชี่ยวชาญยังได้ผลตอบแทนโดย
เฉลี่ยเป็นบวก แต่หลักทรัพย์ของทีมสมัครเล่นได้
ผลตอบแทนโดยเฉลี่ยเป็นลบ
Nattawoot Koowattanatianchai
6
ความสามารถหรือความโชคดี

ความสามารถหรือความโชคดี



การเลือกแบบสุ่มเป็นการเฉลี่ยความเสี่ยง
ทีมผู้เชี่ยวชาญมักเลือกลงทุนในหลักทรัพย์ที่มีความเสี่ยง
สูง
หลักทรัพย์ที่มีความเสี่ยงสูงจะมีผลตอบแทนโดดเด่นกว่า
(outperform) หลักทรัพย์ที่มีความเสี่ยงต่่ากว่าในช่วง
ตลาดกระทิง (bull market)

2/21/2013
ตลาดกระทิง (Bull market) เป็นภาวะตลาดหุน
้ ที่ราคา
หลักทรัพย์โดยทัว
่ ไปมีระดับสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง เป็นระยะเวลา
ยาวนานไม่น้อยกว่า 2-3 เดือน และมีปริมาณการซื้อขายที่มาก
มีสภาพคล่องสูง ภาวะตลาดดังกล่าวมีความคึกคักเสมือนอาการ
เคลื่อนไหวของวัวกระทิง
Nattawoot Koowattanatianchai
7
ที่มาของผลตอบแทน

การลงทุนให้ผลตอบแทน 2 ประเภท

ผลตอบแทนในรูปรายได้ (income returns)


การเปลี่ยนแปลงของมูลค่าหรือราคา (capital
gains/losses)

2/21/2013
กระแสเงินสดหรือรายได้ที่ผล
ู้ งทุนได้รับระหว่างช่วงระยะเวลา
ลงทุน เช่น เงินปันผล หรือดอกเบี้ย
ผู้ลงทุนได้รับประโยชน์จากการขายหลักทรัพย์ได้ในราคาที่
สูงขึ้นและเผชิญความเสีย
่ งทีจ
่ ะขายหลักทรัพย์ได้ในราคาที่
ต่่าลง
Nattawoot Koowattanatianchai
8
ผลตอบแทนที่เป็นตัวเงิน
เงินปันผล
ราคาตลาด
Time
0
1
เงินลงทุน
เริ่มต้น
2/21/2013
Nattawoot Koowattanatianchai
9
ผลตอบแทนที่เป็นตัวเงิน

ผลตอบแทนที่เป็นตัวเงิน


เท่ากับ เงินปันผล + การเปลี่ยนแปลงของราคา
หลักทรัพย์
อาจแสดงเป็นตัวเงิน หรืออาจแสดงเป็นอัตราร้อยละของ
เงินลงทุนเริ่มต้น



2/21/2013
เท่ากับ (เงินปันผล + การเปลี่ยนแปลงของราคาหลักทรัพย์) ÷
เงินลงทุนเริ่มต้น
เท่ากับ อัตราผลตอบแทนจากเงินปันผล + อัตราผลตอบแทน
จากก่าไรส่วนเกิน
Dt+1 / Pt + (Pt+1 – Pt) / Pt
Nattawoot Koowattanatianchai
10
ผลตอบแทนที่เป็นตัวเงิน

การตัดสินใจว่าจะขาย
หลักทรัพย์หรือไม่ ไม่มผ
ี ล
กับการค่านวณผลตอบแทน
ที่เป็นตัวเงิน

2/21/2013
ถึงแม้ไม่ขาย ก็ควรพิจารณา
capital gain ในการวัดผล
การด่าเนินงานของ
หลักทรัพย์
Nattawoot Koowattanatianchai
11
ตัวอย่าง

สมมติว่าตอนต้นปี เราซื้อหุ้น
วอลมาร์ทมา 100 หุ้น ที่ราคา
$45 ตอนปลายปี เราได้เงินปัน
ผล $27 และราคาหุน
้ เพิ่มขึ้น
เป็น $48


2/21/2013
ผลตอบแทนที่เป็นตัวเงิน = $27
+ ($4,800 - $4,500) = $327
ผลตอบแทนแสดงเป็นอัตราร้อย
ละ = $327 ÷ $4,500 = 7.3%
Nattawoot Koowattanatianchai
12
ตัวอย่าง
$27
$4,800
Time
0
1
-$4,500
2/21/2013
Nattawoot Koowattanatianchai
13
ผลตอบแทนในช่วงระยะเวลาลงทุน
(holding period return)


ผลตอบแทนในช่วงระยะเวลา
ลงทุน (HPR) คือ ผลตอบแทน
ที่นักลงทุนจะได้รับจากการ
ลงทุนในหลักทรัพย์ตลอด T ปี
ถ้าผลตอบแทนในช่วงปีลงทุนที่
i เท่ากับ Ri ผลตอบแทนจาก
การถือหลักทรัพย์ T ปีจะเท่ากับ
HPR  (1  R1 )  (1  R2 )  (1  RT )  1
2/21/2013
Nattawoot Koowattanatianchai
14
ตัวอย่าง

