Uploaded by Panuphong N

ติวสรุปฟิสิกส์ บทที่ 1 ธรรมชาติและพัฒนาการทางฟิสิกส์

advertisement
Facebook page : ฟิ สิกส์โกเอก
ติวสรุปฟิ สิกส์ ม.4 บทที่ 1
1
ติวสรุปฟิ สิกส์ ม.4 บทที่ 1
1. ระบบหน่วยระหว่างชาติ (S.I. Units) (The International System of Units)
ระบบเอสไอประกอบด้วยหน่วยฐาน (base units) และหน่วยอนุพัทธ์ (derived units)
หน่วยฐาน (base units) เป็ นหน่วยหลักของระบบเอสไอ มีทงั้ หมด 7 หน่วย ดังนี้
ปริมาณฐาน (base quantities)
ชื่อหน่วย (units)
สัญลักษณ์ (symbol)
1. ความยาว
เมตร
2. มวล
กิโลกรัม
3. เวลา
วินาที
4. กระแสไฟฟ้า
แอมแปร์
5. อุณหภูมิอุณหพลวัติ
เคลวิน
6. ปริมาณของสาร
โมล
7. ความเข้มของการส่องสว่าง
แคนเดลา
หน่วยอนุพัทธ์ (derived units) เป็ นหน่วยที่ประกอบด้วยหน่วยฐาน ได้จากหน่วยของปริมาณทีน่ ามาคานวณ
ทางฟิ สิกส์
Facebook page : ฟิ สิกส์โกเอก
ติวสรุปฟิ สิกส์ ม.4 บทที่ 1
2
2. คานาหน้าหน่วย (prefix)
คานาหน้าหน่วย คือ คาที่ใช้แทนเลขยกกาลังของสิบ เพื่อทาให้หน่วยเล็กลงหรือใหญ่ขนึ ้
ตัวคูณ
ชื่อ
สัญลักษณ์
ตัวคูณ
ชื่อ
เทียบเท่า
ย่อ
เทียบเท่า
Y
1024
ยอตตะ (yotta)
10-1
เดซิ (deci)
Z
1021
เซตตะ (zetta)
10-2
เซนติ (centi)
E
1018
เอกซะ (exa)
10-3
มิลลิ (milli)
P
1015
เพตะ (peta)
10-6
ไมโคร (micro)
T
1012
เทระ (tera)
10-9
นาโน (nano)
G
109
จิกะ (giga)
10-12
ฟิ โก (pico)
M
106
เมกะ (mega)
10-15
เฟมโต (femto)
k
103
กิโล (kilo)
10-18
อัตโต (atto)
h
102
เฮกโต (hecto)
10-21
เซฟโต (zepto)
da
101
เดคา (deka)
10-24
ยอดโต (yocto)
สัญลักษณ์
ย่อ
d
c
m

n
p
f
a
z
y
Facebook page : ฟิ สิกส์โกเอก
ติวสรุปฟิ สิกส์ ม.4 บทที่ 1
3. การบันทึกผลการวัด
ให้บนั ทึกตามขีดสเกล พร้อมค่าประมาณอีก 1 ตาแหน่ง
0
1
2
3
4
5
6
0
1
2
3
4
5
6
4. เลขนัยสาคัญ คือ ตัวเลขที่ได้จากการวัด
4.1 การบวกและการลบเลขนัยสาคัญ
ผลลัพธ์มีตาแหน่งทศนิยมเท่ากับตัวตัง้ ที่มตี าแหน่งทศนิยมน้อยสุด
Ex 12.30 + 4.567 = ………............
4.2 การคูณและการหารเลขนัยสาคัญ
ผลลัพธ์มีจานวนเลขนัยสาคัญเท่ากับตัวตัง้ ที่มีจานวนเลขนัยสาคัญน้อยสุด
Ex 12.3 x 4.567 = ………................
