1 W de r ra rT te in คำนำ Winter Trader W in te rT ra de r กลยุทธ์การเทรด Forex ด้วยระบบ Demand & Supply Zone ฉบับนี้ เป็ นการเรี ยบเรี ยงองค์ความรู ้ที่สาคัญ และมีประสิทธิภาพของกลยุทธ์น้ ีจากเทรดเดอร์ห ลายๆท่านทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติ เพื่อให้ผทู ้ ี่สนใจ ศาสตร์น้ ีได้ศึกษาและนาไปใช้ทากาไรได้จริ ง Demand & Supply Zone เป็ นระบบเทรดที่ให้เรายืนอยูข่ า้ งเดียวก ับรายใหญ่ เช่ น ธนาคาร สถาบัน กองทุ น ฯลฯ เนื่ องจากระบบเทรดนี้ จะอาศัยร่ องรอยความไม่สมดุล (Imbalance)ของปริ มาณและราคาที่ เกิดขึ้น ณ จุดใดจุดหนึ่ง ที่รายใหญ่ทิ้งร่ องรอยไว้ ซึ่งเราจะรอจังหวะที่โอกาสนั้นมาถึงและเข้าเทรดไป พร้อมก ับรายใหญ่ เราจะไม่เป็ นเหยือ่ อีกต่อไป แต่เราจะอยูใ่ นกลุ่มของผูล้ ่าแทน ผมนั้นโชคดีที่ได้เรี ยนรู ้ระบบนี้อย่างบังเอิญและเห็ นว่ามีความน่าสนใจ ซึ่งทุ กอย่างเป็ นตรรกะ เพราะการ ซื้อขายทุกสิ่งทุกอย่างบนโลกใบนี้ ล้วนอยูบ่ นหลักของอุปสงค์ (demand) และอุปทาน (supply) และที่ผม ชอบที่สุดในระบบนี้ เห็นจะเป็ นความสบายตาในเวลาดูกราฟ เพราะไม่รกรุ งรังไปด้วยอินดีเคเตอร์ต่างๆ เป็ นเพียงกราฟเปล่าที่มีแต่แท่งเที ยนที่ สะท้อนพฤติกรรมราคาออกมาหมดแล้ว เป็ นความเรี ยบง่ายที่ทรง พลังอย่างยิง่ ผมจึงได้เริ่ มศึกษาค้นคว้าอย่างจริ งจังและฝึ กฝนจนชานาญ และที่สาคัญผมรู ้สึกว่ามันถูกจริ ต ก ับวิถีชีวิตของผมเป็ นอย่างมาก เพราะว่ามันเรี ยบง่ายและไม่ตอ้ งเฝ้ าหน้าจอตลอด ผมสามารถวาง แผนการเทรดในสุดสัปดาห์ได้ และเช้าวันจันทร์ กเ็ พียงแต่วาง limit order และ Stoploss ในคู่เงิ นที่มี สัญญาณให้เทรดและดูกราฟแค่วนั ละครั้งสองครั้งเพื่อเช็คทิศทางของกราฟเท่านั้น ผมอยากให้ท่านที่สนใจกลยุทธ์น้ ี ทุ่ มเทศึกษาอย่างจริ งจัง หมัน่ ฝึ กฝนจนเกิดความชานาญ และนาไปใช้ ให้เกิดประโยชน์อย่างเต็มที่ โอกาสนั้นได้มาถึงแล้ว ผมขอให้ทุกท่านประสบความสาเร็จและมีกาไร อย่างยัง่ ยืนก ันถ้วนหน้าครับ 2 สำรบัญ 4-8 1.การวิเคราะห์ เทรนด์ จาก DOW THEORY -DOW THEORY ก ับระบบ Demand & Supply zone 9-12 2.Demand & Supply Zone ทางานอย่ างไร? -ความสัมพันธ์ระหว่าง ราคา (PRICE) และปริ มาณ (QUANTITY) 13-20 3.รู ปแบบ Demand & Supply Zone de r -DBR = Drop Base Rally -RBR = Rally Base Rally -RBD = Rally Base Drop -DBD = Drop Base Drop 4.การกาหนดโซน และคัดกรองโซนคุณภาพ 21-34 rT ra -การตีกรอบโซน Demand & Supply Zone -คุณภาพของแท่งเทียนในโซน Base ของ Demand & Supply -ความแข็งแรงของโซน -ประสิทธิภาพของโซน -ดูอย่างไร? โซนนี้ใช่! แข็งแกร่ งจริ ง -ขั้นตอนการมองหาโซน Demand & Supply te 5.กลยุทธ์ การค้นหา Trade setup ในโซนให้ ได้ เปรียบ 35-39 -เข้าออเดอร์ตรงจุดไหนได้เปรี ยบที่สุด W in 6.เมื่อโซนโดนทาลาย เราจะวางแผนการเทรดอย่ างไร? -Remove Zone -Swap zone -Fresh zone ก็โดนทาลายได้ แล้วจะทาอย่างไร? 7.การกาหนด TP SL R:R MM ทีเ่ หมาะสม 8.การวิเคราะห์ Multi timeframe –วางแผนการเทรดอย่ างละเอียด 9.เส้ น EMA 50 EMA 200 เส้ นค่าเฉลีย่ 2 เส้ นนีม้ ีดีอย่ างไร? 10.Harmonic Trading การประยุกต์ ใช้ ร่วมกับ Demand&Supply -รู ปแบบ BAT -รู ปแบบ CRAB -รู ปแบบ BUTTERFLY -รู ปแบบ SHARK -รู ปแบบ GARTLEY -รู ปแบบ CYPHER 40-42 43-44 45-47 48-49 50-63 3 บทที่ 1 การวิเคราะห์ เทรนด์ จาก DOW THEORY DOW THEORY ในบรรดาทฤษฎีท้ งั หมดที่เกีย่ วก ับพฤติกรรมราคา ทฤษฎี DOW น่าจะเป็ นทฤษฎีที่มีเหตุผลมากที่ สุด ทฤษฎี DOW ถือกาเนิดโดย de r นักเขียนและบรรณาธิการ ชื่อ CHARLES HENRY. DOW เขามี ชีวิตช่วงปี ค.ศ. 1851-1902 เขาเป็ นผูก้ อ่ ตั้งวารสาร THE WALL STREET JOURNAL ra ทฤษฎี DOW คือทฤษฎีที่เกีย่ วก ับพฤติ กรรมราคาโดยตรง ที่เชื่อว่า ราคาเคลื่อนไหวเป็ นแนวโน้ม และแนวโน้มนั้นจะเกิดขึ้นต่อเนื่อง rT จนกว่าจะเกิดการเปลี่ยนแนวโน้มนั้น และที่ตอ้ งมาเกีย่ วข้องก ับ โน้มนี่แหละครับ te การเทรดในระบบ DEMAND & SUPPLY ZONE ก็คือเรื่ อง แนว in โดยปกติการแบ่งแนวโน้มของทฤษฎี DOW นั้นจะดูจากการทา HIGH และ LOW ของราคา โดยถ้าราคา ขึ้นทา HIGHER HIGH (ทา HIGH ใหม่) และทา LOWER HIGH (ทา LOW สูงขึ้น) แสดงถึงทิศทางของ W ราคาเป็ นขาขึ้น แต่ถา้ ราคาทา LOWER LOW (ทา LOW ต่าลง) และทาLOWER HIGH (ทา HIGH ต่าลง) แสดงถึงทิศทางของราคาเป็ นแนวโน้มขาลง เราลองมาลากเส้นดูก ันครับว่าเป็ นจริ งตามทฤษฎีหรื อไม่ HH LH HH LH HH HL LL HL LL รูปที่1.1 การเปลี่ยนแนวโน้มตามหลักทฤษฎี DOW LL 4 เรื่ องแนวโน้มจากทฤษฎีดาว เราสามารถนามาใช้ในการดูเทรนด์และยืนยันเทรนด์ที่เกิดขึ้นได้ และที่ สาคัญสามารถนามาใช้ในการดูสญั ญาณของการเปลี่ยนเทรนด์ จาก HIGH และLOW ที่เกิดขึ้น ดูตาม in te rT ra de r ตัวอย่างนะครับ รูปที่1.2 การเปลี่ยนเทรนด์แบบที่ 1 W สิ่งที่เราเห็นคือราคาได้ทา HIGHER HIGH และ HIGHER LOW อย่างต่อเนื่องมาเรื่ อยๆเป็ นเทรนด์ขาขึ้น ชัดเจน จนในที่สุดราคาสามารถทา HIGHER HIGH ที่เลข 1 หลังจาก HIGH ที่เลข 1 และราคาลงมาทา HIGHER LOW ที่เลข 2 ซึ่งก็ดูเป็ นปกติที่เรายังคงไม่เห็นการเปลี่ยนแปลงแต่อย่างใด แต่การตามมาเป็ น LOWER HIGH ที่เลข 3 นี่สิครับ ซึ่งถ้ายังเป็ นเทรนด์ขาขึ้นอยู่ ที่ เลข 3 นี้ น่าจะเป็ น HIGHER HIGH ต่อไป แต่จากรู ปนี้ เลข 3 ยังไม่สามารถทาHIGHใหม่ได้ จึงทาให้เราต้องเฝ้ าระวังแล้วครับตอนนี้ จนในที่สุดราคา ค่อยทา LOWER LOW ที่เลข 4 เป็ นการยืนยันเทรนขาลงชัดเจน 5 ลองมาดูก ันอีกรู ปแบบนะครับ รู ปที่ 1.3 จะพบจุดที่ต่างก ับแบบแรก คือ การที่ราคาเปลี่ยนแนวโน้มจากขา ขึ้นเป็ นแนวโน้มขาลง จะเห็นว่าราคาสามารถทา LOWER LOW เลข 2 ได้กอ่ น LOWER HIGH เลข 3 รูปที่1.3 การเปลี่ยนเทรนด์แบบที่2 W in te rT ra de r ต่างจากแบบแรก ที่ราคาจะทา LOWER HIGH ก่อน LOWER LOW ส่วนรู ปแบบที่กลับตัวจากขาลงไปเป็ นขาขึ้นนั้นก็เพียงสลับด้านกนั ตามรู ปที่ 1.4 และรู ปที่ 1.5 รูปที่1.4 รูปที่1.5 6 ที่ตอ้ งเน้นย้าให้เห็นความต่างก ันนั้นมีเหตุผลที่สาคัญและผมเชื่อว่าเป็ นประโยชน์มาก ลองดูตวั อย่าง ต่อไปนี้ครับ กรณี เทรนด์ขาขึ้นจากการทา HIGHER HIGH HIGHER LOW มาอย่างต่อเนื่อง แล้วเมื่อ มาถึงจุดจุดหนึ่งที่ราคาทา LOWER LOW เลข1 ซึ่งอาจจะเป็ นจุดยืนยันการกลับตัวของเทรนด์กไ็ ด้ เพราะ การที่ราคาทา LOWER LOW ได้กอ่ น LOWER HIGH เลข 2 นั้น หมายความว่ามีน้ าหนักมากที่ต่อไป