6/23/2022 โครงการพั ฒนาทักษะการค้นหาและใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ทางการพยาบาล และหลักการ-เทคนิคการอ่านบทความ/วิจัยทางการพยาบาล EvidenceBased Practice in Healthcare Kwankaew Wongchareon, PhD, MSN, RN Department of Adult and Gerontology Nursing Naresuan University kwankaeww@nu.ac.th 1 AT THE END OF THIS LECTURE, YOU SHOULD BE ABLE TO: Audit Ask • ตังคําถามทางคลินิกโดยใช้กรอบ PICO framework ได้ • อธิบายชนิดของคําถามเบืองต้นทางคลินิกทัง 5 ชนิดได้ • ระบุวิธีการวิจัยในการตอบคําถามทางคลินิกทีตังไว้ได้อย่างเหมาะสม Apply Acquire • แยกความแตกต่างระหว่าง systematic reviews, meta-analyses และ narrative/clinical topic reviews ได้ • ค้นหาหลักฐาน งานวิจัยทีเกียวข้องบนฐานข้อมูล Medline/PubMed ได้ Appraise • ระบุและเลือกหลักฐาน หรืองานวิจัยทีทันสมัย สามารถตอบคําถามทาง คลินิกได้ มีความถูกต้อง น่าเชือถือ และนํามาใช้ได้จริง (Straus, Glasziou, Richardson & Haynes, 2011) 2 1 6/23/2022 HOW TO IMPLEMENT EVIDENCEBASED PRACTICE ค้นหาข้อสงสัย หรือ ปญหาทางคลินิก ประเมินขันตอนที 1-4 ซํา หา วิธีการปรับปรุงแต่ละขันตอนให้ ดีขน ึ เพื อให้การทํางานครังต่อไป มีประสิทธิภาพมากขึน นําความรู้ทได้ ี มาปรับใช้เพื อช่วย ตัดสินใจทางคลินิก Audit Ask เปลียนข้อสงสัย หรือปญหาทางคลินิก ให้เปนคําถามทีชัดเจน สามารถหา คําตอบได้ Apply Acquire Appraise หาหลักฐานทีดีทีสุดมาช่วยตอบคําถาม ทางคลินิก พิจารณาคุณภาพของหลักฐานว่ามีความตรง เกียวข้องกับคําถาม น่าเชือถือ เปนประโยชน์กับผู้ใช้บริการกลุ่มเปาหมาย และสามารถนํามาใช้ได้ (Straus, Glasziou, Richardson & Haynes, 2011) 3 WHAT IS EVIDENCE-BASED PRACTICE The conscientious, explicit and judicious use of current best evidence in making decisions about the care of the individual patient. It means integrating individual clinical expertise with the best available external clinical evidence from systematic research (Sackett, Rosenberg & Gray, 1996) การเลือกข้อมูลความรู้ทีถูกต้อง ชัดเจน มีความเปนไปได้ และมีความทันสมัย ทีได้มาจากการสืบค้นข้อมูลอย่างเปนระบบ มาผนวกเข้ากับ ประสบการณ์ทางคลินิก เพื อใช้ประกอบการตัดสินใจ และเปนแนวทางในการดูแลผู้ใช้บริการ 4 2 6/23/2022 EVIDENCE-BASED PRACTICE Best research evidence EBP Clinical expertise Information from the practice context Clinical Reasoning Patient’s values and circumstances การใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ไม่ใช่เปนเพียงกระบวนการทีใช้ขอ ้ มูลหรืองานวิจย ั ทีดีทสุ ี ดมาช่วยในการตัดสินใจทางคลินก ิ เท่านัน แต่เปนกระบวนการที นําความรู้ความเชียวชาญทางคลินิก รวมทังทักษะและประสบการณ์ทเกิ ี ดจากการสังสมมาเปนเวลายาวนานของบุคลากรทางสุขภาพ มาผนวกเข้า กับบริบทของผู้ใช้บริการทางด้านความเชือ แหล่งสนับสุนทางสังคม และสถานะทางเศษฐกิจ รวมทังบริบทของแหล่งให้บริการ เช่น งบประมาณและ ข้อจํากัดด้านการดูแล มาเปนเหตุผลทางคลินิก (clinical reasoning) เพือใช้ตัดสินใจให้การดูแลผู้ปวยหรือผู้ใช้บริการ (Hoffman, Bennett, & Del Mar, 2013) 5 บุคลากรสุขภาพทํางานตามความรู้ทเคยเรี ี ยนมา เชือตามคําแนะนําของ บุคลากรรุ่นพีทีมีประสบการณ์มากกว่า และทําตามสัญชาตญาณหรือ ความเชือส่วนบุคคลว่าวิธีการทีตนทําอยู่นันถูกต้องเหมาะสม WHAT HAPPENED BEFORE EVIDENCE-BASED การใช้ประสบการณ์ทมี ี อยู่ไม่ว่าจะเปนประสบการณ์ของตนเองหรือ บุคลากรรุ่นพีเปนวิธีทดี ี ในการดูแลผู้ใช้บริการ แต่การพึ งสิงเหล่านีเปน หลักก็อาจก่อให้เกิดอันตรายแก่ผู้ใช้บริการได้ เนืองจากประสบการณ์ หรือความรู้ทีมีอยู่เดิมอาจไม่ทันสมัย หรือไม่ถูกต้องเพียงพอในการดูแล ปญหาเฉพาะของผู้ใช้บริการทีมีความซับซ้อนมากขึน หรือในสภาวะที ทรัพยากรการดูแลมีจํากัด PRACTICE 6 3 6/23/2022 EBP มีเปาหมายเพือให้ผ้ใู ช้บริการได้รับการดูแลทีมีประสิทธิภาพสูงสุด เท่าทีมีอยู่ในขณะนัน โดยมีความคาดหวังว่าเมือให้การดูแลโดยใช้ EBP เปนหลักแล้ว จะทําให้ผลลัพธ์ทางการดูแล (patient outcomes) ดีขึน EBP ช่วยส่งเสริมและกระตุ้นให้บุคลากรสุขภาพตังคําถามต่อการ WHY IS EVIDENCE-BASED PRACTICE IMPORTANT ทํางานของตนเองว่า เพราะอะไรเราจึงดูแลผู้ใช้บริการด้วยวิธีนี? มีหลักฐานหรือข้อมูลอะไรทีช่วยให้เราทํางานได้อย่างมีประสิทธิภาพมาก ขึนบ้าง? EBP เปนแนวทางให้เราปฏิบัติงานหรือเลือกวิธีการดูแลทีคุ้มค่า เหมาะสมกับระยะเวลาและทรัพยากรของหน่วยงานมากทีสุด 7 งานวิจัยทีมีอยู่ในปจจุบันนีไม่ใช่ว่าทุกเรืองสามารถหรือสมควรนํามาใช้ เปนแนวทางในการดูแลผู้ใช้บริการ ดังนันบุคลากรสุขภาพจึงควรมี ทักษะและความเข้าใจในการเลือกใช้งานวิจัยชนิดต่างๆ ให้เหมาะสม เกณฑ์สําคัญทีใช้ในการพิจารณาเลือกหลักฐานหรืองานวิจัยเพื อ นํามาใช้เปน EBP สามารถจําแนกออกเปน 3 เรืองสําคัญ ได้แก่ IS NOT ALL PUBLISHED RESEARCH OF GOOD QUALITY • Validity (ความตรง) – หลักฐานหรืองานวิจัยเรืองนีสามารถเชือถือ ได้ไหม? • Impact (ผลทีมีตอ ่ ผูใ้ ช้บริการ) – ผลลัพท์ทีได้ทางคลินิกจากการนํา หลักฐานหรืองานวิจัยเรืองนีมาใช้มีมากน้อยเพียงใด? • Applicability (ความเปนไปได้ในการนํามาใช้) – เราสามารถนํา ข้อมูล แนวทาง หรือผลการศึกษาของงานวิจัยนีมาใช้ในหน่วยงาน ของเราได้หรือไม่? เพราะอะไร? 8 4 6/23/2022 ASKING STRUCTURED AND FOCUSED CLINICAL QUESTIONS การตังคําถามทางคลินิกเปนขันตอนหนึงทีสําคัญทีสุดในการเริมต้นนํา หลักฐานเชิงประจักษ์มาใช้ การตังคําถามทีเหมาะสม จะช่วยให้พยาบาล สามารถระบุชนิดของข้อมูลทีควรนํามาใช้ หรือแม้แต่กําหนดขอบเขตของ คําถามทีชัดเจนเพื อให้ง่ายต่อการสืบค้นข้อมูลได้ คําถามทางคลินิกทีดีควรมีลักษณะ ได้แก่ • มีความน่าเชือถือ • มีความเกียวข้อง ตรงกับสิงทีต้องการพั ฒนาหรือตรงกับปญหาทีอยาก แก้ไข • มีโครงสร้างในการตังปญหาทีทําให้การสืบค้นข้อมูลทําได้ง่าย และได้ หลักฐานทีมีคุณภาพ (Geddes, 1999; Schardt, Adams, Owens, Keitz & Fontelo, 2007) 9 STEPS IN FORMULATING A CLINICAL QUESTION 1. จําแนกส่วนต่างๆ ของคําถามอย่างเปนระบบโดยใช้ PICO framework 2. เรียบเรียงส่วนต่างๆ ของคําถามทีได้ให้เปนประโยค เพื อให้ง่ายต่อการ สือสารในทีม เกิดความเข้าใจเปนไปในทิศทางเดียวกัน 3. ระบุ/เลือกชนิด (domain) ของคําถามทีตังไว้ PICO มาจาก o Patient problem or Population o Intervention o Comparison or Control o Outcome (Geddes, 1999; Schardt, Adams, Owens, Keitz & Fontelo, 2007) 10 5 6/23/2022 FRAMEWORK ITEM THINK ABOUT EXAMPLE Patient problem - คุณลักษณะของผู้ปวยกลุ่มเปาหมายเปนแบบใด? เช่น เพศ อายุ โรคอะไร คือปญหาของคนกลุ่มนี? or Population - ประเภทของปญหาคืออะไร? เช่น การรักษา การปองกัน พยากรณ์โรค ื อะไร ? เช่น ยาชนิดต่างๆ กิจกรรม Intervention or - วิธีการแก้ไขปญหาทีอยากนํามาใช้คอ การดูแล (การออกกําลังกาย การดูดเสมหะ) วิธีการตรวจวินิจฉัยโรค Exposure - ปจจัยเสียงทีทําให้เกิดโรค ี ัวเปรียบเทียบหรือไม่ โดยตัว Comparison or - วิธีการแก้ไขปญหาทีอยากนํามาใช้มต เปรียบเทียบนีเปนวิธีการมาตรฐานทีใช้กันมาอย่างแพร่หลาย หรือเปนวิธีที Control ดี ถูกต้องทีสุดในขณะนัน? เช่น ยา x, การดูดเสมหะโดยใช้ NSS หรือการตรวจพยาธิสภาพด้วย CT scan - เปาหมายสูงสุดทีคาดว่าจะเกิดขึนหลังแก้ปญหาคืออะไร ? Outcome - ผลลัพธ์ใดทีไม่อยากให้เกิด ? - มีผลข้างเคียงใดทีอาจเกิดขึนจากการใช้วิธีนแก้ ี ปญหาหรือไม่ ? ผู้ปวย COVID-19 ทีมี ภาวะการหายใจ ล้มเหลว การใช้เครืองช่วย หายใจแบบพ่วงต่อ 1 เครือง: ผู้ปวย 2 คน การใช้เครืองช่วย หายใจ 1 เครือง: ผู้ปวย 1 คน อัตราการเกิดภาวะ Hypoxia, ผล Arterial blood gas 11 Points to keep in mind: • ในหัวข้อ Patient นอกจากจะพิจารณาคุณลักษณะด้านเพศ อายุ หรือโรคแล้ว ควร คํานึงถึงปจจัยอืนๆ เช่น เศรษฐานะ ความเชือ ระดับการศึกษา หรือปจจัยอืนๆ ทีอาจ มีผลต่อการปฏิบัตต ิ ามแนวทางการแก้ปญหาทีบุคลากรสุขภาพอยากนํามาใช้ดว้ ย ช่วยในการประเมินความเปนไปได้ของ intervention • คําถามทางคลินิกบางลักษณะอาจจะไม่มี Comparison ก็ได้ • Outcome ควรเปนสิงทีสามารถวัดได้แบบเปนรูปธรรม มีเกณฑ์มาตรฐานทียอมรับ ชัดเจน สามารถนําข้อมูลมาวิเคราะห์ทางสถิติได้ • Outcome อาจเปนความรู้สึกเฉพาะตัวของผู้ปวยเปาหมาย เช่น quality of life หรือ ตัวชีวัดด้านพยาธิสรีรวิทยา เช่น ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ การตรวจ พิ เศษ ก็ได้ (Fineout-Overholt & Johnston, 2005) 12 6 6/23/2022 PICO ELEMENTS CHANGE ACCORDING TO QUESTION TYPE (DOMAIN) Question type Patient problem Intervention or or Population exposure Comparison or Control Outcome Therapy (การ รักษา) โรคหรือภาวะทีเปนปญหา วิธีการรักษา เช่น ยา การ ผ่าตัด กิจกรรมการพยาบาล การปรับพฤติกรรม การรักษามาตรฐาน หรือ การดูแลตามปกติ หรือยา หลอก อัตราการเสียชีวิต ระดับความ เจ็บปวด/พิการ จํานวนวันนอน ในโรงพยาบาล Prevention ปจจัยเสียงทีทําให้เกิดโรค หรือพฤติกรรมเสียง วิธีการปองกันปญหา เช่น การ การดูแลตามปกติ หรืออาจ อัตราการเสียชีวิต อัตราการ ปรับพฤติกรรม การใช้ยา ไม่มีวิธเี ปรียบเทียบก็ได้ เกิดโรค Diagnosis โรค หรือภาวะทีเปนปญหา วิธีการตรวจวินิจฉัย วิธีการตรวจมาตรฐาน หรือ ความเทียงตรงของการตรวจ การตรวจทีดีทสุ ี ดใน เช่น sensitivity, specificity, ปจจุบัน AUC, odd ratio ไม่มี Prognosis (การ ระยะเวลา หรือความรุนแรง ระยะเวลาทีเก็บข้อมูล หรือ ทํานายพยากรณ์ ของโรคหรือภาวะทีสนใจ ระยะเวลาทีรอให้เกิด outcome โรค) ศึกษา Etiology (สาเหตุ) ปจจัยเสียงทีทําให้เกิดโรค หรือพฤติกรรมเสียง ระยะเวลา หรือความรุนแรง ของปจจัยเสียงทีมี อัตราการรอดชีวิต/เสียชีวิต ความก้าวหน้าของโรค ไม่มี อัตราการรอดชีวิต/เสียชีวิต ความก้าวหน้าของโรค (Fineout-Overholt & Johnston, 2005) 13 WRITING QUESTION STATEMENT Question type Patient problem or Population Intervention or exposure Comparison or Control Outcome Therapy ผู้ปวยโรคข้อเข่าเสือม การรักษาด้วยวิธีธาราบําบัด (hydrotherapy) การทํากายภาพบําบัด ตามปกติ ระดับความเจ็บปวด การให้ความรู้เรืองการ - ความเสียงในการ ปรับเปลียนอาหารและ เปนโรคเบาหวาน กิจกรรม - % การลดลงของ นําหนักตัว การใช้แบบประเมิน Modified Hemoculture sensitivity, Sepsis early warning scores specificity, AUC system (MEWS) ผู้สูงอายุหญิงสุขภาพดี ภายในระยะเวลา 1 ปหลังได้รับ อัตราการเสียชีวิต บาดเจ็บ ทีมี hip fracture Prevention เด็กทีเปนโรคอ้วน Diagnosis Prognosis Etiology ชายและหญิงอายุ 18 ป ขึนไป การออกกําลังกายโดยใช้ เกมส์แอพลิเคชันบน โทรศัพท์มือถือ ทีดืมแอลกอฮอล์หนักเปน ประจํา บุคคลทัวไปทีไม่ดม ื หรือดืมเปนครังคราว อัตราการเสียชีวิต 14 7 6/23/2022 WRITING QUESTION STATEMENT Question type Clinical question Therapy การรักษาผู้ปวยโรคข้อเข่าเสือมด้วยวิธีธาราบําบัด (hydrotherapy) มีประสิทธิภาพในการลดอาการ ปวดดีกว่าการทํากายภาพบําบัดตามปกติหรือไม่ ? Prevention การออกกําลังกายโดยใช้เกมส์แอพลิเคชันบนโทรศัพท์มอ ื ถือสามารถลดความเสียงในการเปน โรคเบาหวาน และเพิ มร้อยละการลดลงของนําหนักตัวในเด็กทีเปนโรคอ้วนได้ดก ี ว่าการให้ความรู้เรือง การปรับเปลียนอาหารและกิจกรรมหรือไม่ ? แบบประเมิน Modified early warning scores system (MEWS) มีความสามารถในการวินิจฉัยภาวะ Sepsis ได้เทียบเท่ากับการเจาะเลือดตรวจ Hemoculture หรือไม่ เมือพิ จารณาจากค่า sensitivity, specificity และ AUC ? ผู้สูงอายุหญิงสุขภาพดีทมี ี hip fracture ภายในระยะเวลา 1 ปหลังได้รับบาดเจ็บ จะมีอัตราการ เสียชีวิตเปนอย่างไร ? Diagnosis Prognosis Etiology ชายและหญิงอายุ 18 ปขึนไปทีดืมแอลกอฮอล์หนักเปนประจํา เมือเปรียบเทียบกับบุคคลทัวไปทีไม่ดืม หรือดืมเปนครังคราว จะมีอัตราการเสียชีวิตแตกต่างกันหรือไม่ อย่างไร ? 15 TYPES OF EVIDENCE BEST TO ANSWER THE QUESTION Question type Explanation Types of evidence to answer the question Therapy (การ คําถามเกียวกับประสิทธิภาพในการรักษา หัตถการ หรือการดูแลด้วยวิธีต่างๆ ทีมีผลต่อ ผูป ้ วยหรือผู้ใช้บริการกลุ่มเปาหมาย รักษา) Prevention Diagnosis Randomized controlled trial (RCT) คําถามเกียวกับประสิทธิภาพของการทํากิจกรรม วิธีการ หรือปจจัยต่างๆ ทีจะช่วยปองกัน RCT หรือ Prospective study ไม่ให้เกิดอัตราการเจ็บปวยหรือการเสียชีวิตทีสูงขึน คล้ายกับคําถามชนิด Therapy แต่มี ความพิเศษคือ คําถามชนิดนีจะมุ่งประเมินข้อดี-ข้อเสียของ intervention ด้วย คําถามเกียวกับความสามารถของวิธีการตรวจ วิธีการวินิจฉัย หรือเครืองมือต่างๆ ทีมีต่อ RCT หรือ Cohort study โรคหรือภาวะใดภาวะหนึง เปนคําถามว่าเครืองมือนีสามารถจําแนกคนทีหรือไม่มีภาวะที อยากศึกษาหรือไม่ Prognosis (การทํานาย พยากรณ์โรค) คําถามว่าหากผู้ปวยหรือผู้ใช้บริการมีการสัมผัส (expose) หรือมีปจจัยนี จะมีแนวโน้มหรือ โอกาสมากแค่ไหนทีผู้ปวยหรือผู้ใช้บริการรายนันจะเกิดโรค หรือมีภาวะทีต้องการศึกษา Cohort study และ/หรือ Casecontrol series Etiology (สาเหตุ) คําถามทีเกียวกับผลเสียหรืออันตรายทีอาจเกิดขึน หากผู้ใช้บริการกลุ่มเปาหมายมีการ สัมผัส (expose) หรือมีปจจัยทีเกียวข้องกับการเกิดอันตรายนี Cohort study Meaning คําถามเกียวกับประสบการณ์เฉพาะ หรือข้อสงสัย ความกังวลของผู้ใช้บริการ Qualitative study (Fineout-Overholt & Johnston, 2005) 16 8 6/23/2022 TYPES OF EVIDENCE Design Key feature Survey study การศึกษาทีให้ข้อมูลเชิงปริมาณเพืออธิบาย/บรรยายแนวโน้ม ทัศนคติ ความคิดเห็นของกลุ่ม ตัวอย่างทีศึกษาเปนตัวเลข เช่น ร้อยละ ค่าเฉลีย Cohort study • ระบุกลุ่มตัวอย่างทีสนใจศึกษาแล้วติดตามเก็บข้อมูลในช่วงระยะเวลาหนึง • กลุ่มตัวอย่างอาจแบ่งเปน กลุ่มทีมีคุณลักษณะ/ปจจัยทีสนใจศึกษา กับกลุ่มเปรียบเทียบซึงไม่มี ปจจัยนัน • การเก็บข้อมูลอาจเก็บไปข้างหน้า (prospective) หรือเก็บข้อมูลย้อนหลัง (retrospective) ก็ได้ Cross-sectional study ระบุกลุ่มตัวอย่างทีสนใจศึกษาแล้วเก็บข้อมูลในขณะนันเพียงครังเดียว ไม่มีการเก็บข้อมูลต่อเนือง Case-control study • ระบุผลลัพธ์ (outcome) ทีต้องการศึกษา