3
Facebook page : ฟิ สิกส์โกเอก
ติวสรุปฟิ สิกส์ ม.4 บทที่ 1
5. ความคลาดเคลื่อน
5.1 การบวกและการลบปริมาณทีม่ ีความคลาดเคลื่อน
ปริมาณบวกหรือลบตามปกติ ค่าความคลาดเคลื่อนบวกกันเสมอ
(A  A)  (B  B) = (A  B)  ( A + B)
Ex (10.0  0.2) + (20.0  0.5) = ………………………
5.2 การคูณและการหารปริมาณที่มีความคลาดเคลื่อน
ปริมาณคูณหรือหารตามปกติ เปอร์เซ็นต์ความคลาดเคลื่อนบวกกันเสมอ
A B
(A  A)  (B  B) = (A  B)   + (A B)
 A B 
A B
(A  A)  (B  B) = (A  B)   + (A  B)
 A B 
Ex (10.0  0.2) x (20.0  0.5) = ………………………
4
Facebook page : ฟิ สิกส์โกเอก
ติวสรุปฟิ สิกส์ ม.4 บทที่ 1
6. การวิเคราะห์ผลการทดลอง
y
x
5
Facebook page : ฟิ สิกส์โกเอก
ติวสรุปฟิ สิกส์ ม.4 บทที่ 1
ติวสรุ ปฟิ สิกส์ ม.4 บทที่ 1. ธรรมชาติและพัฒนาการทางฟิ สิกส์
จงเลือกคาตอบที่ถกู ต้องเพียงข้อเดียว (เวลา 1:00 ชั่วโมง)
1. ข้อใดเป็ นหน่วยฐานของระบบเอสไอ (SI) ทัง้ หมด
1. แอมแปร์, เคลวิน, เคนเดลา, โมล
2. เมตร, องศาเซลเซียส, เรเดียน, คูลอมบ์
3. กิโลกรัม, โอห์ม, ลูเมน, พาสคาล
4. วินาที, โวลต์, เวเบอร์, ลักซ์
2. หน่วยใดเป็ นหน่วยเดียวกับ นิวตัน (N)
1. kg  m  s−1
2. kg  m  s
3. kg  m  s −2
4. kg  m  s2
3. หน่วยในข้อใดเทียบเท่าหน่วยของพลังงาน
1. kg  m  s-1
2. kg  m2  s-1
3. kg  m2  s-2
4. kg  m-1  s2
4. รัศมีของนิวเคลียสทองคามีค่าประมาณ 7.0 x 10-15 เมตร เป็ นเท่าใดในหน่วยนาโนเมตร
1. 7.0 x 10-3
2. 7.0 x 10-6
3. 7.0 x 10-9
4. 7.0 x 10-12
6
Facebook page : ฟิ สิกส์โกเอก
ติวสรุปฟิ สิกส์ ม.4 บทที่ 1
7
5. รถวิ่งด้วยความเร็ว 108 กิโลเมตร/ชั่วโมง เป็ นกี่เซนติเมตรต่อมิลลิวินาที
1. 0.30
2. 3.00
3. 30.0
4. 300
6. ทองคามีความหนาแน่น 19.0 กรัม/ลูกบาศก์เซนติเมตร เป็ นกี่กิโลกรัม/ลูกบาศก์เมตร
1. 1,900
2. 19,000
3. 3,800
4. 38,000
7. นางสาวแพนเค้กใช้ไม้บรรทัดวัดขนาดของกล่องใบหนึ่ง แสดงดังรูป
นางสาวแพนเค้กควรบันทึกความยาวที่เห็นเป็ นเท่าใดในหน่วยมิลลิเมตร (PAT2 ก.ค.53)
1.
2.
3.
4.