สมมติว่าการลงทุนของเราให้ผลตอบแทนในช่วง 4 ปี
ดังนี้
Year Return
1
10%
2
-5%
3
20%
4
15%
2/21/2013
HPR 
 (1  R1 )  (1  R2 )  (1  R3 )  (1  R4 )  1
 (1.10)  (.95)  (1.20)  (1.15)  1
 .4421  44.21%
Nattawoot Koowattanatianchai
15
สถิติเกี่ยวกับผลตอบแทน


ผลตอบแทนเฉลี่ย (average return)
( R1    RT )
R
T
ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (standard deviation) ของ
ผลตอบแทน
( R1  R) 2  ( R2  R) 2   ( RT  R) 2
SD  VAR 
T 1

การแจกแจงความถี่ (frequency distribution) ของ
ผลตอบแทน

2/21/2013
การแสดงค่าผลตอบแทน (แกน x) และความถี่ของมัน (แกน y)
Nattawoot Koowattanatianchai
16
สถิติเกี่ยวกับผลตอบแทน

ผลตอบแทนเฉลี่ยเลขคณิต (arithmetic mean of
returns)
Year Return
1
10%
2
-5%
3
20%
4
15%

2/21/2013
R1  R2  R3  R4
Arithmetic average return 
4
10%  5%  20%  15%

 10%
4
ผลตอบแทนจากการลงทุนสี่ปีโดยเฉลี่ยเท่ากับ 10% ต่อปี
Nattawoot Koowattanatianchai
17
สถิติเกี่ยวกับผลตอบแทน

ผลตอบแทนเฉลี่ยเรขาคณิต (geometric
mean of returns)
Year Return
1
10%
2
-5%
3
20%
4
15%

Geometric average return 
(1  Rg ) 4  (1  R1 )  (1  R2 )  (1  R3 )  (1  R4 )
Rg  4 (1.10)  (.95)  (1.20)  (1.15)  1
 .095844  9.58%
การลงทุนของเราให้ผลตอบแทนแบบทบต้นโดยเฉลี่ย
9.58% ต่อปี ซึ่งจะท่าให้ผลตอบแทนในช่วงระยะเวลา
4
ลงทุน 4 ปี เท่ากับ 1.4421 (1.095844)
2/21/2013
Nattawoot Koowattanatianchai
18
สถิติเกี่ยวกับผลตอบแทน

ผลตอบแทนเฉลี่ยเลขคณิต VS ผลตอบแทน
เฉลี่ยเรขาคณิต



2/21/2013
ผลตอบแทนเฉลี่ยเลขคณิต > ผลตอบแทนเฉลี่ย
เรขาคณิต (ความแตกต่างมีมากขึ้นในหลักทรัพย์ที่มี
ความผันแปร หรือ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของ
ผลตอบแทน สูง)
ผลตอบแทนเฉลี่ยเลขคณิตประเมินค่าการลงทุนระยะยาว
สูงเกินไป
ผลตอบแทนเฉลี่ยเรขาคณิตประเมินค่าการลงทุนระยะ
สั้นต่่าเกินไป
Nattawoot Koowattanatianchai
19
ผลตอบแทนของหลักทรัพย์ในตลาด
ทุนสหรัฐ ปี 1926 - 2007
Source: © Stocks, Bonds, Bills, and Inflation 2008 Yearbook™, Ibbotson Associates, Inc., Chicago
(annually updates work by Roger G. Ibbotson and Rex A. Sinquefield). All rights reserved.
Series
Average
Annual Return
Standard
Deviation
Large Company Stocks
12.3%
20.0%
Small Company Stocks
17.1
32.6
Long-Term Corporate Bonds
6.2
8.4
Long-Term Government Bonds
5.8
9.2
U.S. Treasury Bills
3.8
3.1
Inflation
3.1
4.2
– 90%
2/21/2013
Nattawoot Koowattanatianchai
Distribution
0%
+ 90%
20
ผลตอบแทนของหลักทรัพย์ในตลาด
ทุนสหรัฐ ปี 1926 - 2007


ส่วนชดเชยความเสีย
่ ง (risk premium) คือ อัตรา
ผลตอบแทนส่วนที่เกินจากอัตราผลตอบแทนที่
ปราศจากความเสี่ยง (risk premium) ซึ่งเป็นส่วนที่
นักลงทุนควรจะได้จากการถือหลักทรัพย์ที่มีความ
เสี่ยง
จะสังเกตได้จากตลาดทุนว่าในระยะยาวนั้น อัตรา
ผลตอบแทนโดยเฉลี่ยจากการถือหลักทรัพย์ที่มี
ความเสี่ยง จะสูงกว่าอัตราผลตอบแทนจากการถือ
หลักทรัพย์ปราศจากความเสี่ยง (ตั๋วเงินคลัง)
2/21/2013
Nattawoot Koowattanatianchai
21
ผลตอบแทนของหลักทรัพย์ในตลาด
ทุนสหรัฐ ปี 1926 - 2007



ส่วนชดเชยความเสีย
่ งโดยเฉลี่ยตั้งแต่ปี 1926 –
2007 จากการถือหุ้นสามัญของบริษัทใหญ่ๆ =
12.3% - 3.8% = 8.5%
ส่วนชดเชยความเสีย
่ งโดยเฉลี่ยตั้งแต่ปี 1926 –
2007 จากการถือหุ้นสามัญของบริษัทเล็กๆ =
17.1% - 3.8% = 13.3%
ส่วนชดเชยความเสีย
่ งโดยเฉลี่ยตั้งแต่ปี 1926 –
2007 จากการถือหุ้นกู้ธุรกิจระยะยาว = 6.2% 3.8% = 2.4%
2/21/2013
Nattawoot Koowattanatianchai
22
Annual Return Average
The Risk-Return Tradeoff
18%
Small-Company Stocks
16%
L
14%
12%
10%
8%
6%
T-Bonds
4%
T-Bills
2%
0%
5%
10%
15%
20%
25%
30%
35%
Annual Return Standard Deviation
2/21/2013
Nattawoot Koowattanatianchai
23
ความเสี่ยงจากการลงทุน