จากนันระบุกลุ่มตัวอย่างโดยกลุ่มหนึงมี outcome นัน อีกกลุ่มหนึงไม่มี แล้วจึงวิเคราะห์วา่ กลุ่มตัวอย่างทังสองมีคุณลักษณะแตกต่างกันอย่างไร • การเก็บข้อมูลทําได้แบบเก็บข้อมูลย้อนหลัง (retrospective) เท่านัน • ไม่สามารถสรุปได้ว่าตัวแปรต้นเปนสาเหตุทาํ ให้เกิดตัวแปรตาม (causality) ได้ Randomized controlled trial กลุ่มตัวอย่างถูกสุ่มเลือกเข้ากลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม โดยทีไม่ทราบว่าใครอยู่กลุ่มใด (blinded intervention) (Cummings, Browner, Grady, Newman, & Hulley, 2013) 17 EVIDENCE HIERACHY ระดับของหลักฐานเปนหัวใจสําคัญของการนํา EBP มาใช้ การจัดระดับของหลักฐานเปนไปตามความเข้มข้นของ วิธีการวิจัยหรือการได้มาของผลการศึกษาของหลักฐาน นันๆ คําถามทางคลินิกแต่ละชนิด จะมีระดับหลักฐานในการหา คําตอบแตกต่างกัน หลักฐานทีมีระดับสูงสุดเรียงลําดับจากบนลงล่าง บน มีความน่าเชือถือมากทีสุด ล่าง มีความน่าเชือถือรองลงมา (National Health and Medical Research Council, 2009) 18 9 6/23/2022 REVIEWS AND META ANALYSIS Narrative review Focus Systematic review ตอบคําถามกว้าง ค้นหา/สรุปความรู้ทมี ี อยู่ ตอบคําถามทางคลินิกทีเฉพาะเจาะจง ในปจจุบัน Meta analysis ระบุความเหมือน ความแตกต่างของผลที เกิดขึนจากเรืองทีศึกษา Method มีการค้นหาเรืองทีเกียวข้อง มีการเลือกและ มีการค้นหาเรืองทีเกียวข้องอย่างเปนระบบ มีการใช้วิธีการทางสถิติมาใช้เพือสรุปว่เมือ ทบทวนข้อมูลตามเกณฑ์ทตั ี งไว้ก่อนหน้า มี มีการเลือกและทบทวนข้อมูลตามเกณฑ์ การสังเคราะห์ความรู้ แต่กระบวนการ ทีตังไว้ก่อนหน้า มีการสังเคราะห์และ ตรวจสอบความรู้อย่างเปนระบบ ทังหมดอาจมีระบบหรือไม่ก็ได้ เปรียบเทียบจากผลลัพธ์ทีเกิดขึนควร ตัดสินใจเลือก หรือปฏิบัติ intervention ใด Bias ผลการศึกษามี bias สูง จากอคติของผู้ รวบรวมและสรุปข้อมูล ผลการศึกษามี bias น้อย เนืองจากมี ผลการศึกษามี bias ได้ เนืองจากอาจไม่มี รวบรวมและสรุปความรู้ทีได้อย่างเปนระบบ ระบบในขันตอนการเลือกหรือค้นหาข้อมูล Number of authors หนึงคนขึนไป สามคนขึนไป Timeline สัปดาห์หรือเดือน Value เปนข้อมูลสรุปว่าปจจุบันความรู้ในเรืองที ศึกษานีเปนอย่างไร หนึงคนขึนไป เดือนหรือป (ค่าเฉลียส่วนใหญ่ประมาณ 18 สัปดาห์หรือเดือน เดือน) เปนแนวทางในการช่วยตัดสินใจทางคลินิก เปนแนวทางในการช่วยตัดสินใจทางคลินิก (Davidson & Iles, 2013) 19 PRIMARY STUDIES อย่างไรก็ดี การใช้หลักฐานประเภท systematic review ก็อาจ ไม่ใช่ระดับของหลักฐานทีดีเสมอไป เนืองจาก • กระบวนการทํา systematic review อาจใช้เวลายาวนาน หลายป ดังนันผลการศึกษาทีได้จึงอาจไม่ทันสมัย หรือ เหมาะสมกับสถานการณ์ในขณะนัน • ผู้ทนํ ี าหลักฐานไปใช้ต้องพิ จารณาถึงกระบวนการทํา systematic review ของเรืองทีจะนํามาใช้ก่อนทุกครังว่ามี ความถูกต้อง น่าเชือถือ เนืองจากไม่ใช่ systematic review ทุกเรืองทีมีกระบวนการทําทีดี ได้มาตรฐาน • RCT 1 เรืองทีมีระเบียบวิธวี ิจัยทีเคร่งครัด มีการเก็บข้อมูลใน กลุ่มตัวอย่างจํานวนมาก และมีการตรวจสอบการวิเคราะห์ Question type Types of evidence to answer the question Therapy (การรักษา) Randomized controlled trial (RCT) Prevention RCT หรือ Prospective study Diagnosis RCT หรือ Cohort study Prognosis (การทํานาย พยากรณ์โรค) Cohort study และ/หรือ Case-control series Etiology (สาเหตุ) Cohort study Meaning Qualitative study และสรุปข้อมูลทีถูกต้อง อาจมีคุณภาพดี เหมาะสมในการ นํามาใช้ทางคลินิกมากกว่า systematic review