Uploaded by swordofkirito

NSC Final Report 1

advertisement
แบบฟอร์มหน้าปกข้อเสนอโครงการ
รหัสโครงการ 25P12N0116
ข้อเสนอโครงการ
การแข่งขันพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์แห่งประเทศไทย
ชื่อโครงการ
(ภาษาไทย) อินสเปกเซอร์ ไลท์:
ผู้ช่วยสาหรับการเรียนรู้ในการต่อวงจรไฟฟ้าเบื้องต้น
(ภาษาอังกฤษ) InspectCir Lite: Learning Assistant for Basic Circuit
Building Practices
ประเภทโปรแกรมที่เสนอ หมวด 12 โปรแกรมเพื่อส่งเสริมทักษะการเรียนรู้
ทีมพัฒนา
หัวหน้าโครงการ
1. ชื่อ-นามสกุล นาย นราวิชญ์ อินยศ
วัน/เดือน/ปีเกิด 9 มีนาคม 2547 ระดับการศึกษา ปี 1 สถานศึกษา
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ที่อยู่ตามทะเบียนบ้าน 108 หมู่ 6 ต.เมืองชุม อ.เวียงชัย จ.เชียงราย
สถานทีต
่ ิดต่อ ชั้น 2 อาคาร 4 ชั้น คณะวิศวกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
โทรศัพท์..................มือถือ 091-7291840 โทรสาร....................e-mail
narawit_i@cmu.ac.th
ลงชื่อ.....................................................
ผู้ร่วมโครงการ
2. ชื่อ-นามสกุล นาย ศิวกร เครื่องคา
วัน/เดือน/ปีเกิด. 25 ธันวาคม 2546.ระดับการศึกษา ปี 1 สถานศึกษา
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ที่อยู่ตามทะเบียนบ้าน. บ้านเลขที่ 25 ร้องแหย่งซอย 4 ต.สันป่าเปา อ.สันทราย
จ.เชียงใหม่
สถานทีต
่ ิดต่อ ชั้น 2 อาคาร 4 ชั้น คณะวิศวกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
โทรศัพท์..................มือถือ 062-0355575 โทรสาร....................e-mail
netevgjqw@gmail.com
ลงชื่อ.....................................................
ผู้ร่วมโครงการ
3. ชื่อ-นามสกุล นาย ชยากร ธรรมศิริ
วัน/เดือน/ปีเกิด 2 พฤษาภาคม 2545 ระดับการศึกษา ปี 1 สถานศึกษา
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ที่อยู่ตามทะเบียนบ้าน 395/74 หมู่ 22 ต.รอบเวียง อ.เมือง จ.เชียงราย 57000
สถานทีต
่ ิดต่อ ชั้น 2 อาคาร 4 ชั้น คณะวิศวกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
โทรศัพท์..................มือถือ 084-5055389 โทรสาร....................e-mail
chayakorn_th@cmu.ac.th
ลงชื่อ.....................................................
อาจารย์ทป
ี่ รึกษาโครงการ
ชื่อ-นามสกุล นายกานต์ ปทานุคม
สังกัด/สถาบัน คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
สถานทีต
่ ิดต่อ ชั้น 4 ตึก 30 ปี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
โทรศัพท์..................มือถือ 064-6095976 โทรสาร....................e-mail
karn@eng.cmu.ac.th
ค
า
รั
บ
ร
อ
ง
“โครงการนี้เป็นความคิดริเริ่มของนักพัฒนาโครงการและไม่ได้ลอกเลียนแบบมาจากผู้อื่นผู้ใด
ข้าพเจ้าขอรับรองว่าจะให้คาแนะนาและสนับสนุนให้นักพัฒนาในความดูแลของข้าพเจ้าดาเนิ
นการศึกษา/วิจัย/พัฒนาตามหัวข้อที่เสนอและจะทาหน้าที่ประเมินผลงานดังกล่าวให้กับโครงก
ารฯ ด้วย”
ลงชื่อ.....................................................
หัวหน้าสถาบัน (ประธานหลักสูตร)
ชื่อ-นามสกุล นายจักรพงษ์ จารูญ
สังกัด/สถาบัน คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
สถานทีต
่ ิดต่อ ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
โทรศัพท์..................มือถือ.................โทรสาร....................e-mail
chakkapong.ch@cmu.ac.th
คารับรอง
“ข้าพเจ้าขอรับรองว่าผู้พัฒนามีสิทธิข
์ อรับทุนสนับสนุนตามเงื่อนไขที่โครงการฯกาหนดและอนุ
ญาตให้ดาเนินการศึกษา/วิจย
ั /พัฒนาตามหัวข้อที่ได้เสนอ
มานี้ในสถาบันได้ภายใต้การบังคับบัญชาของข้าพเจ้า”
ลงชื่อ.....................................................
บทคัดย่อ
สรุปเนื้อหาตั้งแต่บทนา จนถึงบนสรุป
Abstract
บทคัดย่อเวอร์ชั่นภาษาอังกฤษ
คาสาคัญ (Key Words)
circuit, protoboard, circuit diagram, netlist, image processing, computer vision
สาระสาคัญของโครงการ
โครงการนี้เป็นโครงการที่มีเป้าหมายเพื่อพัฒนาโปรแกรมต้นแบบสาหรับช่วยผู้เรียน
ในการเรี ย นวิ ช าวงจรไฟฟ้ า และอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ภ าคปฎิ บั ติ เ บื้ อ งต้ น โดยการสร้ า ง AI
เพื่ อ แปลงภาพการต่ อ วงจรบนบอร์ ด ทดลองวงจรอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ (Protoboard) ที่ ผู้ ใ ช้ ต่ อ
ให้ เ ป็ น ค าอธิ บ ายการเชื่ อ มวงจร (Circuit Netlist) และ แผนภาพวงจร (Circuit Diagram)
เ มื่ อ โ ป ร แ ก ร ม อ่ า น ข้ อ มู ล เ กี่ ย ว กั บ ก า ร เ ชื่ อ ม ต่ อ บ น บ อ ร์ ด ท ด ล อ ง ไ ด้ แ ล้ ว
โปรแกรมก็ จ ะสามารถแนะน าผู้ เรี ย นเกี่ ย วกั บ ความถู ก ต้ อ งของวงจร เช่ น วงจร ปิ ด (Open
Circuit) ห รื อ
ก า ร ลั ด ว ง จ ร
( Close Circuit) เ ป็ น ต้ น
นอกจากนั้นโปรแกรมยังสามารถช่วยผู้เรียนคานวนค่าแรงดันและกระแสที่อุ ปกรณ์ต่าง ๆ ได้
ซึ่งจะเห็นได้ว่าโปรแกรมนี้จะอานวยความสะดวกให้ผู้เรียนสามารถทดลองต่อวงจรบนบอร์ดท
ด
ล
อ
ง
ไ
ด้
ด้
ว
ย
ตั
ว
เ
อ
ง
และลดความผิดพลาดที่อาจจะก่อให้เกิดความเสียหายต่อวงจรอิเล็กทรอนิกส์
หลักการและเหตุผล
วิชาวงจรไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์นั้นเป็นวิชาพื้นฐานที่สาคัญในการเรียนสาขาต่าง ๆ