กราฟอาจจะเปลี่ยนเทรนด์เป็ นขาลง ซึ่งจะทาให้เทรดเดอร์ที่รอเข้า จะเข้าเทรดก ันเป็ นจานวนมากเมื่อ de r ราคากลับไปทาHIGH อีกครั้งที่เลข 2 แล้วไม่สามารถทา HIGHER HIGH ได้ rT ra 2 W in te 1 รูปที่1.6 จุดสังเกตของการเปลี่ยนเทรนด์ แต่ถา้ ราคาทา LOWER HIGH ได้กอ่ น ก็อาจจะไม่มีน้ าหนักมากพอแต่กใ็ ห้เราได้รู้แ ละเฝ้ าระวัง ในตลาด Forex ราคาเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา การทา HH และ HL สาหรับเทรนด์ขาขึ้น หรื อ LL และ LH ในเทรนด์ขาลง เราต้องให้ความสาคัญในแต่ละจุด และที่ตอ้ งเพิ่มความสาคัญให้มากขึ้นคือ สาหรับเทรนด์ขาขึ้น เราให้น้ าหนักที่ HL มากกว่า HH เพราะถ้าราคาปิ ดต่ากว่า HL ย่อมแสดงให้เห็นว่า เทรนด์อาจจะกลับตัวไม่ชา้ นี้ และเช่นก ันในทิศทางของแนวโน้มขาลงเราจะให้ความสาคัญของการเกิด LH มากกว่า LL เพราะเมื่อราคาปิ ดสูงขึ้นกว่า LH นัน่ ย่อมเป็ นสัญญาณบอกเราว่าเทรนด์อาจจะกลับตัวใน ไม่ชา้ นี้แล้ว 7 ที่ผมต้องปูพ้นื เนื้อหาในบทที่ 1นี้กอ่ น เพราะเรื่ องนี้มีผลต่อการเทรดด้วยระบบ Demand & Supply zone ที่ เราจะต้องศึกษาในบทต่อๆไป สาหรับท่านที่รู้อยูแ่ ล้วก็ถือว่าเป็ นการทบทวนและตระหนักรู ้ว่าความเรี ยบ ง่ายของทฤษฎีที่จดั ว่าคลาสสิคนี้ยงั คงใช้ได้ในยุคสมัยปั จจุบนั W in te rT ra de r ตัวอย่ ำงของกำรเปลี่ยนเทรนด์ 8 บทที่ 2 Demand & Supply Zone ทางานอย่างไร? หลายครั้งเมื่อเราได้รับชม รับฟัง ข่าวเกีย่ วก ับเศรษฐกิจเรามักจะได้ยนิ คาว่า อุปสงค์ (DEMAND) อุปทาน (SUPPLY) OVER SUPPLY อยูเ่ สมอๆ เพื่อให้เข้าใจคาว่า อุปสงค์ (DEMAND) และอุปทาน (SUPPLY) หลายคนอาจจะยังสงสัยว่าคาเหล่านี้มีความหมายว่าอย่างไร? อุปสงค์ ในความหมายแบบเข้าใจง่ายๆ คือ “ความต้องการซื้อ” และอุปทาน ก็คือ “ความต้องการขาย” เมื่อความต้องการซื้อและความต้องการขายมา de r พบเจอก ันที่ระดับราคา (PRICE) และปริ มาณ (QUANTITY) ที่ต่างฝ่ ายต่างพอใจ ณ จุดใดจุดหนึ่ง ตรงจุด นั้นจะเกิด “จุดดุลยภาพ” ของตลาดขึ้น คือตลาดมีความสมดุล ในทางเศรษฐศาสตร์จะมี กฎอุปสงค์ (LAW OF DEMAND) และ กฎอุปทาน (LAW OF SUPPLY) เพื่อใช้เป็ นหลักยึดในการอธิบาย ra ความสัมพันธ์ระหว่าง ราคา (PRICE) และปริ มาณ (QUANTITY) กฎอุปสงค์ หมายถึง เราจะซื้อปริ มาณเพิ่มขึ้นเมื่อราคาสินค้ามีราคาต่าลง (ถูก) และจะซื้อปริ มาณ rT น้อยลงเมื่อสินค้ามีราคาสูงขึ้น (แพง) โดยกาหนดให้ปัจจัยที่นอกเหนือจากราคาและปริ มาณคงที่ กฎของอุปทาน หมายถึง เราจะอยากที่จะขายสินค้าในปริ มาณที่สูงขึ้นเมื่อขายสินค้า ได้ในราคา te สูงขึ้น (แพงขึ้น) และจะขายสินค้าในปริ มาณที่ลดลงเมื่อราคาขายสินค้านั้นลดลง (ถูกลง) โดยกาหนดให้ in ปั จจัยที่นอกเหนือจากราคาและปริ มาณคงที่ เมื่อเราเข้าใจ ความสัมพันธ์ระหว่าง ราคาก ับปริ มาณแล้ว เราจะสังเกตได้ว่า อุปสงค์ก ับอุปทานจะมีความสัมพันธ์ที่ตรงข้ามก ัน นักเศรษฐศาสตร์มกั จะอธิบาย W เหตุการณ์ต่างๆออกมาเป็ นกราฟเพื่อให้เข้าใจได้ง่ายขึ้น DEMAND จะมีลกั ษณะกราฟที่ลาดลงจากซ้ายไป ขวา และ SUPPLY จะมีลกั ษณะที่ชนั ขึ้นจากซ้ายไปขวา สามารถเขียนออกมาได้เป็ นกราฟ DEMAND & SUPPLY ได้ดงั นี้ 9 และสาหรับตลาดFOREX ที่เป็ นตลาดการแลกเปลี่ยนเงินตราที่ สาคัญที่สุดในโลก มีธนาคารทัว่ โลก สถาบันการเงินขนาดใหญ่ กองทุนต่างๆ ธุรกิจข้ามชาติที่ตอ้ งอาศัยการแลกเปลี่ยนเงินตรากนั ตลอด24 ชัว่ โมงนั้น จะเป็ นอย่างไร? แล้วเจ้า DEMAND SUPPLY มันจะเกีย่ วอะไรก ับการเทรด ค่าเงินหล่ะ? หลายท่านอาจมีคาถามอยูใ่ นใจ DEMAND ในFOREX ก็คือความต้องการซื้อเงินสกุลหนึ่งแลกกบั เงิ นอีก สกุลหนึ่ง ส่วนSUPPLY ก็คือการต้องขายเงินสกุลหนึ่งแลกก ับเงินอีกสกุลหนึ่ง สมมติง่ายๆว่ากองทุน หรื อสถาบันการเงินแห่ งหนึ่ง วิเคราะห์แล้วเห็นว่าเศรษฐกิจประเทศไทยกาลังดีข้ ึนเรื่ อยๆ ค่าเงินบาท de r น่าจะแข็งค่าขึ้น น่าจะเก็งกาไรได้ กองทุนเลยอยากซื้อเงินบาทเพื่อเก็งกาไรในอนาคต ซึ่งเขาก็ตอ้ งขาย สกุลเงินหนึ่งสมมติว่าเป็ นสกุลเงินดอลลาร์แ ล้วก ัน สิ่งที่เกิดขึ้นคือเขาขายดอลลาร์แลกก ับซื้อเงินบาท จะได้เป็ น SELL USD/THB ซึ่งถ้าฝั่งผูข้ ายและฝั่งผูซ้ ้ือมีปริ มาณพอๆก ัน ก็จะเกิดความสมดุลใช่ม้ยั ครับ ra แต่ถา้ จานวนฝั่งที่ตอ้ งการขายดอลลาร์น้ นั มีจานวนมากกว่าฝั่งที่ตอ้ งการซื้อ ความหมายคือออเดอร์ฝั่งซื้อ rT อาจมีไม่มากพอที่จะจับคู่ก ับออเดอร์ฝั่งขายได้หมดในครั้งเดียว ก็จะเกิดความไม่สมดุล ขึ้น พฤติกรรม ราคาที่จะแสดงออกมาคือกราฟ เคลื่อนที่ลง ถ้าความไม่สมดุลมีมากกราฟแท่งเทียนก็แสดงออกมาเป็ น te แท่งยาวให้เราเห็นนัน่ เอง เพราะเมื่อ Supply มีมากกว่า ราคาก็จะลดลงวิ่งไปหาจุดที่มีสภาพคล่องเสมอ W in ก็คือจุดที่มีออเดอร์ฝั่งซื้อรออยู่มากๆ ณ จุดนั้นก็คือจุดสมดุลนัน่ เอง จากกราฟ USDTHB เราจะเห็นว่าเกิดความไม่สมดุลของราคาอย่างมาก แสดงออกมาเป็ นแท่งเทียนยาวถึง 2 แท่ง คือ supply (ความต้องการขาย) มีมากกว่า demand (ความต้องการซื้อ) จึงเป็ นไปตามกฎของความ สมดุลซึ่งทาให้ราคาเคลื่อนที่ลงล่างไปหาจุดที่มีสภาพคล่องมากที่ สุดที่ราคาและปริ มาณสมดุ ลกนั 10 de r ra W in te rT ภาพบน จะอธิบายก ับเราได้ว่าที่ราคาปั จจุบนั ก็คือที่ๆราคามีความสมดุล ณ ขณะหนึ่งนั้น พื้นที่ฝั่งด้านบน ของราคาปั จจุบนั ก็คือพื้นที่ที่มีออเดอร์ของSupply รออยูท่ ุกจุดราคา และตรงข้ามก ันพื้นที่ดา้ นล่างของราคา ปั จจุบนั ก็คือพื้นที่ที่มีออเดอร์ของ Demand รออยูท่ ุกจุดราคาเช่นก ัน แต่ถา้ ดูแค่น้ ีเราก็ไม่สามารถระบุลงไป ได้ว่าบริ เวณไหนที่มีออเดอร์ท้ งั ฝั่ง demand ก ับฝั่ง supply อยูห่ นาแน่นพอที่เราจะใช้ประโยชน์ได้ ที่น้ ีลอง ดูภาพล่างประกอบก ันครับ ภาพนี้แสดงให้เห็น stacked orders ทั้ง 2 ฝั่ง จะเห็นร่ องรอยบางอย่างคือ ณ บริ เวณที่มี stacked orders หนาแน่น กราฟแท่งเทียนจะบอกเราด้วยความไม่สมดุลของราคาและปริ มาณ จนเกิดเป็ นแท่งเทียนยาวกว่าปกติทวั่ ไป ถึงตรงนี้แล้วผมว่าเราคงจะมองเห็นโอกาสในการใช้ประโยชน์ที่ แท่งเทียนบอกเราได้แล้วใช่ม้ยั ครับ Sell limit order Buy limit order 11 Imbalance (ควำมไม่ สมดุล) te rT ra de r คาที่ท่านจะได้ยนิ ตลอดเมื่อพูดถึงการเทรดในระบบ Demand & Supply zone คือคาว่า Imbalance (ความ ไม่สมดุล) ซึ่งจากที่เราเรี ยนรู ้มาในกฎของอุปสงค์และอุปทานว่า เมื่อความต้องการซื้อและความต้องการ ขายมาพบเจอก ันที่ระดับราคา (PRICE) และปริ มาณ (QUANTITY) ที่ต่างฝ่ ายต่างพอใจ ณ จุดใดจุดหนึ่ง ตรงจุดนั้นจะเกิด “จุดดุลยภาพ” ของตลาดขึ้น คือตลาดมีความสมดุล กราฟจะแสดงออกมาเป็ นแท่งเทียน เล็กๆปกติทวั่ ไป ซึ่งเราจะใช้ประโยชน์อะไรไม่ได้เลยถ้าความต้องการซื้ อและความต้องการขายสมดุลกนั ตลอดไป แต่ที่เราต้องการเห็นก็คือความไม่สมดุล(Imbalance) เพราะมันแสดงให้เห็นว่าต้องมีฝ่ายใดฝ่ าย หนึ่งที่มีความต้องการมากกว่าอีกฝ่ ายหนึ่ง ซึ่งนัน่ คือร่ องรอยที่เราจะใช้ประโยชน์ได้โดยการอยูข่ า้ ง เดียวก ับฝ่ ายที่มีความต้องการมากกว่านัน่ เองครับ จากบทเรี ยนเรื่ องstacked ordersที่ผ่านมา เราได้รู้จกั ร่ องรอยที่เกิดขึ้นแล้วว่า เมื่อเกิดความไม่สมดุลของราคาและปริ มาณ ณ จุดใดจุดหนึ่ง กราฟแท่งเทียนจะมี ขนาดยาวกว่าปกติทวั่ ไปซึ่งบริ เวณนั้นก็จะเป็ นบริ เวณที่มีออเดอร์ อยู่เป็ นจานวนมาก คราวหน้าแทนที่เรา จะสุ่มเดาว่าตรงไหนมีออเดอร์รออยูอ่ ย่างหนาแน่นเราก็เพียงแค่มองหาแท่งเทียน Imbalance ซึ่งตรงจุด นั้นนัน่ แหละครับที่เราจะมาใช้กาหนดโซน Demand หรื อ Supply ก ันต่อไป in Imbalance W Imbalance Imbalance Imbalance 12 บทที่ 3 รูปแบบ Demand & Supply Zone Demand Zone คือโซนราคาที่มีคาสัง่ ซื้อรออยูเ่ ป็ นจานวนมาก ด้วยออเดอร์ฝั่งซื้อที่มีจานวน มากกว่าออเดอร์ฝั่งขาย ทาให้ไม่สามารถ Fill Order ได้ท้ งั หมด จึงเกิดความไม่สมดุลของราคาและปริ มาณ ทาให้ราคาสูงขึ้น กราฟแสดงออกมาเป็ นแท่งเทียนยาวใหญ่ จานวน2-3แท่งเทียน ปรากฏเป็ นร่ องรอยให้ เราใช้ประโยชน์ตรงนี้ได้ แบ่งเป็ น 2 รู ปแบบ ดังนี้ 1.DBR = Drop Base Rally W in te rT ra de r รู ปแบบDemand zone แบบที่1 ราคาจะเป็ นขาลงมาซักระยะหนึ่ง แล้วกลับตัวเป็ นขาขึ้นทันที จุดสังเกต คือ ตรงบริ เวณแท่งเทียนจุดกลับตัว (BASE) จะเป็ นแท่งเทียนขนาดเล็กและต้องมีจานวนไม่มาก ไม่ควร เกิน4แท่งเทียน และแท่งเทียนที่กลับตัวเป็ นขาขึ้นต้องมีขนาดยาวกว่าปกติทวั่ ไป จานวน2-3 แท่งเทียน คือ ลักษณะ Imbalance ที่ดี D R B 13 de r ra DBR ราคากลับมาทดสอบโซนและขึ้นต่อ W in te rT รู ปที่ 3.1 กราฟทองคา มี Demand zone D1 แบบ DBR ราคากลับมาทดสอบโซนดังกล่าวและขึ้นต่อ DBR ราคากลับมาทดสอบโซนและขึ้นต่อ รู ปที่ 3.2 กราฟAUDNZD มี Demand zone D1 แบบ DBR ราคากลับมาทดสอบโซนดังกล่าวและขึ้นต่อ 14 2.RBR = Rally Base Rally W in te rT ra de r รู ปแบบ Demand zone แบบที่2 ราคาเป็ นขาขึ้นมาซักระยะหนึ่ง แล้วพักตัวชัว่ ครู่ จากนั้นก็เป็ นขาขึ้นต่อ จุด สังเกตคือ ตรงบริ เวณแท่งเทียนจุดพักตัว (BASE) จะเป็ นแท่งเทียนขนาดเล็กและมีจานวนไม่มาก ไม่ควร เกิน4แท่งเทียน และแท่งเทียนที่ข้ ึนต่อจากการพักตัวจะมีขนาดยาวกว่าปกติทวั่ ไป จานวน 2-3 แท่งเทียน คือ ลักษณะ Imbalance ที่ดี R B R 15 de r ra RBR ราคาลงมาทดสอบโซนและขึ้นต่อ W in te rT รู ปที่ 3.3 กราฟ GBPJPY มี Demand zone D1 แบบ RBR ราคาลงมาทดสอบโซนดังกล่าวและขึ้นต่อ RBR ราคาลงมาทดสอบโซนและขึ้นต่อ รู ปที่ 3.4 กราฟ EURUSD มี Demand zone D1 แบบ RBR ราคาลงมาทดสอบโซนดังกล่าวและขึ้นต่อ 16 Supply Zone คือโซนราคาที่มีคาสัง่ ขายรออยูเ่ ป็ นจานวนมาก ด้วยออเดอร์ฝั่งขายที่มีจานวน มากกว่าออเดอร์ฝั่งซื้อ ทาให้ไม่สามารถ Fill Order ได้ท้ งั หมด จึงเกิดความไม่สมดุลของราคาและปริ มาณ ทาให้ราคาลดลงกราฟจะแสดงออกมาเป็ นแท่งเทียนยาวใหญ่ จานวน 2-3 แท่งเทียน ปรากฏเป็ นร่ องรอยให้ เราใช้ประโยชน์ตรงนี้ได้ แบ่งเป็ น 2 รู ปแบบ ดังนี้ 1.RBD = Rally Base Drop W in te rT ra de r รู ปแบบ Supply zone แบบที่1 ราคาเป็ นขาขึ้นมาซักระยะหนึ่ง แล้วกลับตัวเป็ นขาลงทันที จุดสังเกตคือ ตรงบริ เวณแท่งเทียนจุดกลับตัว (BASE) จะเป็ นแท่งเทียนขนาดเล็กและมีจานวนไม่มาก ไม่ควรเกิน4แท่ง เทียน และแท่งเทียนที่กลับตัวเป็ นขาลงต้องมีขนาดยาวกว่าปกติทวั่ ไป จานวน 2-3 แท่งเทียน คือลักษณะ Imbalance ที่ดี B R D 17 ra de r RBD ราคาขึ้นมาทดสอบโซนและลงต่อ W in te rT รู ปที่ 3.5 กราฟ Silver มี Supply zone D1 แบบ RBD ราคาขึ้นไปทดสอบโซนดังกล่าวและลงต่อ RBD ราคาขึ้นมาทดสอบโซนและลงต่อ รู ปที่ 3.6 กราฟ EURUSD มี Supply zone D1 แบบ RBD ราคาขึ้นไปทดสอบโซนดังกล่าวและลงต่อ 18 2.DBD = Drop Base Drop D W in te rT ra de r รู ปแบบ Supply zone แบบที่ 2 ราคาเป็ นขาลงมาซักระยะหนึ่งแล้วพักตัวชัว่ ครู่ จากนั้นก็ลงต่อทันที จุด สังเกตคือ ตรงบริ เวณแท่งเทียนจุดพักตัว (BASE) จะเป็ นแท่งเทียนขนาดเล็กและมีจานวนไม่มาก ไม่ควร เกิน4แท่งเทียน และแท่งเทียนที่ลงต่อต้องมีขนาดยาวกว่าปกติทวั่ ไป จานวน 2-3 แท่งเทียน คือลักษณะ Imbalance ที่ดี B D 19 ra de r DBD ราคากลับมาทดสอบโซนและลงต่อ te rT รู ปที่ 3.7 กราฟทองคามี Supply zone D1 แบบ DBD ราคาขึ้นไปทดสอบโซนดังกล่าวและลงต่อ W in DBD ราคากลับมาทดสอบโซนและลงต่อ รู ปที่ 3.8 กราฟ GBPUSD มี Supply zone D1 แบบ DBD ราคาขึ้นไปทดสอบโซนดังกล่าวและลงต่อ 20 บทที่ 4 การกาหนดโซน และคัดกรองโซนคุณภาพ การตีกรอบโซน Demand & Supply Zone de r การตีกรอบโซน มีความสาคัญมากเพราะจะเป็ นการกาหนดบริ เวณ Base ที่ถูกต้อง แต่ไม่ตอ้ ง ก ังวลมากนะครับ เพราะถ้าเราฝึ กมองโซนบ่อยๆเราจะชานาญและกาหนดกรอบโซนได้อย่างง่ายดาย มีจุดสังเกตง่ายๆที่จะบอกเราว่าแท่งเทียนแท่งไหนเป็ นBase .ให้ดูแท่งเทียนเล็กๆก่อนที่จะเกิดเป็ นแท่ง ยาวนัน่ เองครับ แบบที1่ . กรณี แท่งเทียนปกติทวั่ ๆไปหางจะยาวหรื อไม่กต็ าม Demand zone ด้านบนจะตีกรอบเสมอ W in te rT ra Bodyของแท่งเทียน ส่วนด้านล่างจะตีสุดปลายหางแท่งเทียนแท่งที่อยูต่ ่าสุด ในกรณี Supply zone ก็จะ สลับด้านก ัน 21 แบบที2่ . กรณี ที่บริ เวณโซนเกิดมี GAP Demand zone ด้านบนจะตีกรอบเสมอGAP ส่วนด้านล่างจะตี te rT ra de r สุดปลายแท่งเทียนแท่งที่อยูต่ ่าสุด ในกรณี ของ Supply zone ด้านล่างก็จะตีกรอบเสมอ GAP ส่วนด้านบน ก็จะตีกรอบที่สุดปลายแท่งเทียนที่สูงสุด แบบที3่ . กรณี ที่เป็ นแท่งSpinning , Doji Demand zone ด้านบนจะตีกรอบปลายไส้ดา้ นบนแท่งเทียน W in นั้นๆ (คลุมทั้งไส้แท่งเทียน)ส่วนด้านล่างจะตีสุดปลายแท่งเทียนแท่งที่อยู่ต่าสุด ในกรณี supply zone ก็ จะสลับด้านก ัน 22 คุณภาพของแท่ งเทียนในโซน Base ของ Demand & Supply คุณภาพของแท่งเทียนที่ปรากฏในโซน อาจจะเป็ นรู ปแบบ Price action ที่เราคุน้ เคยก ันเป็ นอย่างดี อยูแ่ ล้ว หรื ออาจจะเป็ นแท่งเทียนกลุ่มทัว่ ไปก็ได้ ซึ่งแบ่งเป็ น 2 กลุ่มตามรู ปแบบโซนที่เกิดดังนี้ 1. รู ปแบบ DBR (Drop Base Rally) , RBD (Rally Base Drop) แท่งเทียนในโซน Base ที่ดีควรจะต้องเป็ นแท่งเทียนกลุ่มกลับตัว เช่น Bearish Engulfing Dark cloud Piercing line Morning star Evening star te rT Hammer / Inverted Hammer ra de r Bullish Engulfing 2. รู ปแบบ RBR (Rally Base Rally) , DBD (Drop Base Drop) W in แท่งเทียนในโซน Base ที่ดีควรจะต้องเป็ นแท่งเทียนกลุ่มพักตัวและถ้าเป็ นสีตรงกนั ข้ามก ับเทรนด์เดิมยิง่ ดี แต่ถา้ จะเป็ นสีเดียวก ันก ับเทรนด์กไ็ ด้เช่นก ัน เช่น Harami Doji Hammer Spinning Marubozu TRICK ทั้งนี้กอ็ าจจะมีแท่งเทียนในรู ปแบบอื่นๆได้อีก ซึ่งไม่จาเป็ นว่าต้องจาให้หมด แต่ที่ตอ้ งจาให้ข้ ึนใจก็คือ 1.Baseที่ดีตอ้ งมีจานวนแท่งไม่เกิน 4 แท่ง 2.Baseที่มีแท่งที่หางยาวมากๆรวมก ันหลายๆแท่งไม่ดี 3.Baseที่มีแท่งเทียน Marubozu 1แท่ง จะเป็ นโซนที่แข็งแกร่ งที่สุด 4.