ทีรวบรวม ข้อมูลมาจากงานวิจัยไม่กเรื ี อง หรือ RCTs ทีมีกลุ่มตัวอย่าง น้อย (Davidson & Iles, 2013; Fineout-Overholt & Johnston, 2005) 20 10 6/23/2022 SEARCH STRATEGY เมือกําหนดขอบเขตของคําถามตามกรอบ PICO แล้ว ขันตอนต่อไปคือการ ค้นหาหลักฐานหรือความรู้เพือตอบคําถามทางคลินิก ปจจุบันแหล่งค้นหาข้อมูล หรือ search engine ในสาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ ทีน่าเชือถือ ได้แก่ • MEDLINE หรือ PubMed • Ovid • Web of Science • Science Direct • Scopus • Cochrane Library • Google Scholar • The Thailand Centre for Evidence Based Health Care: A JBI Center of Excellence (TCEBH: JBI EC) 21 22 11 6/23/2022 SEARCH TERMS PICO Search terms Patient problem Knee, osteoarthritis or Population Intervention Hydrotherapy, water therapy, whirlpool baths, aquatherapy Comparison or Control Physiotherapy, physical therapy Outcome pain Type of question therapy Type of study Randomized controlled trial 23 24 12 6/23/2022 25 26 13 6/23/2022 CRITICAL APPRAISAL PROCESS การวิเคราะห์คุณภาพของหลักฐานเปนขันตอนสําคัญของ EBP วัตถุประสงค์ของขันตอนนีคือการระบุข้อบกพร่องทางด้านกระบวนวิธี วิจัยทีทําให้ได้มาซึงผลลัพธ์ของการศึกษา เพื อเปนข้อมูลประกอบการ พิจารณานําหลักฐานนันมาใช้ แนวทางการประเมิน • วิธีการวิจัย • ความตรงของการศึกษา • ประโยชน์ต่อผู้ปวย หรือผู้ใช้บริการกลุ่มเปาหมาย (Voutier, 2013) 27 แนวคําถามในการวิเคราะห์คณ ุ ภาพของหลักฐาน CRITICAL APPRAISAL GUIDE • การศึกษานีมีวัตถุประสงค์เพืออะไร – กลุ่มตัวอย่าง, intervention, ตัวชีวัดผลลัพธ์ • วิธีการวิจัยของการศึกษานีเปนอย่างไร – ตรงกับประเภท ของหลักฐานทีควรนํามาใช้ในการตอบคําถามทางคลินก ิ หรือไม่ • หากเปนการวิจัยเชิงทดลอง การศึกษานันระบุรายละเอียด ทีปองกันไม่ให้เกิด bias หรือไม่ เช่น การกําหนดคุณสมบัติ สามารถใช้ PICO framework เปนแนวทางในการวิเคราะห์คุณภาพหลักฐานได้ กลุ่มตัวอย่างมีคุณลักษณะเปนอย่างไร และมีกระบวนการ P คัดเลือกเข้ามาในงานวิจัยอย่างไร I C O Intervention ในการศึกษานันคืออะไร ของกลุ่มตัวอย่างเหมาะสมหรือไม่, มีการสุ่มกลุ่มตัวอย่าง (randomized), กลุ่มตัวอย่างไม่ทราบว่าตนอยู่กลุ่มใด (blind), คุณลักษณะกลุ่มตัวอย่างกับกลุ่มทดลอง คล้ายกันหรือไม่ (matching), การวิเคราะห์ข้อมูลเหมาะสม ไหม • เครืองมือทีใช้ในการประเมินผลลัพธ์ (outcome) เหมาะสม มีกลุ่มควบคุม หรือวิธก ี ารเปรียบเทียบมาตรฐานหรือไม่ ผลลัพธ์ของการศึกษาคืออะไร มีวิธีการประเมินอย่างไร น่าเชือถือ และตรงกับวัตถุประสงค์การวิจัย • ค่า effect size หรือผลของของ intervention นันมีมาก แค่ไหน • ประเมินค่า confidence interval และ p-value • ผลการศึกษานีนําไปใช้กับประชากรกลุ่มใหญ่ได้หรือไม่ การนําไปใช้มีข้อดี-ข้อเสีย หรืออันตรายอย่างไร ต้องใช้ ทรัพยากรอะไรบ้าง (Voutier, 2013) 28 14 6/23/2022 CRITICAL APPRAISAL TOOLS https://casp-uk.net/#!casp-tools-checklists/c18f8 29 EVIDENCE SYNTHESIS คําถามเพือการสืบค้นงานวิจย ั 1. ผู้ปวยกลุ่มใดบ้างทีมีความเสียงต่อการเกิดภาวะ IAH และ ACS 2. มีหัตถการใดบ้างทีเสียงทําให้เกิดภาวะ IAH และ ACS 3. อาการและอาการแสดงของภาวะ IAH และ ACS เปนอย่างไร 4. เกณฑ์การประเมินภาวะ IAH และ ACS เปนอย่างไรบ้าง กรอบการสืบค้นงานวิจย ั P : ผู้ปวยศัลยกรรมทุกระบบ I : ปจจัยทํานายการเกิดภาวะ IAH และ ACS C:O : อัตราการตาย, ระยะเวลานอนในโรงพยาบาล ขอบเขตการสืบค้นงานวิจย