ไ ม่ ว่ า จ ะ เ ป็ น วิ ศ ว ก ร ร ม ไ ฟ ฟ้ า , วิ ศ ว ก ร ร ม หุ่ น ย น ต์ , ช่ า ง อิ เ ล็ ก ท ร อ นิ ก ส์ เ ป็ น ต้ น
วิชาวงจรไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ สามารถถูกพบเจอได้ตั้งแต่ในการเรียนระดับมัธยมศึกษา,
ประกาศนี ย บั ต รวิ ช าชี พ , ประกาศนี ย บั ต รวิ ช าชี พ ขั้ น สู ง ไปจนถึ ง ระดั บ ปริ ญ ญาตรี
ซึ่ ง ใ น ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ช า ด้ า น อิ เ ล็ ก ท ร อ นิ ก ส์ แ ล ะ ว ง จ ร ไ ฟ ฟ้ า ใ น ภ า ค ป ฎิ บั ติ นั้ น
ผู้ เ รี ย น มั ก จ ะ ต้ อ ง ฝึ ก ต่ อ ว ง จ ร ต่ า ง ๆ ล ง บ น บ อ ร์ ด ท ด ล อ ง ว ง จ ร อิ เ ล็ ก ท ร อ นิ ก ส์
ซึ่ ง ในช่ ว งแรกของการฝึ ก ต่ อ วงจรนั้ น ผู้ เ รี ย นมั ก จะมี ปั ญ หาในการต่ อ วงจรไม่ ถู ก ต้ อ ง
แ ล ะ ไ ม่ ส า ม า ร ถ ต ร ว จ ส อ บ ด้ ว ย ตั ว เ อ ง ไ ด้ ว่ า มี ค ว า ม ผิ ด พ ล า ด อ ย่ า ง ไ ร
ท า ใ ห้ รู้ สึ ก ว่ า ก า ร ต่ อ ว ง จ ร เ ป็ น สิ่ ง ที่ ยุ่ ง ย า ก
แ ล ะ ผู้ เ รี ย น ห ล า ย ค น อ า จ จ ะ ถึ ง ขั้ น ที่ พ า ล จ ะ ไ ม่ ช อ บ ก า ร ต่ อ ว ง จ ร ไ ป เ ล ย ก็ มี
ดังนั้นในการเรียนการสอนวิชาวงจรไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ ภาคปฎิบัติให้มีประสิทธิภาพนั้น
จ า เ ป็ น จ ะ ต้ อ ง มี ผู้ ส อ น ห รื อ ผู้ ช่ ว ย ส อ น ม า ดู แ ล อ ย่ า ง ใ ก ล้ ชิ ด
ทาให้อาจจะไม่เหมาะสมกับรูปแบบการสอนแบบออนไลน์ที่มีการขยายตัวอย่างมากในปัจจุบัน
นี้ ดั ง นั้ น ใ น โ ค ร ง ก า ร นี้ จึ ง เ ส น อ แ น ว คิ ด ที่ จ ะ ส ร้ า ง AI
ม า เ ป็ น ผู้ ช่ ว ย ส า ห รั บ ก า ร เ รี ย น รู้ ใ น ก า ร ต่ อ ว ง จ ร ไ ฟ ฟ้ า เ บื้ อ ง ต้ น
เพื่อให้ผู้เรียนสามารถฝึก ต่อวงจรบนบอร์ดทดลองเองได้ถึงแม้จะไม่มีผู้สอน หรือผู้ช่วยสอน
ม
า
ดู
แ
ล
อ
ย่
า
ง
ใ
ก
ล้
ชิ
ด
โดยผู้ใช้สามารถใช้งานได้เพียงแค่ถ่ายภาพวงจรที่ต่อบนบอร์ดทดลองและอัพโหลดภาพนั้นใ
ห้ AI ช่ ว ย วิ เ ค ร า ะ ห์ ผู้ ใ ช้ ก็ จ ะ ส า ม า ร ถ ต ร ว จ ส อ บ ค ว า ม ถู ก ต้ อ ง ข อ ง ว ง จ ร ที่ ต่ อ ไ ด้
ซึ่ ง ก า ร ฝึ ก ต่ อ ว ง จ ร ใ น รู ป แ บ บ ที่ มี
AI