โดยปกติแล้วผลตอบแทนจากการลงทุนมักไม่
แน่นอน (ยกเว้นการลงทุนที่ไม่มีความเสีย
่ ง เช่น
ฝากเงินธนาคาร หรือ ซื้อพันธบัตรรัฐบาล) ความ
เสี่ยงจากการลงทุน คือ ความน่าจะเป็นที่จะได้
ผลตอบแทนต่่าหรือเป็นลบ

2/21/2013
ยิ่งมีโอกาสมากเท่าไรที่จะได้ผลตอบแทนต่่ากว่า
ผลตอบแทนที่คาดหมายไว้ (หรือผลตอบแทนเป็นลบ)
การลงทุนนั้นก็ยิ่งมีความเสี่ยงสูงขึ้น
Nattawoot Koowattanatianchai
24
สถิติของความเสี่ยง (risk statistics)

ไม่มีนิยามของความเสี่ยงที่เป็นที่ยอมรับตรงกัน เรา
อาจดูการแจกแจงความถี่ของผลตอบแทนในการ
วัดความเสี่ยงของหลักทรัพย์


ยิ่งการแจกแจงมีการกระจายมาก ยิ่งเสี่ยงมาก
เราจะใช้ความแปรปรวน (variance) และค่า
เบี่ยงเบนมาตรฐาน (standard deviation) ในการ
วัดความเสี่ยง

2/21/2013
ความแปรปรวน = ค่าเฉลี่ยของก่าลังสองของความ
แตกต่างระหว่างผลตอบแทนที่เกิดขึ้นจริงกับผลตอบแทน
โดยเฉลี่ย
Nattawoot Koowattanatianchai
25
การแจกแจงปรกติ
(Normal Distribution)

มีความน่าจะเป็นประมาณ 68% ที่ผลตอบแทนต่อปีจากการถือหุน
้
สามัญของบริษัทใหญ่ๆจะอยู่ระหว่าง 20% ของผลตอบแทนเฉลี่ย
Probability
– 3s
– 47.7%
– 2s
– 27.7%
– 1s
– 7.7%
0
12.3%
+ 1s
32.3%
+ 2s
52.3%
68.26%
2/21/2013
Nattawoot Koowattanatianchai
+ 3s
72.3%
Return on
large company common
stocks
26
การแจกแจงปรกติ
(Normal Distribution)

ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของผลตอบแทนจากการถือ
หุ้นสามัญของบริษัทใหญ่ๆ ในช่วงปี 1926 - 2007
= 20%

2/21/2013
ถ้าผลตอบแทนจากการถือหุ้นสามัญของบริษัทใหญ่ๆ มี
การแจกแจงปรกติแล้ว จะมีความน่าจะเป็นประมาณ 2/3
ที่ผลตอบแทนต่อปีของการถือหลักทรัพย์ประเภทนี้จะมี
ค่าแตกต่างไปจากค่าผลตอบแทนเฉลี่ย (12.3%) อยู่
20%
Nattawoot Koowattanatianchai
27
ตัวอย่างการค่านวณ
Year
Actual
Return
Average
Return
Deviation from the
Mean
Squared
Deviation
1
.15
.105
.045
.002025
2
.09
.105
-.015
.000225
3
.06
.105
-.045
.002025
4
.12
.105
.015
.000225
.00
.0045
Totals
Variance = .0045 / (4-1) = .0015
2/21/2013
Standard Deviation = .03873
Nattawoot Koowattanatianchai
28
การบอกลักษณะของหลักทรัพย์

ลักษณะของหลักทรัพย์ที่เราสนใจคือ



ผลตอบแทนคาดหมาย (expected return)
ความแปรปรวนและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของ
ผลตอบแทน
ความแปรปรวนร่วม (covariance) หรือสหสัมพันธ์
ระหว่างผลตอบแทนของหลักทรัพย์ที่เราสนใจ กับ
ผลตอบแทนของหลักทรัพย์ตัวอื่นในตลาด หรือกับดัชนี
ตลาด (market index)
2/21/2013
Nattawoot Koowattanatianchai
29
การบอกลักษณะของหลักทรัพย์