ั 1. ครอบคลุมงานวิจัยทังเชิงทดลอง กึงทดลองและเชิงบรรยาย 2. สืบค้นจากฐานข้อมูลทางอิเลกโทรนิก ได้แก่ Ovid, Nursing consult, Medscape และ Science direct 3. เปนงานวิจัยทีตีพิมพ์ตงแต่ ั ป 2000 – 2022 30 15 6/23/2022 EVIDENCE SYNTHESIS คําทีใช้ในการสืบค้น Keyword = “Intraabdominal hypertension” and “Abdominal compartment syndrome” and “surgical” and “Urinary bladder measurement” 31 EVIDENCE SYNTHESIS 32 16 6/23/2022 EVIDENCE SYNTHESIS 33 EVIDENCE SYNTHESIS สรุปประเด็นทีได้จากการสังเคราะห์งานวิจย ั ประเด็นที 1 ปจจัยเสียงทีทําให้เกิดภาวะ IAH และ ACS ผู้ทีถูกยิง ได้รับอุบต ั เิ หตุทางจราจร และตกจากทีสูง หรือผูป ้ วยภายหลังได้รบ ั การผ่าตัดช่องท้อง และมีประวัตก ิ ารได้รับสาร นําทางหลอดเลือดดํามากกว่า 3.5 ลิตรภายใน 24 ชม. ประเด็นที 2 อาการและอาการแสดงของภาวะ IAH และ ACS PaO2/FiO2 < 150 mmHg. PAP > 45 cmH2O มีภาวะลําไส้และตับทํางานผิดปกติ ปสสาวะออกน้อยกว่า 30 ml./hr. ประเด็นที 3 เกณฑ์ในการประเมินภาวะ IAH และ ACS IAH > 12 mm.Hg. และ ACS > 20 mm.Hg. ร่วมกับมีอาการแสดง ถึงการทํางานผิดปกติของอวัยวะอย่างน้อย 1 อวัยวะ ประเด็นที 4 วิธีการประเมินเวลาและความถีของการประเมินภาวะ IAH และ ACS วัด urinary bladder pressure โดยวัด IAP ก่อน 1 ครัง อีก 3 นาทีวด ั ซํานําค่าทีได้มาหาค่าเฉลีย ทําการวัดซําทุก 6 ชัวโมง หากมี IAP น้อยกว่า 20 mmHg. และไม่มอ ี าการแสดงถึงความผิดปกติของอวัยวะต่างๆภายใน 24 ชม. จึงยุตก ิ ารวัด ประเด็นที 5 ผลลัพธ์ของการเกิดภาวะ IAH และ ACS ระยะเวลารักษาตัวในโรงพยาบาลนานกว่านอกจากนันยังมีอต ั ราการเสียชีวต ิ สูงกว่าผูป ้ วยทัวไปอีกด้วย 34 17 6/23/2022 APPLYING THE EVIDENCE Patient’s values and circumstances ภายหลังจากการตรวจสอบคุณภาพหลักฐานและสังเคราะห์ ความรู้ทได้ ี จากงานวิจัยแล้ว ขันตอนต่อมาทีถือว่ามีความท้าทาย เปนอย่างมากสําหรับบุคลากรสุขภาพ คือ การนําหลักฐานเชิง ประจักษ์ไปใช้ Best research evidence EBP Clinical expertise ก่อนทีจะนํา EBP ไปใช้จริง ควรถามตัวเองว่า • กลุ่มตัวอย่างในงานวิจัยมีคุณสมบัติคล้ายกับผู้ใช้บริการ เปาหมายหรือไม่ ? • ผลการศึกษามีความสําคัญทางคลินิกไหม ? Information from the practice context • ผลดีของงานวิจัย เมือชังนําหนักแล้วมีมากกว่าผลเสียหรือ อันตรายทีอาจเกิดขึนไหม ? • สามารถนํา intervention มาใช้ในหน่วยงานได้หรือไม่ ี ? • ผู้ใช้บริการชอบวิธีนไหม • มีวิธีการให้ข้อมูลอย่างไรเพื อจูงใจให้ผู้ใช้บริการและผู้ร่วมงาน ใช้ EBP นี ? 35 APPLYING THE EVIDENCE 36 18 6/23/2022 APPLYING THE EVIDENCE 37 AUDIT เปนขันตอนสุดท้ายของวงรอบการใช้ EBP วัตถุประสงค์ของ ขันตอนนีคือการประเมินว่า EBP ทีนํามาใช้สามารถตอบคําถามทาง คลินิกได้ดีหรือไม่ ควรมีการพัฒนาปรับปรุงในด้านใด การประเมินตนเองนีสามารถทําได้โดยการตังคําถามว่า • คําถามทางคลินิกมีโครงสร้างทีเหมาะสม ครอบคลุม หรือตรง กับปญหาทีเกิดขึนหรือไม่ ? • กระบวนการค้นหาหลักฐานครอบคลุม เหมาะสม และได้มาซึง หลักฐานทีดีทสุ ี ดในขณะนีไหม ? • มีการประเมินคุณภาพของหลักฐานแต่ละเรืองทีนํามาใช้หรือไม่ แต่ะละเรืองให้ข้อมูลทีเปนประโยชน์ น่าเชือถือไหม ? • มีการนําผลการสังเคราะห์ข้อมูลมาใช้ในหน่วยงานจริงหรือไม่ มี ปญหา/อุปสรรค อย่างไร ? • การนํา EBP นีมาใช้ในหน่วยงาน ทําให้เกิด outcome ทีดีขึน หรือไม่ ? (Straus, Glasziou, Richardson & Haynes, 2011) 38 19 6/23/2022 HOW TO IMPLEMENT EVIDENCEBASED PRACTICE