มาเป็นผู้ช่วยนี้จะส่งผลให้ผู้เรียนมีความสนุกมากขึ้นและทาให้การฝึกฝนด้วยตนเองนั้นมีประสิ
ทธิภาพมากขึ้น
วัตถุประสงค์
1. เพื่อพัฒนาโปรแกรมต้นแบบสาหรับสร้างแผนผังวงจรอิเล็กทรอนิกส์ย่างง่ายจากภาพ
ถ่ายการต่อวงจรบนบอร์ดทดลอง
2. เพื่อช่วยเหลือผู้เรียนในการตรวจสอบความถูกต้องของวงจร
และลดความเสียหายต่อวงจรอิเล็กทรอนิกส์ที่อาจจะเกิดขึ้นจากการต่อวงจรผิดได้
ปัญหาหรือประโยชน์ทเี่ ป็นเหตุผลให้ควรพัฒนาโปรแกรม
ปั ญ ห า เ ริ่ ม ต้ น ที่ ท า ใ ห้ เ กิ ด แ น ว คิ ด ใ น โ ค ร ง ง า น นี้ ก็ คื อ
ผู้ ที่ ส น ใ จ อ ย า ก จ ะ เ ริ่ ม ต้ น ศึ ก ษ า เ กี่ ย ว กั บ ว ง จ ร อิ เ ล็ ก ท ร อ นิ ก ส์ ห รื อ
ผู้ เ รี ย น ที่ อ ยู่ ใ น ช่ ว ง ข อ ง ก า ร ฝึ ก หั ด ก า ร ต่ อ ว ง จ ร อิ เ ล็ ก ท ร อ นิ ก ส์ อ ย่ า ง ง่ า ย
เกี่ยวทั้งหมดนั้นก็จะยังไม่ได้มีความชานาญหรือความรู้ความเข้าใจในระบบของวงจรที่มากพอ
เมื่อได้มาต่อวงจรอิเล็กทรอนิกส์แล้วได้ก่อให้เกิดโอกาสเสี่ยงที่จะทาให้ องค์ประกอบของวงจร
หรือ วงจรอิเล็กทรอนิกส์เสียหายได้ จากการที่ต่อวงจรอิเล็กทรอนิกส์ที่ไม่ถูกต้องและเหมาะสม
โดยปกติ ใ นช่ ว งเริ่ ม ต้ น ของการฝึ ก ต่ อ วงจรนั้ น อาจจะต้ อ งมี ค รู อาจารย์ หรื อ ผู้ ช่ ว ยสอน
ม า ช่ ว ย ต ร ว จ ส อ บ ว ง จ ร ว่ า ถู ก ต้ อ ง ห รื อ ไ ม่
ดั ง นั้ น โปรแกรมนี้ จึ ง เริ่ ม ต้ น จากแนวคิ ด เพื่ อ ช่ ว ยเหลื อ ผู้ ที่ ส นใจจะเริ่ ม ต้ น เรี ย นรู้ ร ะบบวงจร
ส า ม า ร ถ ต ร ว จ ส อ บ ค ว า ม ถู ก ต้ อ ง ข อ ง ว ง จ ร ที่ ต่ อ ไ ด้ ด้ ว ย ต น เ อ ง เ ช่ น
การตรวจสอบว่ามีส่วนไหนที่ก่อให้เกิดการลัดวงจรอันส่งผลก่อให้เกิดความเสียหายต่อวงจรไ
ด้ เป็นต้น
น อ ก เ ห นื อ จ า ก นั้ น โ ค ร ง ก า ร นี้ ยั ง มี ก า ร พั ฒ น า AI
ส าหรั บ การแปลงภาพการต่ อ วงจรบนบอร์ ด ทดลอง ให้ เ ป็ น ค าอธิ บ ายการเชื่ อ มวงจร และ
แ
ผ
น
ภ
า
พ
ว
ง
จ
ร
ซึ่งถือว่าเป็นงานวิจัย ใหม่ในด้านคอมพิวเตอร์วิทัศน์ซึ่งจากที่ค้นหาก็ยังไม่พบงานวิจัยอื่น ๆ
ที่นาเสนอหัวข้อนี้
เป้าหมายและขอบเขตของโครงการ
โครงการนี้เหมาะสาหรับผู้ที่กาลังศึกษาเกี่ยวกับวงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้นและผู้ที่ ต้อง