สมมติฐาน



2/21/2013
นักลงทุนมีเหตุมีผล (rational): ถ้าทุกอย่างเท่ากันแล้ว นักลงทุนจะ
ชอบหลักทรัพย์ที่ให้ผลตอบแทนทีส
่ ูงกว่า และมีความเสีย
่ งต่า่ กว่า
(กราฟผลตอบแทน – ความเสี่ยง จะมีความชันเป็นบวก)
เนื่องจากนักลงทุนเป็นผูแ
้ สวงหาผลตอบแทนและเป็นผูร้ งั เกียจ
ความเสีย
่ ง นักลงทุนจะมีพฤติกรรมที่สอดคล้องกับหลักการมีเหตุมี
ผล นั่นคือ นักลงทุนจะต้องการผลตอบแทนทีส
่ ูงขึ้นถ้าต้องลงทุนใน
หลักทรัพย์ที่มีความเสี่ยงสูงขึ้น และจะยอมรับผลตอบแทนทีต
่ า่ ลงถ้า
หลักทรัพย์มีความเสี่ยงลดลง
นักลงทุนจะพยายามลดความเสี่ยงในขณะเดียวกันก็จะพยายามเพิ่ม
ผลตอบแทนให้ได้เท่ากับทีต
่ อ
้ งการ (หรือเพิ่มผลตอบแทนให้สูงขึ้น
โดยที่ความเสี่ยงไม่เพิ่มสูงเกินกว่าที่จะยอมรับได้)
Nattawoot Koowattanatianchai
30
การบอกลักษณะของหลักทรัพย์

พิจารณาตลาดทุนที่มีแค่หลักทรัพย์ 2 ตัว (กองทุน
หุ้นสามัญและกองทุนหุ้นกู้) และมีสถานะทาง
เศรษฐกิจ 3 รูปแบบ ซึ่งมีความน่าจะเป็นเท่าๆกันที่
จะเกิดขึ้น
Scenario
Recession
Normal
Boom
2/21/2013
Rate of Return
Probability Stock Fund Bond Fund
33.3%
-7%
17%
33.3%
12%
7%
33.3%
28%
-3%
Nattawoot Koowattanatianchai
31
การบอกลักษณะของหลักทรัพย์
Scenario
Recession
Normal
Boom
Expected return
Variance
Standard Deviation
2/21/2013
Stock Fund
Rate of
Squared
Return Deviation
-7%
0.0324
12%
0.0001
28%
0.0289
11.00%
0.0205
14.3%
Nattawoot Koowattanatianchai
Bond Fund
Rate of
Squared
Return Deviation
17%
0.0100
7%
0.0000
-3%
0.0100
7.00%
0.0067
8.2%
32
การบอกลักษณะของหลักทรัพย์
Scenario
Recession
Normal
Boom
Expected return
Variance
Standard Deviation
Stock Fund
Rate of
Squared
Return Deviation
-7%
0.0324
12%
0.0001
28%
0.0289
11.00%
0.0205
14.3%
Bond Fund
Rate of
Squared
Return Deviation
17%
0.0100
7%
0.0000
-3%
0.0100
7.00%
0.0067
8.2%
E (rS )  1  (7%)  1  (12%)  1  (28%)
3
3
3
E (rS )  11%
2/21/2013
Nattawoot Koowattanatianchai
33
การบอกลักษณะของหลักทรัพย์
Scenario
Recession
Normal
Boom
Expected return
Variance
Standard Deviation
Stock Fund
Rate of
Squared
Return Deviation
-7%
0.0324
12%
0.0001
28%
0.0289
11.00%
0.0205
14.3%
Bond Fund
Rate of
Squared
Return Deviation
17%
0.0100
7%
0.0000
-3%
0.0100
7.00%
0.0067
8.2%
(7%  11%) 2  .0324
2/21/2013
Nattawoot Koowattanatianchai
34
การบอกลักษณะของหลักทรัพย์
Scenario
Recession
Normal
Boom
Expected return
Variance
Standard Deviation
Stock Fund
Rate of
Squared
Return Deviation
-7%
0.0324
12%
0.0001
28%
0.0289
11.00%
0.0205
14.3%
Bond Fund
Rate of
Squared
Return Deviation
17%
0.0100
7%
0.0000
-3%
0.0100
7.00%
0.0067
8.2%
1
.0205  (.0324  .0001 .0289)
3
2/21/2013
Nattawoot Koowattanatianchai
35
การบอกลักษณะของหลักทรัพย์
Scenario
Recession
Normal
Boom
Expected return
Variance
Standard Deviation
Stock Fund
Rate of
Squared
Return Deviation
-7%
0.0324
12%
0.0001
28%
0.0289
11.00%
0.0205
14.3%
Bond Fund
Rate of
Squared
Return Deviation
17%
0.0100
7%
0.0000
-3%
0.0100
7.00%
0.0067
8.2%
14.3%  0.0205
2/21/2013
Nattawoot Koowattanatianchai
36
การบอกลักษณะของหลักทรัพย์
 7% 11%  18%
Scenario
Recession
Normal
Boom
Sum
Covariance
Stock
Bond
Deviation Deviation
-18%
10%
1%
0%
17%
-10%
Product
-0.0180
0.0000
-0.0170
Weighted
-0.0060
0.0000
-0.0057
-0.0117
-0.0117
 0.0057  1  0.017
3
2/21/2013
Nattawoot Koowattanatianchai
37
การบอกลักษณะของหลักทรัพย์

สหสัมพันธ์ระหว่างกองทุนทั้งสอง

Cov(a, b)
 a b
 .0117

 0.998
(.143)(.082)
2/21/2013
Nattawoot Koowattanatianchai
38
การบอกลักษณะของกลุ่มหลักทรัพย์