ค้นหาข้อข้อสงสัย หรือ ปญหาทางคลินิก ประเมินขันตอนที 1-4 ซํา หา วิธีการปรับปรุงแต่ละขันตอนให้ ดีขน ึ เพื อให้การทํางานครังต่อไป มีประสิทธิภาพมากขึน นําความรู้ทได้ ี มาปรับใช้เพื อช่วย ตัดสินใจทางคลินิก Audit Ask เปลียนข้อสงสัย หรือปญหาทางคลินิก ให้เปนคําถามทีชัดเจน สามารถหา คําตอบได้ Apply Acquire Appraise หาหลักฐานทีดีทีสุดมาช่วยตอบคําถาม ทางคลินิก พิจารณาคุณภาพของหลักฐานว่ามีความตรง เกียวข้องกับคําถาม น่าเชือถือ เปนประโยชน์กับผู้ใช้บริการกลุ่มเปาหมาย และสามารถนํามาใช้ได้ (Straus, Glasziou, Richardson & Haynes, 2011) 39 REFERENCES Chrisman, J., Jordan, R., Davis, C., & Williams, W. (2014). Exploring evidence-based practice research. Nursing made Incredibly Easy, 12(4), 8-12. doi:10.1097/01.NME.0000450295.93626.e7 Cummings, S. R., Browner, W. S., Grady, D., Newman, T. B., & Hulley, S. B. (2013). Designing clinical research (Fourth edition. ed.). Philadelphia: Philadelphia : Wolters Kluwer Health/Lippincott Williams & Wilkins. Davidson, M., & Iles, R. (2013). Evidence-based practice in therapeutic health care. In, Liamputtong, P. (ed.). Research Methods in Health: Foundations for Evidence-Based Practice (2nd ed.). South Melbourne: Oxford University Press. Fineout-Overholt, E., & Johnston, L. (2005). Teaching EBP: asking searchable, answerable clinical questions. Worldviews On Evidence-Based Nursing, 2, 157-160. Geddes, J. (1999). Asking structured and focused clinical questions: essential first step of evidence-based practice. Evidence Based Mental Health, 2, 35-36 doi: http://dx.doi.org/10.1136/ebmh.2.2.35 Hoffman, T., Bennett, S., & Del Mar, C. (2013). Evidence-based practice: across the health professions (2nd ed.). Chatswood, NSW: Elsevier. National Health and Medical Research Council. (2009). NHMRC Levels of Evidence and Grades for Recommendations for Developers of Clinical Practice Guidelines. Retrieved 2 July, 2021 from: https://www.nhmrc.gov.au/_files_nhmrc/file/guidelines/developers/nhmrc_levels_grades_evidence_120423.pdf Sackett, D., Rosenberg, W., Gray, J., et al. (1996). Evidence based medicine: what it is and what it isn't: it's about integrating individual clinical expertise and the best external evidence. BMJ, 312, 71-72. doi:http://dx.doi.org/10.1136/bmj.312.7023.71 Schardt, C., Adams, M. B., Owens, T., Keitz, S., & Fontelo, P. (2007). Utilization of the PICO framework to improve searching PubMed for clinical questions. BMC Medical Informatics and Decision Making, 7, 16. doi: http://dx.doi.org/10.1186/1472-6947-7-1 Straus, S., Glasziou, P., Richardson, W., & Haynes, R. (2011). Evidence-based medicine: how to practice and teach it (4th ed.). Edinburgh: Churchill Livingstone Elsevier Voutier, C. (2013). Critical appraisal. Evidence Direct: A Service of the RMH Health Sciences Library. Retrieved 2 July 2021 from: http://library.mh.org.au/index.php?option=com_content&view=article&id=272&Itemid=537 40 20 6/23/2022 QUESTIONS? Kwankaew Wongchareon, PhD, MSN, RN Department of Adult and Gerontology Nursing Naresuan University kwankaeww@nu.ac.th 41 21