รู ปแบบของโซนต้องเป็ น RBD DBR RBR DBD เท่านั้น 23 W in te rT ra de r ชาร์ทนี้คดั ลอกมาจาก https://www.set-and-forget.com :ซึ่งสอนเรื่ องการเทรดด้วยระบบ Demand & Supply ซึ่งผมเห็นว่ามีความน่าสนใจและทาออกมาได้สวยงาม องค์ความรู ้กเ็ ป็ นไปในทิศทางเดียวก ัน แต่อาจจะมี บางส่วนที่เพิ่มเติมเข้ามา ถ้าท่านสนใจลองเข้าไปศึกษาเพิ่มเติมในเว็บนี้ นะครับ 24 ควำมแข็งแรงของโซน W in te rT ra de r ความแข็งแรงของโซนมีความสาคัญอย่างมากต่อการที่ เราจะตัดสินใจใช้ประโยชน์จากโซนนั้นๆ หรื อไม่? รู ปแบบโซนที่แข็งแรงต้องมีความไม่สมดุลอย่างมากถึงจะดี เพราะถ้าราคาของดี มานด์และซัพ พลายสมดุ ลกนั ราคาที่สมดุ ลนั้นจะทาให้กราฟแสดงเป็ นแท่งเล็กๆสั้นๆ แต่ถา้ ราคาไม่สมดุลก ันมาก เท่าไร เราจะเห็นแท่งกราฟที่เป็ นแท่งยาวๆต่อเนื่องก ันหลายแท่ง คือฝั่งหนึ่งมีความต้องการที่จะซื้อหรื อ ขายมากกว่าอีกฝั่งหนึ่ง เช่ น ในกรณี ของ Demand zone คือบริ เวณโซนนั้นมีออเดอร์ที่ตอ้ งการ Buy อยู่ เป็ นจานวนมากแต่ออเดอร์ Sell มีจานวนน้อยกว่าจึงจับคู่ก ันไม่ห มด ในตอนแรกๆที่ เราเห็นเป็ นแท่งเทียน เล็กๆนั้น ก็เพราะราคามันยังสมดุลก ันอยูฝ่ ่ ายซื้ อฝ่ ายขายยังมีจานวนพอๆกนั ออเดอร์ ที่ท้ งั สองฝ่ ายใส่ ลง ไปยังไม่มีฝั่งไหนชนะ จนถึง ณ จุดๆหนึ่ง ออเดอร์ฝ่ายขายเริ่ มลดลงแต่ออเดอร์ฝ่ายซื้อยังมีอยู่มาก เมื่อของ มีน้อยราคาขายก็ตอ้ งสูงขึ้นเป็ นไปตามกฎอุปสงค์อุปทานหรื ออาจจะเป็ นว่าคนขายเริ่ มเห็ นว่าของเรา ทาไมขายดีจงั มีเท่าไหร่ กข็ ายหมดมีคนซื้ อตลอด แสดงว่ามีคนต้องการมันมาก และถ้า เราขึ้นราคาอีกนิด จะเป็ นไรมั้ยนะ มันก็น่าจะขายได้สิกค็ นต้องการมาก อย่ากระนั้นเลยเราขยับราคาให้สูงขึ้นดีกว่า เมื่อ ราคาขายสูงขึ้นเราจึงเห็นแท่งเที ยนยาวขึ้น พุ่งขึ้นด้านบน สินค้าราคาสูงขึ้น แต่ความต้องการซื้อยังมีอยู่ เป็ นจานวนมาก ก็เกิดความไม่สมดุล (Imbalance) แสดงออกมาเป็ นแท่งเทียนยาวๆ และเห็ นเป็ นเทรนด์ ขาขึ้น จนกราฟขึ้นไปจนถึงจุดๆหนึ่งที่เกิดความสมดุล คนซื้ อบอกฉันซื้อได้ที่ราคานี้เท่ านั้น ถ้าสูงกว่านี้ ฉันไม่เอา แพงเกินไป คนขายก็โอเคๆราคานี้ฉันกาไรพอละ สิ่งที่ เราเห็นก็จะแสดงออกมาเป็ นกราฟที่วิ่ง ขึ้นไปจนถึงจุดๆหนึ่งแล้วเกิดแท่งเทียนเล็กๆ (สมดุ ล จาได้ม้ยั ) แล้วกระบวนการต่างๆก็จะเกิดขึ้นอีก แต่ คราวนี้กลับข้างก ันบ้างแล้วนะ แล้วเราใช้ประโยชน์จากความไม่สมดุล (Imbalance) อย่างไรหล่ะ ง่ายๆเลยครับ เพระจุดที่เกิดความ ไม่สมดุ ลนั้น จากสถานการณ์ทาให้เรารู ้ว่าบริ เวณนั้นมีออเดอร์จานวนมากที่ ยงั รอของอยู่ คุณอาจจะสงสัย ว่า อ้าว แล้วทาไมคนที่ตอ้ งการซื้อตรงราคาแถวนั้นไม่ซ้ือไล่ราคาขึ้นไป เหตุผลง่ายๆครับ รายใหญ่จะซื้อ ที่ราคาที่คุม้ ที่สุด ออเดอร์ เขามีเป็ นจานวนมาก ถ้าเขาไล่ซ้ือทุ กราคาขึ้นไปก็เจ๊งสิครับ ต้นทุนสินค้าจะบาน ทะโล่ขนาดไหน ถ้าเช่นนั้นเขาทาอย่างไรล่ะถ้าอยากได้ของ เขาก็จะรอให้ราคามันกลับมาที่โซนราคาที่ เขาต้องการ เพราะเขารู ้ว่าถึงจุดๆหนึ่งเมื่อคนซื้อไม่มีแล้ว ราคามันก็จะต้องกลับลงมาทีบริ เวณที่มีสภาพ คล่องมากที่สุด ก็คือบริ เวณ Demand zone นัน่ เอง เราก็ผสมโรงตามน้ าไปก ับเขาสิครับ รออะไร? แต่ !แต่ !แต่มนั ไม่เสมอไปเพราะไม่เช่นนั้นคุณจะเห็นกราฟ sideway ตลอดชาติ ดังนั้นเมื่อมีขอ้ มูลใหม่เกิดขึ้นมา รายใหญ่กจ็ ะไปคานวณความคุม้ ค่าของสินค้าใหม่อีกครั้ง เราจึงเห็นโซน Demand & Supply เกิดขึ้นใหม่ อีกตลอดเส้นทางการเทรดของเรา เสียเวลาเปล่าที่จะไปคาดเดาต่างๆนาๆ เราก็เพียงแต่หาร่ องรอยของราย ใหญ่ให้เจอ แล้วก็ตามเขาไป เท่านั้น แค่น้ ีโอกาสชนะก็อยูก่ ับเราเกินครึ่ งแล้วครับ de r ra rT te in W รู ปที่ 4.1 Demand zone แบบ DBR ที่แข็งแรง จะประสบความสาเร็จในการเทรดเป็ นส่วนใหญ่ 26 de r ra rT te in W รู ปที่ 4.2 Demand zone แบบ RBR ที่แข็งแรง จะประสบความสาเร็จในการเทรดเป็ นส่วนใหญ่ 27 de r ra rT te in W รู ปที่ 4.3 Supply zone แบบ RBD ที่แข็งแรง จะประสบความสาเร็จในการเทรดเป็ นส่วนใหญ่ 28 de r ra rT te in W รู ปที่ 4.4 Supply zone แบบ DBD ที่แข็งแรง จะประสบความสาเร็จในการเทรดเป็ นส่วนใหญ่ 29 rT ra de r รูปแบบโซน Demand & Supply ที่ไม่ แข็งแรง W in te หมายเหตุ : กรณีที่เราไม่แน่ ใจว่ า Imbalance นั้นแข็งแรงจริงหรือไม่ ? ให้ เราเข้าไปดูในTF ที่เล็กกว่ าแทน และพิจารณาว่ าเป็ น Imbalance ที่น่าสนใจหรือไม่ ? ทะลุได้ ง่ายๆ จากตัวอย่าง เป็ น Demand zone D1 ที่ไม่แข็งแรง เนื่องจากโซน BASE ในวงกลมสีแดง มีจานวนแท่งเทียน มากเกิน และ Imbalance มีแท่งเทียนยาวเพียงแท่งเดียว จึงทาให้โซนนี้มีโอกาสทะลุได้ง่าย ซึ่งผลก็เป็ นไป ตามนั้นครับ 30 ประสิทธิภาพของโซน 3 ระดับ เราจะแบ่งระดับประสิทธิภาพของโซน เป็ น 3 ระดับ ดังนี้ 1.FRESH ZONE หมายถึง โซนที่สดใหม่ยงั ไม่เคยถูกทดสอบมาก่อน โซนแบบนี้จะมีโอกาส ประสบความสาเร็จในการเทรดมากที่สุด เพราะ Order ในบริ เวณนั้นยังมีอยูเ่ ป็ นจานวนมากที่ยงั ไม่ถูก Fill ไป เมื่อราคากลับมาทดสอบโซนในครั้งแรกจึงมีโอกาสที่ราคาจะเด้งกลับไปทันที 2.NON-FRESH ZONE หมายถึง โซนที่เคยถูกทดสอบมาแล้ว 1 ครั้ง โซนแบบนี้กย็ งั มี de r ประสิทธิภาพ เพียงพอที่จะประสบความสาเร็จในการเทรดได้ แต่กต็ อ้ งระมัดระวังมากขึ้น เพราะเป็ นการ กลับมาครั้งที่2 ออเดอร์ที่รอ Fill อาจจะมีเหลืออยูไ่ ม่มาก 3.USED UP ZONE หมายถึง โซนที่ถูกทดสอบมาหลายครั้งแล้ว โซนแบบนี้ถือว่าด้อยประสิทธิภาพ rT W in te ดูตวั อย่างตามภาพด้านล่ างนีค้ รับ ra ไม่เหมาะที่เราจะเทรด เพราะส่วนใหญ่ราคาจะทะลุโซนแทบทุกครั้ง 1 2 3 31 ดูอย่างไร? โซนนีใ้ ช่ ! แข็งแกร่ งจริง เคล็ดลับสาคัญในการดูว่าโซนนั้นๆเป็ น Demand & Supply zone ที่มีประสิทธิภาพหรื อไม่? นอกจาก การดูโซนว่าแข็งแรงหรื อไม่?