พิจารณากลุ่มหลักทรัพย์ (portfolio) ที่ประกอบด้วย
หลักทรัพย์ 2 ตัว ได้แก่ กองทุนหุ้นกู้ และกองทุน
หุ้นสามัญ ที่มีสัดส่วนของการลงทุนเท่าๆกัน
Scenario
Recession
Normal
Boom
Expected return
Variance
Standard Deviation
2/21/2013
Stock Fund
Rate of
Squared
Return Deviation
-7%
0.0324
12%
0.0001
28%
0.0289
11.00%
0.0205
14.3%
Nattawoot Koowattanatianchai
Bond Fund
Rate of
Squared
Return Deviation
17%
0.0100
7%
0.0000
-3%
0.0100
7.00%
0.0067
8.2%
39
การบอกลักษณะของกลุ่มหลักทรัพย์
Rate of Return
Stock fund Bond fund Portfolio
-7%
17%
5.0%
12%
7%
9.5%
28%
-3%
12.5%
Scenario
Recession
Normal
Boom
Expected return
Variance
Standard Deviation
11.00%
0.0205
14.31%
7.00%
0.0067
8.16%
squared deviation
0.0016
0.0000
0.0012
9.0%
0.0010
3.08%
rP  wB rB  wS rS
5%  50%  (7%)  50%  (17%)
2/21/2013
Nattawoot Koowattanatianchai
40
การบอกลักษณะของกลุ่มหลักทรัพย์
Scenario
Recession
Normal
Boom
Expected return
Variance
Standard Deviation
Rate of Return
Stock fund Bond fund Portfolio
-7%
17%
5.0%
12%
7%
9.5%
28%
-3%
12.5%
11.00%
0.0205
14.31%
7.00%
0.0067
8.16%
squared deviation
0.0016
0.0000
0.0012
9.0%
0.0010
3.08%
E (rP )  wB E (rB )  wS E (rS )
9%  50%  (11%)  50%  (7%)
9%  1  (5%)  1  (9.5%)  1  (12.5%)
3
3
3
2/21/2013
Nattawoot Koowattanatianchai
41
การบอกลักษณะของกลุ่มหลักทรัพย์
Scenario
Recession
Normal
Boom
Expected return
Variance
Standard Deviation
Rate of Return
Stock fund Bond fund Portfolio
-7%
17%
5.0%
12%
7%
9.5%
28%
-3%
12.5%
11.00%
0.0205
14.31%
7.00%
0.0067
8.16%
squared deviation
0.0016
0.0000
0.0012
9.0%
0.0010
3.08%
σ P2  (wB σ B )2  (wS σ S )2  2(wB σ B )(w S σ S )ρBS
0.001  ( 0.5  8.16% )2  ( 0.5 14.31% )2
 2( 0.5  8.16% )( 0.5 14.31% )(0.998)
2/21/2013
Nattawoot Koowattanatianchai
42
การบอกลักษณะของกลุ่มหลักทรัพย์
Scenario
Recession
Normal
Boom
Expected return
Variance
Standard Deviation
Rate of Return
Stock fund Bond fund Portfolio
-7%
17%
5.0%
12%
7%
9.5%
28%
-3%
12.5%
11.00%
0.0205
14.31%
7.00%
0.0067
8.16%
squared deviation
0.0016
0.0000
0.0012
9.0%
0.0010
3.08%
1
σ  (.0016  .0000  .0012)  0.001
3
2
P

สังเกตได้ว่าความเสี่ยงจากการถือกลุ่มหลักทรัพย์ (หรือการ
กระจายเงินลงทุน) ลดลง
2/21/2013
Nattawoot Koowattanatianchai
43
เซ็ทของกลุ่มหลักทรัพย์ทม
ี่ ี
ประสิทธิภาพ (กรณีหลักทรัพย์สองตัว)
2/21/2013
% in stocks
Risk
Return
0%
5%
10%
15%
20%
25%
30%
35%
40%
45%
50.00%
55%
60%
65%
70%
75%
80%
85%
90%
95%
100%
8.2%
7.0%
5.9%
4.8%
3.7%
2.6%
1.4%
0.4%
0.9%
2.0%
3.08%
4.2%
5.3%
6.4%
7.6%
8.7%
9.8%
10.9%
12.1%
13.2%
14.3%
7.0%
7.2%
7.4%
7.6%
7.8%
8.0%
8.2%
8.4%
8.6%
8.8%
9.00%
9.2%
9.4%
9.6%
9.8%
10.0%
10.2%
10.4%
10.6%
10.8%
11.0%
พิจารณาการลงทุนใน
กองทุนหุ้นกู้และกองทุน
หุ้นสามัญ ที่มีสัดส่วนเงิน
ลงทุนต่างไปจากเดิม
Nattawoot Koowattanatianchai
44
เซ็ทของกลุ่มหลักทรัพย์ทม
ี่ ี
ประสิทธิภาพ (กรณีหลักทรัพย์สองตัว)
2/21/2013
% in stocks
Risk
Return
0%
5%
10%
15%
20%
25%
30%
35%
40%
45%
50.00%
55%
60%
65%
70%
75%
80%
85%
90%
95%
100%
8.2%
7.0%
5.9%
4.8%
3.7%
2.6%
1.4%
0.4%
0.9%
2.0%
3.08%
4.2%
5.3%
6.4%
7.6%
8.7%
9.8%
10.9%
12.1%
13.2%
14.3%
7.0%
7.2%
7.4%
7.6%
7.8%
8.0%
8.2%
8.4%
8.6%
8.8%
9.00%
9.2%
9.4%
9.6%
9.8%
10.0%
10.2%
10.4%
10.6%
10.8%
11.0%
กลุ่มหลักทรัพย์บางกลุ่ม
ดีกว่ากลุ่มอื่น (ความเสี่ยง
ต่่ากว่าที่อัตราผลตอบแทน
เดียวกัน หรือผลตอบแทน
สูงกว่าทีร่ ะดับความเสี่ยง
เดียวกัน)
Nattawoot Koowattanatianchai
45
การกระจายเงินลงทุน
return
การกระจายเงินลงทุน
ได้ผลดียิ่งขึ้นเมื่อ
สหสัมพันธ์ระหว่าง
หลักทรัพย์สองตัว
ลดลง
100%
stocks
100%
bonds
 = -1.0
2/21/2013
 = 0.2