ก า ร น า ไ ป ใ ช้ เ ป็ น สื่ อ ก า ร เ รี ย น รู้
โดยมีเป้าหมายในขั้นต้น ให้สามารถรองรับ เนื้อหาในบทเรียนหรือการทดลองต่อวงจรใด ๆ
ที่มีอุปกรณ์ 2 ขา ทั้งแบบที่มีขั้วและไม่มีขั้ว อย่างน้อยคือ ตัวต้านทาน (Resistor), ตัวเก็บประจุ
(
Capacitor)
แ
ล
ะ
ไ
ด
โ
อ
ด
(
Diode)
โดยในการต่อวงจรครั้งหนึ่งโปรแกรมควรจะรองรับอุปกรณ์ได้ถึง 8 ตัว
โดยมี ข อบเขตของวงจรที่ ร องรั บ ได้ คื อ เป็ น วงจรที่ ใ ช้ ส ายไฟ ( Jumper Cables)
ใ น ก า ร ต่ อ บ น บ อ ร์ ด ท ด ล อ ง ไ ม่ เ กิ น 8 เ ส้ น แ ล ะ แ ต่ ล ะ เ ส้ น มี สี ที่ แ ต ก ต่ า ง กั น
และอุปกรณ์ที่มีขั้วในวงจรจะต้องมีสัญลักษณ์กากับที่ตัวอุปกรณ์ที่สามารถเห็นได้ในกล้องเมื่อ
ต่ อ อ ยู่ บ น บ อ ร์ ด ท ด ล อ ง ส่ ว น ส า ห รั บ ข อ บ เ ข ต ด้ า น ก า ร ถ่ า ย ภ า พ คื อ
ผู้ใช้งานจะต้องถ่ายภาพในมุมกล้องที่มองเห็นอุปกรณ์และขาของอุปกรณ์ที่เชื่อมต่อวงจรลงบ
น ข อ ง บ อ ร์ ด ท ด ล อ ง อ ย่ า ง ชั ด เ จ น
และไม่ มี ก ารบดบั ง ของสายไฟที่ จะท าให้ ม องไม่เห็ น องค์ ป ระกอบอื่ น ๆ ที่ เกี่ ย วข้ อ งในวงจร
โดยในบางครั้งผู้ใช้อาจจะต้องถ่ายภาพมากกว่า 1 ภาพเพื่อการวิเคราะห์ที่แม่นยาขึ้น
รายละเอียดของการพัฒนา
A. ภาพประกอบ แบบจาลอง หรือ ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง ตัวอย่างโปรแกรม หรือ
ผลงานที่สื่อให้เห็นผลงานที่จะพัฒนาขึ้น
โปรแกรมต้นแบบที่จะพัฒนาในโครงการนี้จะมีการทางานอยู่ 2 โหมดดังนี้คือ
1. โหมดฝึกต่อวงจรตามโจทย์ทก
ี่ าหนด ในโหมดนี้ระบบจะมีแผนภาพวงจรทีก
่ าหนดให้
ผู้ใช้ต่อวงจรตามทีก
่ าหนดลงในบอร์ดทดลอง
เมื่อผู้ใช้ต่อวงจรเสร็จแล้วให้ผู้ใช้ถ่ายภาพและอัพโหลดเข้ามาในโปรแกรม
โปรแกรมก็จะแปลงภาพบอร์ดทดลองเป็นคาอธิบายการเชื่อมวงจร
และทาการตรวจสอบว่าคาอธิบายการเชื่อมวงจรกับโจทย์ หรือไม่
ดังแสดงในแผนภาพการทางานด้านล่างนี้
2. โหมดแปลงวงจรที่ต่อบนบอร์ดทดลองอย่างอิสระ (ตามเงื่อนไขขอบเขตที่กาหนด)
ให้เป็นแผนภาพวงจร โดยโปรแกรมจะแสดงแผนภาพวงจรให้ผู้ใช้
และตรวจสอบสถานะการต่อว่ามีวงจรเปิด หรือการลัดวงจรหรือไม่
B. เทคนิคหรือเทคโนโลยีที่ใช้ เช่น เทคโนโลยีด้านปัญญาประดิษฐ์ Algorithms ที่ใช้