ด้วยแท่งเทียนยาวๆ หรื อการดูแท่งเทียนตรง Base แล้ว ยังมีอีกวิธีการหนึ่ง ที่สาคัญคือ Imbalance ของโซนนั้นต้องทา HH ในกรณี Demand zone และทา LL ในกรณี Supply zone ดูตวั อย่างดีกว่าครับ de r Imbalance ทา HH HH in te rT ra HH W Imbalance ทา LL LL LL ตรรกะเรื่ องนี้คือการเทรดตามเทรนด์ ซึ่งจะมีโอกาสชนะมากกว่าการเทรดสวนเทรนด์ แต่ไม่ใช่ว่าการ เทรดสวนเทรนด์จะทาไม่ได้นะครับ สามารถทาได้แต่ตอ้ งนาทฤษฎี DOW ในบทที่ 1 มาช่วยในการ วิเคราะห์ ลองดูในตัวอย่างต่อไปนะครับ 32 จากตัวอย่างรู ปนี้ เทรนด์เดิมเป็ นเทรนด์ขาลง ทา LH LL มาต่อเนื่อง แต่แล้วเมื่อมาถึงจุดหนึ่ง ราคากลับทา HH และฐานของการทา HH นั้นเป็ นเงื่อนไขของการเกิด Demand zone แบบ DBR คุณภาพของโซน แข็งแรงตรงตามตารา อย่างนี้จึงน่าเสี่ยงด้วยประการทั้งปวง แถม Stoploss ยังแคบอีก Imbalance ทา HH LH de r HH ra LH LL rT LL W in te ตัวอย่างรู ปต่อมานี้ เทรนด์เดิมเป็ นเทรนด์ขาขึ้น ทา HH HL มาต่อเนื่อง แต่แล้วเมื่อมาถึงจุดหนึ่ง ราคา กลับร่ วงลงมาจนทา LL และฐานของการทา LL นั้นเป็ นเงื่อนไขของการเกิด Supply zone แบบ RBD คุณภาพของโซนแข็งแรงตรงตามตารา แท่งเทียน Base กลับตัวชัดเจน อย่างนี้จึงสร้างความสนใจเป็ น พิเศษแก่เทรดเดอร์จานวนมาก แม้ว่าจะเป็ นการเทรดสวนเทรนด์ ลองกลับไปทบทวนเนื้อหาในบทแรกดู นะครับ LL HL HL HH HL HH HH HH Imbalance ทา LL 33 ขั้นตอนการมองหาโซน DemandและSupply 1.มองหา Imbalance ให้ เจอ -โดยการมองไปทางซ้ายของกราฟ มองหาแท่งเทียนยาวๆที่อยูต่ ิดก ัน2-3แท่งขึ้นไป - อย่าถอยไปไกลเกินนะครับ เพราะถ้านานมากเกินไป ข้อมูลมันเปลี่ยนไปแล้วครับ 2.มองหาโซน Base - กลุ่มแท่งเทียนขนาดเล็กไม่เกิน4แท่งก่อนที่จะเกิดเป็ น Imbalance de r 3.พิจารณาว่ าเป็ นรู ปแบบใด -ใน4รู ปแบบนี้ RBD DBD DBR RBR 4.พิจารณาว่ าโซนแข็งแรงหรือไม่ ? W in te rT ra - ขนาดแท่งเทียน/จานวนแท่งเทียนของ Imbalance - จานวนและรู ปแบบแท่งเทียนในโซน Base - Imbalance นั้นๆได้ทา HH (กรณี demand zone) หรื อ LL(กรณี Supply zone) หรื อไม่? 5.พิจารณาประสิ ทธิภาพโซน - Fresh zone = ประสิทธิภาพสูงสุด - Non-Fresh zone = ประสิทธิภาพปานกลาง - Used up Zone = ด้อยประสิทธิภาพ 34 บทที่ 5 กลยุทธ์ การค้นหาTrade setup ในโซนให้ ได้ เปรียบ W in te rT ra de r เนื้อหาบทนี้ถือเป็ นส่วนสาคัญยิง่ ของกลยุทธ์การเทรดด้วยระบบ Demand & Supply Zone เพราะการหา trade signal ที่ดีจะทาให้เราได้ราคาที่ดีที่สุดใกล้เคียงก ับรายใหญ่ เวลาTake profit ก็จะทาให้เราออกจาก ตลาดใกล้เคียงก ับรายใหญ่ และStop loss ที่เราวางก็จะไม่โดนล่าจากพวก Stop hunter จะเห็นว่าเราต้อง พยายามอยูข่ า้ งเดียวก ับรายใหญ่ให้ได้มากที่สุด เพราะพวกเขาคือผูก้ าหนดทิศทางของราคา และถ้าเรา อยากอยูร่ อดในตลาดได้กต็ อ้ งอยูข่ า้ งเดียวก ับพวกเขา การเทรดระบบDemand & Supply เราจะเข้าออเดอร์เมื่อราคากลับเข้ามาในโซนครั้งที่ 1 ก ับครั้งที่ 2 เท่านั้นนะครับ เพราะว่ายังสดใหม่อยู่ ออเดอร์ ยังรอ Fill เป็ นจานวนมาก แต่ในครั้งที่ 3 ราคามักจะหลุด ทะลุโซนแทบทุกครั้งเพราะออเดอร์ ถูก fill ไปหมดแล้ว ไม่มีอะไรขวางอีกต่อไปราคาก็จะทะลุโซน ออกไป แต่ปัญหามันอยูท่ ี่ว่า เราจะวางออเดอร์ตรงไหนของโซนดีหล่ะ วางที่ขอบโซนดีม้ยั ? หรื อกึง่ กลางโซนดี ? ผมมีคาตอบให้ครับ เมื่อเราตีกรอบโซนในTF W1 หรื อ D1 ได้แล้ว ให้เราซูมลงไปในH4 มองหาแนวรับ-ต้านที่อยูใ่ กล้แท่ง เทียนตัว Base ซึ่งเราจะวาง Pending Limit Order ที่แนวรับ-ต้านนั้นๆ ดูตวั อย่างก ันดีกว่าครับ TF D1 ในวงกลมแท่งสีเขียวคือ Base ของ Supply zone นี้ และเราได้ตีกรอบโซนเรี ยบร้อยแล้ว จากนี้ไปเราต้อง ซูมดูใน H4 เพื่อหาแนวรับ-ต้านแถวบริ เวณแท่งเทียน Base ก ันนะครับ 35 ra de r จะเห็นได้ว่า เมื่อเราซูมเป็ น H4 แล้ว จะมีแท่งเทียนหลายแท่งในวงกลม แถวนี้แหละครับที่เราต้องมองหา แนวรับ-ต้าน ตามตัวอย่างจะเจอ 2 แนว ดูเส้นประนะครับ ให้เราวาง Sell Limit order ที่แนวล่างสุด (สาหรับซัพพลายโซน) จะเห็นว่ากราฟขึ้นมา Fill order ของเรา จากนั้น2-3วันราคาก็กลับลงไปตามเดิม W in te rT ตัวอย่างที่ 2 จากภาพเป็ น Demand zone D1 เราตีกรอบโซนจาก Base เรี ยบร้อยแล้ว ดูในวงกลม จากนั้น ให้เราซูมลงไปดูใน H4 มองหาแนวรับ-ต้าน ในบริ เวณใกล้แท่งเทียน Base 36 rT ra de r จะเห็นว่า เมื่อซูมลงมาในH4แล้ว เราจะเห็นแท่งเทียนหลายแท่งด้วยก ันในวงกลม จากนั้นให้มองหาแนว รับ-ต้าน แล้วตีเส้นประไว้ ตามตัวอย่างนี้มี 2 แนวเช่นก ัน ให้วาง Buy Limit order ตรงแนวรับ-ต้านเส้นที่ อยูบ่ นสุด (สาหรับดีมานด์โซน) จะเห็นว่ากราฟลงมา Fill order ในบริ เวณนั้นและกลับขึ้นไป W in te อีกซักตัวอย่าง เป็ น Demand zone D1 เราตีกรอบโซนจาก Base เรี ยบร้อยแล้ว ดูในวงกลม จากนั้นให้ เราซูมลงไปดูใน H4 มองหาแนวรับ-ต้าน ในบริ เวณใกล้ Base ซูมดูใน H4 หน้าถัดไปนะครับ 37 rT ra de r จะเห็นว่า เมื่อซูมลงมาในH4แล้ว เราจะเห็นแท่งเทียนหลายแท่งด้วยก ันในวงกลมเช่ นเดิ ม จากนั้นให้มอง หาแนวรับ-ต้าน ตีเส้นประไว้ ตามตัวอย่างนี้มี 2 แนวด้วยก ัน ให้วาง Buy Limit order ตรงแนวรับ-ต้าน เส้นที่อยูบ่ นสุด (สาหรับดีมานด์โซน) จะเห็นว่ากราฟลงมา Fill order ในบริ เวณนั้นและกลับขึ้นไปทันที W in te อีกซักตัวอย่าง ภาพด้านล่าง เป็ น Supply zone D1 เราตีกรอบโซนจาก Base เรี ยบร้อยแล้ว ดูในวงกลม จากนั้นให้เราซูมลงไปดูใน H4 มองหาแนวรับ-ต้าน ในบริ เวณใกล้ Base ดูในหน้าถัดไปนะครับ 38 de r W in te rT ra จะเห็นว่า เมื่อซูมลงมาใน H4 แล้ว เราจะเห็นแท่งเทียนหลายแท่งด้วยก ันในวงกลม จากนั้นให้มองหา แนวรับ-ต้าน ตีเส้นประไว้ ตามตัวอย่างนี้มี 2 แนวด้วยก ัน ให้วาง Sell Limit order ตรงแนวรับ-ต้านเส้น ล่างสุด (สาหรับซัพพลายโซน) จะเห็นว่ากราฟขึ้นมา Fill order ในบริ เวณนั้นและกลับลงไปทันที ตอนนี้เราก็รู้แล้วนะครับ ว่าจะเข้าออเดอร์ตรงไหนของโซน ในบทต่อๆไปเราจะมาดูก ันว่าแล้วเราจะ take profit ก ันตรงไหนได้บา้ ง แล้ว Stoploss หล่ะ จะตั้งอย่างไร? ติดตามในบทต่อๆไปนะครับ 39 บทที่ 6 เมือ่ โซนโดนทาลาย เราจะวางแผนการเทรดอย่างไร? Remove Zone คือโซนที่ถูกทาลาย