 = 1.0
Nattawoot Koowattanatianchai
46
return
เซ็ทของกลุ่มหลักทรัพย์ทม
ี่ ี
ประสิทธิภาพ (หลักทรัพย์หลายตัว)
หลักทรัพย์แต่ละ
ตัวในพอร์ต
P
2/21/2013
Nattawoot Koowattanatianchai
47
return
เซ็ทของกลุ่มหลักทรัพย์ทม
ี่ ี
ประสิทธิภาพ (หลักทรัพย์หลายตัว)
หลักทรัพย์แต่ละ
ตัวในพอร์ต
กลุ่มหลักทรัพย์ทม
ี่ ีความ
แปรปรวนต่่าสุด (minimum
variance portfolio)
2/21/2013
Nattawoot Koowattanatianchai
P
48
การประกาศข่าวที่มิได้คาดหมายและ
ผลตอบแทนคาดหมาย

ผลตอบแทนของหลักทรัพย์ (R) ประกอบด้วย


ผลตอบแทนคาดหมาย ( R )
ผลตอบแทนที่ไม่คาดหมาย (U)
R  R U
2/21/2013
Nattawoot Koowattanatianchai
49
การประกาศข่าวที่มิได้คาดหมายและ
ผลตอบแทนคาดหมาย

ข่าวที่ประกาศออกมา (เช่น การ
จ่ายเงินปันผล หรือข่าวที่เกี่ยวกับ
ก่าไรของกิจการ) จะประกอบด้วยส่วน
ที่นักลงทุนคาดหมายเอาไว้ และส่วนที่
ไม่ได้คาดหมายเอาไว้ (surprise)


2/21/2013
Announcement = Expected Part +
Surprise
ส่วนที่คาดหมายเอาไว้ของข่าวจะเป็น
ข้อมูลที่ตลาดใช้เพื่อคาดหมาย
ผลตอบแทน
Nattawoot Koowattanatianchai
50
การประกาศข่าวที่มิได้คาดหมายและ
ผลตอบแทนคาดหมาย

ข่าวที่ประกาศออกมา (เช่น การจ่ายเงินปันผล หรือ
ข่าวที่เกี่ยวกับก่าไรของกิจการ) จะประกอบด้วย
ส่วนที่นักลงทุนคาดหมายเอาไว้ และส่วนที่ไม่ได้
คาดหมายเอาไว้ (surprise)

ส่วนของข่าวที่น่าประหลาดใจจะส่งผลกระทบต่อ U

2/21/2013
ความเสีย
่ งของการลงทุนในหลักทรัพย์ขึ้นอยู่กบ
ั ส่วนของข่าวที่
น่าประหลาดใจเท่านั้น ซึ่งในกลุ่มหลักทรัพย์ที่กระจายความ
เสี่ยงแล้ว (well-diversified portfolio) ความเสีย
่ งของ
หลักทรัพย์จะถูกท่าให้หมดไปจนเหลือแค่ความเสี่ยงแบบเป็น
ระบบ (systematic risk) เท่านั้น
Nattawoot Koowattanatianchai
51
การกระจายเงินลงทุนกับความเสี่ยง
ของกลุ่มหลักทรัพย์


การกระจายเงินลงทุนสามารถลดความผันแปรของ
ผลตอบแทนโดยที่ไม่ท่าให้ผลตอบแทนคาดหมาย
ลดลงด้วย
การลดความเสี่ยงจากการกระจายเงินลงทุนได้ผล
เนื่องจากผลตอบแทนที่ต่ากว่าที่คาดหมายไว้จาก
หลักทรัพย์ตัวหนึ่ง ถูกชดเชยด้วยผลตอบแทนที่สูง
กว่าที่คาดหมายไว้จากหลักทรัพย์อีกตัว
2/21/2013
Nattawoot Koowattanatianchai
52
การกระจายเงินลงทุนกับความเสี่ยง
ของกลุ่มหลักทรัพย์

อย่างไรก็ตาม ยังมีความเสี่ยง
จากการถือกลุ่มหลักทรัพย์ที่ไม่
สามารถถูกกระจายให้หมดไป
ได้ (เนื่องจากหลักทรัพย์แต่ละ
คู่ในกลุ่มหลักทรัพย์ไม่มีทาง
เป็น -1) เราเรียกส่วนของความ
เสี่ยงนี้ว่า ความเสี่ยงที่มีระบบ
(systematic risk)
2/21/2013
Nattawoot Koowattanatianchai
53
การกระจายเงินลงทุนกับความเสี่ยง
ของกลุ่มหลักทรัพย์

ส่วนของความเสี่ยงที่ไม่สามารถถูก
กระจายให้หมดไปได้ เป็นความ
เสี่ยงที่ส่งผลกระทบต่อหลักทรัพย์
โดยรวม เช่น การเปลี่ยนแปลงของ
อัตราดอกเบี้ยโดยไม่ได้คาดหมาย
สงคราม วิกฤติเศรษฐกิจ วัฏจักร
ธุรกิจ เป็นต้น

2/21/2013
ความเสี่ยงของตลาด (market risk)
หรือ ความเสี่ยงที่เป็นระบบ
(systematic risk)
Nattawoot Koowattanatianchai
54
การกระจายเงินลงทุนกับความเสี่ยง
ของกลุ่มหลักทรัพย์

ส่วนของความเสี่ยงที่สามารถถูก
กระจายให้หมดไปได้ เป็นความ
เสี่ยงที่ส่งผลกระทบต่อธุรกิจใด
ธุรกิจหนึ่ง หรือกลุ่มธุรกิจเล็กๆ
เช่น การประท้วงของพนักงาน
ผู้บริหารระดับสูงตกเครื่องบินตาย
เป็นต้น

2/21/2013
ความเสี่ยงจ่าเพาะของธุรกิจ (firmspecific risk) หรือความเสี่ยงที่ไม่
เป็นระบบ (nonsystematic risk)
Nattawoot Koowattanatianchai
55
การกระจายเงินลงทุนกับความเสี่ยง
ของกลุ่มหลักทรัพย์

Diversifiable Risk;
Nonsystematic Risk; Firm
Specific Risk; Unique Risk
Nondiversifiable risk; Systematic Risk;
Market Risk
n
2/21/2013
Nattawoot Koowattanatianchai
56
Risk and Diversification



ความเสี่ยงทั้งหมด = ความเสี่ยงที่เป็นระบบ + ความ
เสี่ยงที่ไม่เป็นระบบ
ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของผลตอบแทนสะท้อนถึง
ความเสี่ยงทั้งหมด
ส่าหรับกลุ่มหลักทรัพย์ที่ถูกกระจายความเสี่ยงแล้ว
ความเสี่ยงที่ไม่เป็นระบบจะไม่มีนัยยะส่าคัญ


2/21/2013
ดังนั้น ความเสี่ยงทั้งหมดของกลุ่มหลักทรัพย์ที่ถูก
กระจายความเสี่ยงแล้วจะเท่ากับความเสี่ยงที่เป็นระบบ
รางวัลจากการเสี่ยงลงทุน (ผลตอบแทนคาดหมายของ
หลักทรัพย์) ขึ้นอยู่ความเสี่ยงที่เป็นระบบเท่านั้น
Nattawoot Koowattanatianchai
57
return
กลุ่มหลักทรัพย์ที่เหมาะสมที่มห
ี ลักทรัพย์
ที่ปราศจากความเสี่ยงเป็นส่วนประกอบ
100%
stocks
rf
100%
bonds

อัตราผลตอบแทนของ
หลักทรัพย์ทป
ี่ ราศจากความ
เสี่ยง เช่น ตัว
๋ เงินคลัง
2/21/2013
Nattawoot Koowattanatianchai
58
return
กู้และให้กู้ที่อัตราที่ปราศจากความเสี่ยง
100%
stocks
M
rf
100%
bonds

เส้นตรงที่ลากผ่าน rf และ M แสดงถึงเซ็ทกลุ่มหลักทรัพย์ทเี่ กิดขึน
้ ได้ ถ้านักลงทุนจัดสรร
เงินลงทุนของเขาในหลักทรัพย์ที่ปราศจากความเสี่ยงและกลุ่มหลักทรัพย์ M ส่วนของ
เส้นตรงที่เหนือ M แสดงถึงการกู้ที่ปราศจากความเสี่ยง ส่วนของเส้นตรงระหว่าง rf และ M
แสดงถึงการให้กู้ที่ปราศจากความเสี่ยง
2/21/2013
Nattawoot Koowattanatianchai
59
return
กู้และให้กู้ที่อัตราที่ปราศจากความเสี่ยง
rf
P
เส้น CML (capital market line) แสดงถึงขอบเขตที่มีประสิทธิภาพ ถ้ามีหลักทรัพย์ที่
ปราศจากความเสี่ยงเข้ามาในระบบ เราสามารถหาเส้นนี้ได้ถ้ารู้ rf และ ขอบเขตที่มี
ประสิทธิภาพของกลุ่มหลักทรัพย์ทม
ี่ ีความเสี่ยง
2/21/2013
Nattawoot Koowattanatianchai
60
return
ดุลยภาคในตลาด
M
rf
P
หลังจากหาเส้น CML ได้แล้ว นักลงทุนจะเลือกลงทุนบนเส้นนี้ ซึ่งเป็นกลุ่มหลักทรัพย์ที่
ประกอบด้วย หลักทรัพย์ที่ปราศจากความเสี่ยงและกลุม
่ หลักทรัพย์ตลาด (market
portfolio) ในตลาดทุนที่ผู้ลงทุนแต่ละคนมีการคาดคะเนเหมือนกัน (homogeneous
expectation) ซึ่งจะท่าให้ M ของนักลงทุนทุกคนจะมีต่าแหน่งเดียวกัน
2/21/2013
Nattawoot Koowattanatianchai
61
return
ดุลยภาคในตลาด
100%
stocks
rf
100%
bonds