โครงสร้างข้อมูล เป็นต้น โดยผู้พฒ
ั นาต้องให้รายละเอียดที่เกี่ยวข้องประกอบด้วย
ภาพรวมจะเป็นการใช้ TensorFlow ในการสร้างการเรียนรู้เพื่อให้ AI
กลายเป็นโมเดลที่ใช้สาหรับการจาแนกองค์ประกอบต่างๆ ของ วงจรและใช้ OpenCV
ร่วมกับโมเดลที่ได้รับการเรียนรูม
้ าแล้ว เพื่อตรวจสอบวงจรบน Protoboard
แล้ววาดแผนภาพวงจรอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งสามารถสรุปได้เป็นขั้นตอนต่าง ๆ
ดังแสดงในรูปด้านล่างนี้
C. เครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนา ได้แก่ ภาษาทีใ่ ช้เขียน Tools อื่นๆ
ที่ใช้ชว่ ยในการพัฒนาโปรแกรม และอื่นๆ
 Python เป็นภาษาหลักในการเขียนโปรแกรม
 OpenCV ใช้ในการประมวลผลภาพ
 TensorFlow สาหรับการทาส่วนของ Machine Learning ในการรู้จา Circuit
Component และ Detection องค์ประกอบต่าง ๆ ในบอร์ดทดลอง
 Roboflow สาหรับการทาชุดข้อมูล (Dataset) สาหรับฝึกสอน Model
 Tkinter สาหรับทา GUI
 NetworkX สาหรับวิเคราะห์ความเหมือนกันของวงจร
 Lcapy สาหรับการแปลง Netlist ให้กลายเป็นแผนภาพวงจร
D. รายละเอียดโปรแกรมที่จะพัฒนา (Software Specification)
Input/Output Specification
- รับข้อมูลจากผู้ใช้ผ่านเมาส์และคีย์บอร์ดบน GUI
- รับข้อมูลภาพวงจรจากผู้ใช้ผ่านการอัพโหลดไฟล์
- แสดงผลให้ผู้ใช้ผ่านหน้าจอ
Functional Specification
- ผู้ใช้สามารถเลือกโหมดในการทางานได้ 2 โหมด คือ (1)
โหมดฝึกต่อวงจรตามโจทย์ทก
ี่ าหนด และ (2)
โหมดแปลงวงจรที่ต่อบนบอร์ดทดลองอย่างอิสระ
- เมื่อผู้ใช้เลือกโหมด (1) ผู้ใช้จะสามารถเลือกโจทย์ทต
ี่ ้องการได้
- เมื่อผู้ใช้เลือกโจทย์ในโหมด (1) ระบบจะแสดงแผนภาพวงจรให้ผใ
ู้ ช้ต่อ
โดยเมื่อผู้ใช้ต่อเสร็จ
ให้ผู้ใช้ถ่ายภาพจากโปรแกรมภายนอกแล้วให้อัพโหลดภาพทีถ
่ ่ายเข้าในระบบ
- ในโหมด (1)
ระบบสามารถแปลงภาพวงจรทีผ
่ ู้ใช้ต่อให้กลายเป็นข้อมูลการเชื่อมต่อและแผนภา
พวงจรได้
และเปรียบเทียบข้อมูลการเชื่อมต่อที่ได้จากภาพและข้อมูลการเชือ
่ มต่อจากโจทย์
โดยระบบจะแสดงผลการเปรียบเทียบให้ผู้ใช้บนหน้าจอ
- ในโหมด (1) เมื่อทาโจทย์เสร็จแล้วหรือระหว่างการทาโจทย์ข้อใด ๆ
ผู้ใช้สามารถย้อนกลับไปหน้าเลือกโจทย์ หรือหน้าเลือกโหมดได้