ซึ่งโซนนั้นจะต้องหายไปแต่ขอ้ สังเกตอย่างหนึ่งคือ จะมีการสร้าง de r โซนใหม่ข้ ึนมา อาจจะสร้างก่อนหรื อหลังจากที่ทาลายโซนไปแล้วก็ได้ โซนใหม่จะต้องเป็ นโซนที่ตรง ข้ามก ับโซนที่โดนทาลายไป และส่วนใหญ่โซนที่เกิดใหม่น้ ีจะเป็ นโซนที่ราคาชอบกลับมาทดสอบเสมอ ตัวอย่างที่1นี้ ดีมานด์โซนโดนทาลายจากการทดสอบโซนครั้งที่ 3ที่เราเรี ยกว่า Used up zone (จาก ันได้ม้ยั ครับ) ซึ่งเราไม่วางออเดอร์ในการทดสอบโซนครั้งที่3อยูแ่ ล้ว ราคาก็ทะลุโซนลงไปจริ งๆ จากนั้นให้เรา ลองไล่สายตาขึ้นไปตามแท่งเทียนที่ทะลุโซนลงไป เราจะเจอโซนใหม่ที่เกิดขึ้น (จะตรงข้ามก ับโซนเดิม ที่โดนทาลาย) จากตัวอย่างเป็ นดี มานด์โซนที่โดนทาลาย ดังนั้นจะเกิดโซนซัพพลายขึ้นมาใหม่ ra โซนใหม่ที่สร้ างขึ้นก่อนทาลายโซน rT X te โซนโดนทาลายที่ จุดนี้ W in ตัวอย่างที่2 โซนดีมานด์โดนทาลาย เมื่อไล่สายตาขึ้นไปก็เจอซัพพลายโซนใหม่ที่เกิดขึ้นก่อนที่จะทาลาย โซน แต่ตวั อย่างนี้ราคาไม่ได้กลับไปทดสอบโซนบน แต่ราคาได้สร้างโซนซัพพลายใหม่หลังจากทาลาย โซนแล้ว และราคาได้กลับมาทดสอบโซนนี้แล้วลงต่อ Supply zone โซนใหม่ที่สร้ างขึ้นก่อนทาลายโซน โซนใหม่ที่สร้ างขึ้นหลังทาลายโซน X โซนโดนทาลายที่ จุดนี้ 40 Swap Zone คืออีกรู ปแบบหนึ่งของโซนในระบบเทรดด้วย Demand&Supply ที่เราต้องได้เจอแน่ๆ rT Down Trend ra de r Swap zone คือการสลับโซน ซึ่งหมายถึงโซนนั้นได้เปลี่ยนไปเป็ นโซนตรงข้ามแล้ว เช่น Demand zone เปลี่ยนเป็ นSupply Zone มีหลักการเดียวก ันก ับการใช้แนวรับแนวต้าน (ต้านกลายเป็ นรับ รับกลายเป็ น ต้าน) จุดสังเกตที่จะระบุได้ว่าบริ เวณนั้นเป็ น swap zone หรื อไม่? ก็คือ ราคาจะทะลุโซนไปเลย ส่วน ใหญ่แท่งเทียนจะทะลุอย่างเร็วแรง เมื่อทะลุไปแล้วและราคา pullback กลับมาทดสอบโซนเดิมนั้นอีก โซนนั้นจะเปลี่ยนหน้าที่เป็ นตรงข้ามก ัน นัน่ คือ จากDemand กลายเป็ น Supply และ Supply จะกลายเป็ น Demand แทน ส่วนใหญ่จะเกิดในเทรนด์ซ่ ึงเป็ นUp trend หรื อ Down trend ที่ชดั เจนมาก เมื่อราคาวิ่งมาเจอโซนประเภทตรงข้ามก ับเทรนด์น้ นั ๆดักอยู่ รายใหญ่จึงต้องโชว์ของอัดพลังทะลุโซน ให้เห็นจะจะ ซึ่งการที่รายใหญ่ทาอย่างนี้เขาได้ประโยชน์หลายต่อ เพราะเขารู ้ว่าบริ เวณโซนนั้นๆมี Limit order อยูม่ ากมายจับคู่ได้ของหมดแน่ ไม่เสียราคาด้วยและเมื่อดันทะลุโซนแล้ว ออเดอร์เหล่านั้นต้องมี บางส่วนโดนStoploss ออกไปแน่นอน เป็ นตัวช่วยส่งให้ราคาไปต่อได้อีก เพราะส่วนใหญ่กว็ างก ันเลย กรอบโซนไปไม่ไกลนัก ก็จะยิง่ เข้าทาง แล้วไหนจะเทรดเดอร์สาย Breakout ที่รอผสมโรงเมื่อราคาทะลุ โซนขึ้นไปอีก และหลังจากนั้นเมื่อราคาย่อลงมายังโซน ก็เป็ นจุดที่เทรดเดอร์ทุกคนมองเห็นก ันแล้ว ทีน้ ีกย็ งิ่ เป็ นที่น่าสนใจของเทรดเดอร์ทุกสาย ราคาจึงไปต่อตามเทรนด์เดิมได้ไม่ยาก มาดูตวั อย่างก ันครับ in te ราคาเด้งกลับมาทดสอบโซน แล้วลงต่อตามเทรนด์เดิม W โซนโดนทาลายตรงนี้ Up Trend โซนโดนทาลายตรงนี้ ราคาย้อนกลับมาทดสอบโซน แล้วขึ้นต่อตามเทรนด์เดิม 41 Fresh zone ก็โดนทาลายได้ แล้วจะทาอย่างไร? de r จากที่เราได้เรี ยนรู ้ก ันมาว่าให้เราเทรดเฉพาะเมื่อเป็ นการทดสอบโซนครั้งแรกก ับครั้งที่ 2เท่านั้น แต่ถา้ แค่ การทดสอบโซนครั้งแรกที่เป็ นFresh zone กลับโดนทาลายเลยหล่ะจะทายังไงดี ? ผมมีคาตอบให้ครับ สิ่งที่จะเกิดขึ้นอับดับแรกที่เราจะรับรู ้ได้กค็ ือ ออเดอร์น้ ีเราขาดทุน เพราะเราจะโดน Stoploss ออกไป แต่ ไม่เป็ นไร เราจะมาแก ้ไม้น้ ีก ัน คือหลังจากที่เราโดน Stoploss ไปแล้วนั้น ให้เรามองหาโซนในทิศทางที่ ราคากาลังวิ่งไปหลังจากทาลายโซนแล้ว เราจะเจอโซนที่เป็ นฝั่งตรงก ันข้ามก ับFresh zoneที่โดนทาลาย ไป ให้เรารอเข้าออเดอร์ตามประเภทของโซนนั้นๆ และรอจนราคาย้อนกลับมายังโซนที่โดนทาลายไป ก็ให้เราTake profit ที่จุดนั้น เพราะว่าส่วนใหญ่ กรณี Fresh zone โดนทาลาย ราคามักจะกลับมาหา Fresh zone นั้นเสมอ โปรดจาไว้ว่าวิธีน้ ีเป็ นการแก ้ไม้ที่เราโดน Stoploss จากออเดอร์ที่เราเข้าเพราะเหตุผลว่า นัน่ คือ Fresh zone แต่โซนนั้นกลับโดนทาลายก่อน จุดเข้าออเดอร์ Fresh zone โดนทาลาย W in te rT ra TP เมื่อราคากลับมาที่โซน จุดเข้าออเดอร์ Fresh zone โดนทาลาย TP เมื่อราคากลับมาที่โซน 42 บทที่ 7 การกาหนด TP SL R:R MM ที่เหมาะสม การหาจุด Take Profit และStoploss ทีเ่ หมาะสม de r การหาจุด take profit ปกติจะอิงจากโซนDemand & Supply ที่อยูใ่ นทิศทางที่ราคาวิ่งไปหลังจากที่เราเข้า ออเดอร์ได้แล้ว เราจะวางจุดTake profit ก่อนถึงโซนนั้นๆเล็กน้อย โดยที่อย่างน้อยโซนนั้นๆต้องให้ RISK:REWARD 1:2 ขึ้นไป (ถ้าไม่ถึงไม่น่าเทรดไม่คุม้ เสี่ยง) และควรวาง Stoploss ให้ห่างจากกรอบ โซนประมาณ400 จุด (Timeframe Day) เพื่อป้ องก ัน Slip page ที่เกิดขึ้นจากพวก Stop Hunter (พวกที่ ชอบลากราคามากิน Stoploss ของรายย่อยอย่างพวกเรา) มาดูตวั อย่างก ันดีกว่าครับ จุดเข้ า1.08600 ตั ้ง SL ห่าง 400 จุด จากกรอบโซน ที่ราคา 1.07787 รวม Stoploss = 813 จุด W in te rT จุด Take profit ก่อนถึง Supply zone ได้ R:R = 1:3 ที่ ราคา 1.11060 ra Supply zone จากตัวอย่าง EURUSD TF day เมื่อเราเห็น Demand zone เกิดขึ้นเป็ นแบบ RBR เราลองหา trade setup ที่แนวรับต้าน H4ในโซน (ดูในบทเรี ยนที่ 5) และเราได้ต้ งั SLให้ห่างจากกรอบโซน 400 จุด ได้ที่ราคา 1.07787 เป้ าหมาย Take profit ที่ R:R 1:3 (เกิน 1:2 ตามเกณฑ์ที่ต้ งั ไว้) เพราะตรงนั้นมี Supply zone (ใน วงกลมสีแดง) อย่างนี้น่าเทรดได้ เราจึงวาง Buy Limit order ได้ที่ 1.08600 กราฟได้ลงมา Fill order ของ เราจากนั้นราคากลับตัวขึ้นไป ในที่สุดราคาขึ้นมาถึงโซน Take profit ของเราอย่างสมบูรณ์ หลายท่าน มองกราฟนี้แล้วถามว่าทาไมไม่ไปTake profit ที่ Supply zone บนสุดล่ะ ราคาก็ข้ ึนไปถึงนี่นะ ในความ เป็ นจริ งรู ปนี้เหตุการณ์มนั เกิดขึ้นไปแล้วเราจึงเห็นอย่างที่เห็นแบบนี้ ซึ่งถ้าเป็ นขณะนั้นในเหตุการณ์หน้า งานเราไม่เห็นแบบนี้หรอกครับเพราะมันยังไม่เกิดขึ้น เราจึงต้องทาตามกฎที่วางไว้เท่านั้น 43 ตั ้ง SL ห่าง 400 จุด จากกรอบโซน ที่ราคา 0.89011 รวม Stoploss = 738 จุด จุดเข้ า0.88273 ra de r จุด Take profit ก่อนถึง Demand zone ได้ R:R = 1:2.5 ที่ ราคา 0.86440 rT จากตัวอย่าง EURGBP TF day เมื่อเราเห็น Supply zone เกิดขึ้นเป็ นแบบ DBD เราลองหา trade setup ที่แนวรับต้าน H4ในโซน (ดูในบทเรี ยนที่ 5) ได้ที่ราคา 0.88273 และเราได้ต้ งั SLให้ห่างจากกรอบ โซน 400 จุด ได้ที่ราคา 0.89011 เป้ าหมาย Take profit ที่ R:R 1:2.5 (เกิน 1:2 ตามเกณฑ์ที่ต้ งั ไว้) เพราะ ตรงนั้นมี Demand zone อย่างนี้น่าจะเทรดได้ เราจึงวาง Sell Limit order ได้ที่ 0.88273 กราฟได้ข้ ึนมา Fill order ของเราจากนั้นราคากลับตัวลงต่อ ในที่สุดราคาลงมาถึงโซน Take profit ของเราอย่างสมบูรณ์ te การกาหนด R:R / MMให้ เหมาะสม W in ที่เราจาเป็ นต้องตั้งกฎ Risk : Reward ให้มากกว่า 1 : 2 เราถึงจะเข้าเทรดนั้น ก็เป็ นการบริ หารจัดการ เงินทุนในการเทรดของเรา สมมติเรามีเงินลงทุน 1,000$ โดยมีโอกาสเทรดทั้งหมด 10 ครั้ง ซึ่งจะลงทุน ครั้งละ 100$ และเมื่อมีผลการเทรดดังนี้ ชนะ 5 ครั้ง แพ้ 5 ครั้ง 5 ครั้งที่เราชนะ ผลรวมจะเท่าก ับ 5 x 100 x 2 = 1,000 $ 5 ครั้งที่เราแพ้ ผลรวมจะเท่าก ับ 5 x 100 x1 = 500$ ผลการเทรดของเราทั้ง 10 ครั้ง ถึงผลแพ้ชนะเท่าก ัน คุณยังมีกาไร 1,000$ - 500$ = +500$ ส่ วนการคานวณ LOT ทีเ่ หมาะสม จะคานวณดังนี้ สมมติ เรามีเงินอยู่ 1,000$ เพื่อการลงทุนใน Forex และต้องการเทรดให้ได้กาไรอย่างยัง่ ยืน ซึ่งในการ เทรดแต่ละครั้งเรายอมเสี่ยงที่ 100$ หมายความว่าเงิน 1,000$ ที่เรามีน้ นั สามารถเทรดได้ 10 ไม้ คือเราจะ มีโอกาส 10ครั้ง สาหรับเงินทุนก ้อนนี้ ทีน้ ีเงินที่เรายอมเสี่ยงแต่ละครั้งซึ่งเท่าก ับ 100$ นั้น เราจะออกLot ได้เท่าไหร่ ต้องดูที่ตวั แปรสาคัญคือ Stoploss (สูตรการคานวณขนาดLot คือ Risk / SL = ขนาด Lot) สมมติตามตัวอย่างข้างบนนี้ Risk = 100$ / SL =738 จุด = 0.135 Lot นัน่ คือขนาด Lot ที่เราจะสามารถ เทรดได้สาหรับการเทรดครั้งนี้ คือถ้าการเทรดครั้งนี้เราโดน Stoploss ออกไป เราจะขาดทุน = 100$ นัน่ เองครับ 44 บทที่ 8 การวิเคราะห์ Multi Time Frame เพือ่ วางแผนการเทรดอย่างละเอียด การวิเคราะห์ Multi timeframe เป็ นการวางแผนการเทรดอย่างเป็ นระบบโดยเริ่ มพิจารณาจากภาพใหญ่ แล้วจึงซูมลงไปในภาพเล็กเพื่อหาจุดเข้าเทรดที่เหมาะสมและได้เปรี ยบมากที่สุด เริ่ มจากการวิเคราะห์ที่ Month > Week > Day > H4 de r หลักสาคัญของการเทรดด้วยระบบ Demand&Supply ที่ตอ้ งจาให้แม่นคือ 1.ดูเทรนด์ให้ออก เทรนด์สาคัญที่สุด 2.ฝั่งไหนควบคุมตลาดอยู่ 3.ฝั่งที่ควบคุมนั้น ตามเทรนด์หรื อสวนเทรนด์ (เล่นได้ท้ งั 2แบบแต่แตกต่างก ัน) W in te rT ra มาดูตวั อย่างกันนะครับ USDCHF เริ่ มจาก Month เทรนด์ใหญ่เป็ น Side way up มี Demand MN ควบคุมอยู่ จากที่ราคาลงไป ทดสอบ Demand MN และแท่งเทียนกลับตัวขึ้นมา และราคาก็ข้ ึนต่อมาเรื่ อยๆมีสลับย่อสั้นๆเป็ นระยะ คาดว่าราคาน่าจะขึ้นไปทดสอบ Supply zone MN ที่เป็ น Fresh zone ตอนนี้เรารู ้แล้วว่า 1.เทรนด์ใหญ่เป็ นขาขึ้น Side way up 2.ฝั่ง Demand คุมเกมส์อยู่ 3.ฝั่งที่คุมเกมส์อยูน่ ้ นั เป็ นไปตามเทรนด์ใหญ่ เมื่อรู ้อย่างนี้แล้วเราก็ควรจะเทรดฝั่ง Buy เพราะมีโอกาสชนะมากกว่า ถ้าอย่างงั้นเราซูมลงไปดูก ันต่อ ครับ ว่าจุดไหนที่เราจะเข้าเทรดได้บา้ ง 45 HH HH HH HL โซนที่จะเข้าซื้อ de r HL จุด TP W in te rT ra มาดูก ันต่อครับ เมื่อเราซูมลงมาใน TF W1 จะเห็นว่าเทรนด์กย็ งั เป็ นขาขึ้น เพราะยังทา HH HLยกขึ้นไป เรื่ อยๆ แต่ปัจจุบนั ราคากาลังย่อลงมาทดสอบ Demand W1 :ที่ดูแล้วเป็ นโซนแข็งแรงใช้ได้ Imbalance ทา HH และเป็ น Fresh zone ด้วยซึ่งเป็ นโอกาสให้เราเข้าซื้อได้ เพราะเราจะเทรดฝั่งเดียวก ับเทรนด์ใหญ่อยู่ แล้ว จากนั้นเราก็ซูมลงไปดูใน TF Day ต่อ เพื่อมองหาจุดที่จะTake Profit ว่าเข้าเงื่อนไขอะไรบ้างหรื อไม่? เมื่อเราซูมดูในTF D1 จุดแรกที่เราสนใจก็คือบริ เวณโซน Supply D1 โซนใหม่ที่เกิดขึ้น เพราะตรงบริ เวณ นี้น่าจะเป็ นจุด Take profit ตามกฎที่เราวางไว้และมีR:R มากกว่า 1:2 (ดูในบทที่7) ตอนนี้เราก็ได้รู้จุดที่ เราจะออกจากการเทรดไม้น้ ีแล้ว ทุกอย่างเป็ นไปตามเงื่อนไข ต่อไปเราก็ตอ้ งมองหาจุดเข้าออเดอร์ที่ ได้เปรี ยบมากที่สุด ซึ่งเราจะหาได้ใน H4 ซูมลงไปดูใน H4 ก ันต่อเลยครับ 46 จุด TP 1:2 de r จุดเข้าออเดอร์ W in te rT ra ใน H4 เราจะมาหาจุดเข้าออเดอร์ก ันนะครับ โดยมองหาแนวรับ-ต้าน ที่อยูใ่ กล้แท่งเทียนBase (ดูในบทที่5) ตามตัวอย่างนี้เราได้ 2 แนวรับ-ต้านตามที่ตีเส้นประไว้ ซึ่งเราจะเข้าออเดอร์ที่เส้นประแนวบนในกรณี ดีมานด์โซน จากภาพเราจะเห็นว่ากราฟได้ลงมาถึง จุดเปิ ดออเดอร์ของเราแล้ว ออเดอร์ของเราจึง Fill เรี ยบร้อย ทั้งนี้เราจะวาง Stoploss ไว้ห่าง 400 จุดจากกรอบโซนล่าง ป้ องก ันSlip page ของพวกล่า Stoploss และตอนนี้เราก็ทาทุกอย่างตามที่ได้เรี ยนรู ้มาทั้งหมดแล้ว ที่เหลือก็รอกราฟเฉลย แต่สิ่งที่เราต้องคิดต่อไปคือ ถ้าผลไม่เป็ นไปตามที่เราคาดการณ์ เราจะแก ้ไม้น้ ีอย่างไร? คาตอบนั้นอยูใ่ นบทที่ 6 นัน่ เองครับ ถ้าราคาลงมาถึงตรงนี้ วิธีแก้ไม้น้ ี อยูใ่ นบทที่ 6 ขณะที่ท่านได้อ่านหนังสือเล่มนี้อยู่ ผลของกราฟคู่น้ ี USDCHF คงจะเฉลยผลออกมาเป็ นที่ เรี ยบร้อยแล้ว (ตัวอย่างนี้จดั ทาเมื่อวันที่ 5/6/62) ไม่ว่าผลจะเป็ นอย่างไรท่านควรนามาวิเคราะห์ต่อเพื่อฝึ กให้เกิดความ ชานาญมากยิง่ ขึ้นครับ 47 บทที่ 9 เส้ น EMA 50 EMA 200 เส้ นค่าเฉลีย่ 2 เส้ นนีม้ ดี ีอย่างไร? W in te rT ra de r ในสไตล์การเทรดของผม ผมชอบใช้เส้นค่าเฉลี่ย 2 เส้นนี้เป็ น Filter ช่วยยืนยันแนวรับต้านในโซน Demand & Supply zone ซึ่งผมไม่ได้เอามาใช้แบบว่าตัดขึ้นซื้อ ตัดลงขายนะครับ มันไม่ถูกต้องเท่าไหร่ เพราะเส้น Moving Average เหมาะที่จะใช้เพื่อเป็ นตัวกรองสัญญาณการซื้อขายหรื อสนับสนุ นสร้าง ความมัน่ ใจมากขึ้นในการลงมือซื้อขายการวิเคราะห์กราฟของราคา แต่ไม่เหมาะที่จะใช้สญั ญาณการตัด ก ันระหว่างกราฟราคาก ับเส้น Moving Average หรื อการตัดก ันของเส้น Moving Average เพื่อเป็ น สัญญาณสาหรับลงมือซื้อขายนะครับ ผมเซ็ทค่าของทั้ง2เส้นตามนี้ครับ แล้วผมเอาไปทาอะไรต่อ ตามดู ก ันครับ ลองดูตวั อย่างในกราฟหน้าถัดไปก ันนะครับ ว่ามันมีนยั ยะสาคัญอย่างไร ทาไมผมถึงแนะนาเส้นค่าเฉลี่ย 2 เส้นนี้ จริ งๆแล้วเพราะมันเป็ นราคาเฉลี่ยตามจานวนวันที่เรากาหนด เส้น EMA 50 วัน เปรี ยบเสมือนการคิดเฉลี่ยย้อนหลัง 50 วันทาการ หรื อ ประมาณ 2 เดือน เส้น EMA 200 วัน คือตัวเลขกลมๆของจานวนวันประมาณ 3 ไตรมาส 48 de r W in te rT ra ตัวอย่าง EURGBP TF day Supply zone ที่ผมตีกรอบไว้เพื่อรอราคากลับมาทดสอบ แล้วราคาก็ได้ข้ ึนมา ทดสอบชนเส้น EMA 50 สีแดง(ในวงกลม) ซึ่งเป็ นบริ เวณแนวรับต้านที่เราใช้หาจุดเข้าออเดอร์ที่อยูใ่ น โซนซัพพลายพอดี จากนั้นราคาก็ลงต่ออีกยาว ตัวอย่าง USDCAD TF W1 Demand zone แบบRBRที่ผมตีกรอบสีฟ้าไว้ ราคาย่อกลับมาทดสอบโซน และชนเส้น EMA 200 สีน้ าเงิน(ในวงกลม) ซึ่งเป็ นบริ เวณแนวรับต้านที่อยูใ่ นโซนดีมานด์อย่างพอดี จากนั้นราคาก็ข้ ึนต่ออีกยาว หมายเหตุ : เส้น EMA ทั้งสองเส้นนี้เราจะใช่เพียงเป็ นตัวช่วยยืนยันบ้างเท่านั้น แต่คงไม่ได้นามาใช้เป็ น เรื่ องหลักในการพิจารณาแต่ละโซน ซึ่งผมให้น้ าหนักก ับตัวช่วยนี้เพียง 10% เท่านั้น เหมือนการทาขนม หวานแต่กย็ งั ต้องใส่เกลือนิดๆนัน่ แหละครับ 49 บทที่ 10 Harmonic Trading การประยุกต์ ใช้ ร่วมกับ Demand&Supply Harmonic Trading คืออะไร de r ในการเทรด Forex หรื อการเทรดในตลาดทุนใดๆก็ตาม เทรดเดอร์ยอ่ มพยายามหาเครื่ องมือที่จะนามาใช้ ทานายการขึ้นลงของราคาในอนาคต เราจึงเห็นเครื่ องมือต่างๆเยอะแยะเต็มไปหมดจนบางครั้งไม่รู้ว่าจะ เลือกอันไหนมาใช้ดี ซึ่งในบทนี้ผมจะแนะนาเครื่ องมืออีกตัวหนึ่งที่ ใช้หลักคณิ ตศาสตร์มาประกอบการ หาTrade signal ที่ได้ผลดี นัน่ คือ Harmonic Trading โดยใช้หลักของ Fibonacci มาประกอบก ับรู ปทรง เพื่อหาจุดกลับตัวของกราฟราคาได้อย่างแม่นยา ซึ่งส่วนใหญ่รูปทรงจะเป็ นพวกสัตว์ต่างๆ Harmonic Trading นี้ บางท่านก็ว่าใช้ง่าย บางท่านก็ว่าใช้ยากไม่ถนัด เพราะต้องใช้การสังเกตและ จินตนาการ แต่ขอ้ เด่นอย่างหนึ่งของเครื่ องมือนี้คือ ถ้าเข้าใจและมองออกก็จะเจอจุดเข้าทากาไรได้ทนั ที rT ra รู ปแบบ Pattern ของ Harmonic trading ที่เป็ นที่รู้จกั และเห็นประจาก็จะมีดงั นี้ 1. รู ปแบบ BAT 2. รู ปแบบ CRAB 3. รู ปแบบ BUTTERFLY 4. รู ปแบบ SHARK 5. รู ปแบบ GARTLEY 6. รู ปแบบ CYPHER W in te ซึ่งอัตราส่วนสาคัญที่นามาพิจารณาองค์ประกอบของรู ปทรงนั้นก็คือ 0.618 และ 161.8 ซึ่งเป็ นสัดส่วนที่สาคัญใน Fibonacci 0.786 ซึ่งเป็ น square root ของ 0.618 0.886 ซึ่งเป็ น square root ของ 0.786 1.13 ซึ่งเป็ น square root ของ 1.27 1.27 ซึ่งเป็ น square root ของ 1.618 ทั้งหมดนี้กค็ ืออัตราส่วนของ Fibonacci retracement นัน่ เองครับ แล้วถ้าเรานา Harmonic pattern เหล่านี้มาประกอบเข้าก ันก ับระบบ Demand & Supply zone ที่เรากาลัง เรี ยนรู ้ก ันอยูต่ อนนี้ อะไรจะเกิดขึ้น! บอกได้คาเดียวเลยครับว่า “เสือติดปี ก” ไปดูตวั อย่างก ันครับ 50 มาดูตวั อย่างการใช้ Harmonic pattern ก ับระบบ Demand & Supply ก่อนอื่นเราต้องพยายามจารู ปแบบ คร่ าวๆของแต่ละแบบให้ได้กอ่ นนะครับ ทุกรู ปแบบที่ผมแนะนาในบทนี้จะมีจุดสาคัญอยู5่ จุด คือ X A B C D ซึ่งจุด D จะเป็ นจุดที่เราวางออเดอร์ เวลาเราดูกราฟเราต้องหา จุด X จุด A จุด B ให้เจอก่อน โดย จุด B จะเป็ นตัวกาหนดรู ปแบบให้แคบลง และเมื่อเราติดตามไปเรื่ อยๆจนเกิดเป็ นจุด C รู ปแบบก็จะยิง่ แคบลงเหลือ1-2 รู ปแบบเท่านั้น ทีน้ ีเราก็พอคาดการณ์จุด D ได้ ซึ่งจะเป็ นจุดที่เราจะเข้าออเดอร์ โดยมอง หาโซนในบริ เวณนั้นและอาจจะรอ Price Action กลับตัวก็ได้ ผมจะยกตัวอย่างรู ปแบบ Cypher ก ับ Shark ซึ่ง2รู ปแบบนี้มีความคล้ายก ันถึง 4 จุด คือ X A B C จะต่างก ันที่จุด D ที่จะอยูใ่ นสัดส่วน Fibonucci ที่ 78.6 88.6 113 Bullish Cypher ra de r Bullish Shark W in te rT ดูตวั อย่าง กราฟ USDCHF ณ ปั จจุบนั (ผมเขียนบทความนี้วนั ที่ 15 /06/2562) ในอดีตผมได้เจอ 3 จุด คือ X A B และผมก็ติดตามไปเรื่ อยๆจนเกิดจุด C ซึ่งทาให้ผมจาก ัดรู ปแบบลงเหลือเพียง 2 รู ปแบบนี้เท่านั้น คือ Bullish Cypher ก ับ Bullish Shark เท่านั้น และผมได้พบว่าบริ เวณแนวFibonucci ที่มีโอกาสเกิดจุด D ของทั้งสองรู ปแบบนี้ มีโซน Demand อยูท่ ้ งั 3โซน แต่ผมคงให้น้ าหนักที่เส้น 78.6 ของรู ปแบบ Cypher เป็ นอันดับแรกที่ Demand D1 และข้ามไปให้น้ าหนักที่เส้น 113 ที่ Demand W1 ของรู ปแบบ Shark เมื่อ สรุ ปได้อย่างนี้เราก็สามารถที่จะวาง Limit order และ Stoploss ได้ตามระบบที่เราเรี ยนมาแล้วนัน่ เองครับ และสาหรับจุดTP ถ้าเอาแบบง่ายๆก็คือเมื่อราคาย้อนกลับมาถึงจุด B ครับ ยกเว้นในรู ปแบบที่ จุด B ก ับ จุด D อยูใ่ กล้ก ันมากเราจะย้ายจุดTP ไปที่จุด C หรื อไปTP ที่โซนใกล้ที่สุดที่ราคากาลังวิ่งไปหา C A B X 51 A C C W in te A rT ra de r Bullish Bat B B DD X X 52 rT ra de r Bearish Bat D W in te X B C A 53 C W in te A rT ra de r Bullish Crab B X D 54 te rT ra de r Bearish Crab W in D X B C A 55 C W in te A rT ra de r Bullish Butterfly B X D 56 in te rT ra de r Bearish Butterfly D W X B C A 57 C W in te A rT ra de r Bullish Shark B X D 58 rT ra de r Bearish Shark te X W in D B A C 59 rT ra de r Bullish Gartley A W in te C B D X 60 in te rT ra de r Bearish Gartley X W D B C A A 61 rT ra de r Bullish Cypher te C W in A B D X 62 te in X rT ra de r Bearish Cypher D W B A C 63 de r ra rT W in te ขอให้ทุกท่านฝึ กฝน โดยลองหาตัวอย่างเปรี ยบเทียบจากกราฟคู่เงินต่างๆใน MT4 เรี ยนรู ้ไปทีละบทจนจบ เล่ม และให้ทบทวนทั้งหมดอีกครั้งหนึ่ง จากนั้นให้ฝึกดูกราฟบ่อยๆลองหัดวิเคราะห์ แล้วท่านจะเข้าใจระบบ นี้อย่างทะลุปรุ โปร่ งจนเกิดความชานาญและสามารถนาไปใช้ให้เกิดประโยชน์อย่างมหาศาล ผมขอเป็ น กาลังใจให้ทุกท่าน ถ้าติดขัดหรื อมีขอ้ สงสัยประการใดเราคุยก ันได้ตลอดนะครับ สวัสดีครับ . ติดตามบทความอืน่ ๆได้ ที่ Facebook - เพจ Forex Demand & Supply by Winter Trader Facebook - กลุ่มปิ ด กลุ่มกลยุทธ์ Demand & Supply zone Tel. 064-737-1892 , Line ID : upaipol UPAIPOL CHANPANICHKIJAKARN จบการศึกษาปริญญาตรี คณะบริหารธุรกิจ สาขาการโฆษณาและประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัยรามคาแหง เคยทางานในแวดวงโทรทัศน์และวงการโฆษณา เคยรับราชการใน ตาแหน่งนักพัฒนาการท่องเที่ยว เคยเป็ นที่ปรึกษาการลงทุนในตลาดสินค้าเกษตรล่วงหน้า (AFET) ปัจจุบันทาธุรกิจส่วนตัวและลงทุนในตลาดทุนต่างๆ 64 de r ra rT W in te Forex trading strategy with demand & supply zone สงวนลิขสิทธิ์ ห้ ามนาส่วนหนึง่ ส่วนใดในเอกสารคู่มอื ฉบับนี ้ไปทาซา้ หรือเผยแพร่ในรู ปแบบใดๆ หรือด้ วยวิธีอนื่ ใดไม่ว่าจะเป็ นทางอิเลคทรอนิกส์ ทางกลไก รวมทังการถ่ ้ ายเอกสาร การบันทึก หรือการเก็บข้ อมูลและระบบกู้คืนข้ อมูลใดๆ โดยไม่ได้ รับอนุญาตเป็ นลายลักษณ์ อกั ษรจากผู้เรีย บเรียง 65