ต่าแหน่งบนเส้น CML ของนักลงทุนจะขึ้นอยู่กับระดับการรังเกียจความเสี่ยงของเขา
ประเด็นส่าคัญคือ เส้น CML ของนักลงทุนทั้งหมดจะอยู่ที่ต่าแหน่งเดียวกัน
2/21/2013
Nattawoot Koowattanatianchai
62
ความเสี่ยงจากการถือกลุ่มหลักทรัพย์
ตลาด


ความเสี่ยงของหลักทรัพย์ในกลุ่มหลักทรัพย์ใหญ่ๆ
มักถูกวัดด้วยค่าบีต้า (β) ของหลักทรัพย์ตัวนั้น
บีต้าของหลักทรัพย์ตัวหนึ่งวัดความไวของ
หลักทรัพย์ตัวนั้นต่อการเปลี่ยนแปลงของกลุ่ม
หลักทรัพย์ตลาด
i 
2/21/2013
Cov( Ri , RM )
 ( RM )
2
 ( Ri )

 ( RM )
Nattawoot Koowattanatianchai
63
ความเสี่ยงจากการถือกลุ่มหลักทรัพย์
ตลาด




หลักทรัพย์ทม
ี่ ี β = 1 จะมีความผันแปร (ความเสี่ยง)
ไม่มากและไม่น้อยไปกว่าความผันแปรในตลาด
(ความเสี่ยงของธุรกิจเท่ากับความเสี่ยงของตลาด)
หลักทรัพย์ทม
ี่ ี β > 1 จะมีความผันแปร (ความเสี่ยง)
มากกว่าความผันแปรในตลาด
หลักทรัพย์ที่มี β < 1 จะมีความผันแปร (ความเสี่ยง)
น้อยกว่าความผันแปรในตลาด
หลักทรัพย์ทม
ี่ ี β = 0 จะไม่มีความผันแปรใดๆ เลย
2/21/2013
Nattawoot Koowattanatianchai
64
ความสัมพันธ์ระหว่างความเสี่ยงและ
ผลตอบแทนคาดหมาย (CAPM)

ผลตอบแทนคาดหมายในตลาด = ผลตอบแทนที่
ปราศจากความเสี่ยง + ส่วนชดเชยความเสี่ยงใน
ตลาด
R M  RF  Market Risk Premium

ผลตอบแทนคาดหมายของหลักทรัพย์ที่อยู่ในกลุ่ม
หลักทรัพย์ที่กระจายความเสี่ยงแล้ว = ผลตอบแทนที่
ปราศจากความเสี่ยง + ค่าบีต้าของหลักทรัพย์ x ส่วน
ชดเชยความเสี่ยงในตลาด
R i  RF  β i  ( R M  RF )
2/21/2013
Nattawoot Koowattanatianchai
65
ความสัมพันธ์ระหว่างความเสี่ยงและ
ผลตอบแทนคาดหมาย (CAPM)

สูตรดังกล่าวเรียกว่า แบบจ่าลองการ
ก่าหนดราคาทรัพย์สินฝ่ายทุน
(capital asset pricing model)


2/21/2013
ถ้าบีต้า = 0 ผลตอบแทนคาดหมาย = RF
ถ้าบีต้า = 1 ผลตอบแทนคาดหมาย = RM
Nattawoot Koowattanatianchai
66
Expected return
ความสัมพันธ์ระหว่างความเสี่ยงและ
ผลตอบแทนคาดหมาย (CAPM)
R i  RF  β i  ( R M  RF )
RM
RF
1.0
2/21/2013
Nattawoot Koowattanatianchai

67
ความสัมพันธ์ระหว่างความเสี่ยงและ
ผลตอบแทนคาดหมาย (CAPM)
Expected
return
Ri  3%  1.5  (10%  3%)  13.5%
13.5%
3%
1.5
β i  1 .5
2/21/2013
RF  3%
Nattawoot Koowattanatianchai

R M  10%
68
ความสัมพันธ์ระหว่างความเสี่ยงและ
ผลตอบแทนคาดหมาย (CAPM)


ผลตอบแทนที่เป็นตัวเงิน = Dt+1/Pt + (Pt+1 – Pt)/Pt
ถ้าผลตอบแทนของหลักทรัพย์สูงกว่าที่ได้จาก
CAPM แสดงว่านักลงทุนมองว่าหลักทรัพย์ตัวนั้นให้
ผลตอบแทนสูงกว่าผลตอบแทนที่ควรจะได้จากระดับ
ความเสี่ยงของมัน

2/21/2013
สถานการณ์นี้ชี้ว่า ราคาของหลักทรัพย์ในปัจจุบัน (Pt) ต่่า
เกินไป ดังนั้นนักลงทุนจะซื้อหลักทรัพย์ตัวนั้น
Nattawoot Koowattanatianchai
69
4/6/2011
2/21/2013
Natt Koowattanatianchai
Nattawoot Koowattanatianchai
70
70

Email:


Homepage:


087- 5393525
Office:

2/21/2013
02-9428777 Ext. 1221
Mobile:


http://fin.bus.ku.ac.th/nattawoot.htm
Phone:


fbusnwk@ku.ac.th
ชั้น 9 ตึกใหม่คณะบริหารธุรกิจ ม.
เกษตรศาสตร์ บางเขน
Nattawoot Koowattanatianchai
71
Download