- เมื่อผู้ใช้เลือกโหมด (2) ผู้ใช้สามารถต่อวงจรได้อิสระ โดยเมื่อผูใ
้ ช้ต่อเสร็จ
ให้ผู้ใช้ถ่ายภาพจากโปรแกรมภายนอกแล้วให้อัพโหลดภาพทีถ
่ ่ายเข้าในระบบ
- ในโหมด (2)
ระบบสามารถแปลงภาพวงจรทีผ
่ ู้ใช้ต่อให้กลายเป็นข้อมูลการเชื่อมต่อและแผนภา
พวงจรได้ และแสดงแผนภาพวงจรที่ได้ให้ผใ
ู้ ช้
และแสดงข้อความผลการวิเคราะห์วงจรเปิดหรือลัดวงจร
ขอใส่ภาพ GUI ของโปรแกรมหน่อย ทุกหน้าที่มี
E. ขอบเขตและข้อจากัดของโปรแกรมที่พฒ
ั นา
- ในโครงงานนี้ โปรแกรมจะถูกออกแบบมาให้รองรับอุปกรณ์พื้นฐาน 3 ชนิด คือ
ตัวต้นทาน, ตัวเก็บประจุ และไดโอด
- โปรแกรมจะทางานได้ดีในวงจรที่มีอุปกรณ์ไม่เกิน 8 ตัว
- ร อ ง รั บ ว ง จ ร ที่ ใ ช้ ส า ย ไ ฟ ใ น ก า ร ต่ อ บ น บ อ ร์ ด ท ด ล อ ง ไ ม่ เ กิ น 8 เ ส้ น
และแต่ละเส้นมีสีที่แตกต่างกัน
- อุปกรณ์ที่มีขั้วในวงจรจะต้องมีสัญลักษณ์กากับที่ตัวอุปกรณ์ที่สามารถเห็นได้ในก
ล้องเมื่อต่ออยู่บนบอร์ดทดลอง
- ผู้ใช้งานจะต้องถ่ายภาพในมุมกล้องที่มองเห็นอุปกรณ์และขาของอุปกรณ์ที่เชือ
่ มต่
อ ว ง จ ร ล ง บ น ข อ ง บ อ ร์ ด ท ด ล อ ง อ ย่ า ง ชั ด เ จ น
แ ล ะ ไม่ มี ก า ร บด บั ง ข อง สา ย ไฟ ที่ จ ะ ท า ให้ ม อ ง ไม่ เ ห็ น อง ค์ ป ร ะ ก อบ อื่ น ๆ
ที่ เ กี่ ย วข้ อ งในวงจร โดยในบางครั้ ง ผู้ ใ ช้ อ าจจะต้ อ งถ่ า ยภาพมากกว่ า 1
ภาพเพื่อการวิเคราะห์ที่แม่นยาขึ้น
- ใช้งานบนคอมพิวเตอร์บนระบบปฎิบัติการ Windows
ผลของการทดสอบโปรแกรม
A. การทดสอบการ Detection
อธิบายว่า Train รูปทัง้ หมดกี่รูป แบ่งเป็นกี่ Class ลองทดสอบการ Detection ดูซัก 20
รูป คละ Class แล้วทดสอบการ Detect ใส่รูปผลการ Detect ทั้ง 20 รูป
พร้อมสรุปเป็นตารางว่าใน 20 รูปนี้ มีอุปกรณ์แต่ละ Class เท่าไหร่
Class
True Positive
เจอถูก
Pinned
R-Hor
R-Ver
D-Hor
D-Ver
C-Hor
C-Ver
524
132
112
34
39
20
4
False Positive
False
ไม่ใช่แต่โปรแกรมดันบอกใช่ Negative
หาไม่เจอ
0
180
3
1
0
0
1
1
0
1
8
0
1
5
B. การทดสอบการแปลงเป็นภาพวงจร
ลองทดสอบการแปลงซัก 10 รูป
ที่เป็นวงจรแนวนอนอย่างเดียวอาจจะมีอุปกรณ์ในนั้นแตกต่างกัน
ถ่ายมุมกล้องต่างกันบ้างสักหน่อย ใส่รูปถ่าย + รูปวงจรที่แปลงมาได้
ปัญหาและอุปสรรค
อันนี้ก็ลองเขียนดูนะว่าตอนทาเจออะไรเป็นปัญหาบ้าง
แนวทางในการพัฒนาและประยุกต์ใช้รว
่ มกับงานอืน
่ ๆ ในขัน
้ ต่อไป
ลองโม้ดู
ข้อสรุปและข้อเสนอแนะ
สรุปหน่อยว่าอะไรทาได้แล้ว อะไรยังทาไม่ได้
และมีข้อเสนอแนะในการแก้ไขปัญหาและอุปสรรคที่เจอมาอย่างไร
บรรณานุกรม (Bibliography)
1. https://docs.opencv.org/4.x/?fbclid=IwAR3xSbNUQRA1IAhPzHCAA5d0V0H32QXRxO7pG6cQk6HU-gsuEGh86o1jos
2. https://www.tensorflow.org/api_docs?fbclid=IwAR0hCz4YMbrxwn2KuZICK2jRcq8wNblpxK8BpJ8cvrvwWxNp4YW7HZgKcw
3. https://schemdraw.readthedocs.io/en/latest/?fbclid=IwAR0Y4sVqvxdF30wI_8lgLFf6XuETkNP1RteuCuwrIH7wTxzI8-JK-O0VHI
4. https://docs.python.org/3/?fbclid=IwAR27ugbEFc8_vbzvTQ_nf5XscqbdIOueo
c0gqCZ9jYdfls1oLmQ6aBDDCUU
5. https://www.kaggle.com/datasets/eralpozcan/resistordataset?fbclid=IwAR2awZgRaFdCGCVJxvQskZZG9BDF0YVCZkFTBNHK3e
jw9sWG8sfHbOvank0
6. http://www.busboard.com/documents/datasheets/BPS-DAT-(BB1660)Datasheet.pdf?fbclid=IwAR3xQgK9nJ88qgzkCd7TZaTTJSZ3xcW2FTyWetxCsC5Uj4-RvTTfMsBfr0
7. https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AD%E0%B8%B4%E0%B9%80%E0%
B8%A5%E0%B9%87%E0%B8%81%E0%B8%97%E0%B8%A3%E0%B8%A
D%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%81%E0%B8%AA%E0%B9%8C
8. https://electricalacademia.com/basic-electrical/basic-electrical-circuit-theorycomponents-working-diagram/?fbclid=IwAR33GTafFQaYifjpgAxC_4fhUnWWUOheHxKqc2iSdKeZ_Cs-hFMIdQwaMU
ประวัตแ
ิ ละผลงานวิจย
ั ดีเด่นของผูพ
้ ฒ
ั นา ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ได้รับประกาศนียบัตร The Best of the Best Embedded System Developers
ในระดับ Silver Level จากการเข้าร่วมแข่งขันรายการ TESA Top Gun Rally 2022
ที่จัดขึ้น ณ สถาบันเทคโนโลยีจิตรลดา ระหว่างวันที่ 5-10 กันยายน 2565
สาเนาบัตรประจาตัวของผู้พัฒนาและอาจารย์ที่ปรึกษา พร้อมลงลายมือชื่อสาเนาถูกต้อง
กรณีที่ผู้พฒ
ั นาไม่มีบต
ั รประชาชน ให้แนบสาเนาทะเบียนบ้าน หรือ
หนังสือรับรองจากสถาบันการศึกษา
Download