2.5
2.50
25
25.0
0
1
2
3 cm
8. ถ้าต้องการวัดความต่างศักย์ของถ่านไฟฉายก้อนหนึง่ ด้วยโวลต์มิเตอร์แบบเข็มซึ่งสามารถอ่านค่าได้เต็มสเกลเท่ากับ
5 โวลต์ และมีสเกลละเอียดทีส่ ดุ เท่ากับ 0.1 โวลต์ ข้อใดต่อไปนีแ้ สดงการอ่านค่าความต่างศักย์ของไฟฉายที่
เหมาะสมทีส่ ดุ
1. 1.5 โวลต์
2. 1.55 โวลต์
3. 1.552 โวลต์
4. 1.5520 โวลต์
Facebook page : ฟิ สิกส์โกเอก
ติวสรุปฟิ สิกส์ ม.4 บทที่ 1
8
9. ตัวเลขในข้อใดมีจานวนเลขนัยสาคัญเท่ากันทัง้ หมด
1. 12.0
0.23
2.19 x 10-1
2. 0.002
4.67
7.09 x 102
3. 1.00
0.034
789
4. 0.00467
3.5678
48.030 x 10-3
5. 0.0300
1.50 x 105
341
10. นักเรียนคนหนึ่งวัดความยาวด้านของสามเหลี่ยมรูปหนึง่ โดยใช้เครือ่ งมืดวัดที่ตา่ งกันได้ผลดังนี้ 12.30 cm,
4.567 cm และ 8.901 cm เขาควรบันทึกความยาวรอบรูปของสามเหลี่ยมรูปนีอ้ ย่างไรตามหลักเลขนัยสาคัญ
(PAT2 มี.ค.60)
1. 26 cm
2. 25.8 cm
3. 26.0 cm
4. 25.77 cm
5. 25.768 cm
11. นักเรียนคนหนึ่งใช้เวอร์เนียร์คาลิปเปอร์วดั เส้นผ่านศูนย์กลางของทรงกลมลูกหนึง่ ได้ 20.10 cm เขาควรรายงาน
ผลการคานวณพืน้ ทีผ่ ิวของทรงกลมนีเ้ ป็ นเท่าใด กาหนดให้คา่  = 3.14 (PAT2 ต.ค.59)
1. 1,268.59 cm2
2. 1.27 x 103 cm2
3. 1.269 x 103 cm2
4. 5,074.37 cm2
5. 5.074 x 103 cm2
Facebook page : ฟิ สิกส์โกเอก
ติวสรุปฟิ สิกส์ ม.4 บทที่ 1
9
12. ในการทดลองหนึ่ง นักเรียน A วัดความยาวแท่งวัตถุหนึ่งที่มีความยาวประมาณ 8 เซนติเมตร ด้วยไม้บรรทัดที่
มีการแบ่งช่องสเกลที่มีความละเอียด 0.1 เซนติเมตร โดยทาการวัด 5 ครัง้ ได้ผลดังนี้
ความยาวทีว่ ดั ได้ (เซนติเมตร) : 7.85 8.00 8.25 7.90 14.15 ถ้านักเรียน A รายงานผลการวัดเป็ น
ค่าเฉลี่ยและค่าความคลาดเคลือ่ นของค่าเฉลี่ย ( x ) โดยค่าความคลาดเคลื่อนของค่าเฉลี่ย หาได้จาก
x −x
 x = max min เมื่อ xmax และ xmin คือ ค่ามากทีส่ ดุ และค่าน้อยทีส่ ดุ ของข้อมูล ตามลาดับ
2
นักเรียน A ควรรายงานผลการวัดความยาวของแท่งวัตถุนอี้ ย่างไรจึงเหมาะสมทีส่ ดุ (วิชาสามัญ 64)
1.
2.
3.
4.
5.
8  0.2 เซนติเมตร
8.0  0.2 เซนติเมตร
8.00  0.20 เซนติเมตร
9.2  3.2 เซนติเมตร
9.23  3.15 เซนติเมตร
13. กาหนดให้ x = 5.4  0.5 และ y = 3.2  0.2 ปริมาณ x - y จะมีความคลาดเคลื่อนมากทีส่ ดุ เท่าใด
(PAT2 มี.ค.58)
1. 0.25
2. 0.3
3. 0.5
4. 0.7
14. ทรงกระบอกตันมีรศั มี 2.0  0.1 cm และความสูง 10.0  0.2 cm ความคลาดเคลื่อนแบบมากที่สดุ ของ
ปริมาตรคิดเป็ นกีเ่ ปอร์เซ็นต์ของปริมาตร (PAT2 ก.พ.61)
1. 2
2. 5
3. 7
4. 12
5. 27
Facebook page : ฟิ สิกส์โกเอก
ติวสรุปฟิ สิกส์ ม.4 บทที่ 1
10
15. ให้ x = a – b และ a , b เป็ นค่าคลาดเคลื่อนของ a และ b ตามลาดับ ความคลาดเคลื่อนมากที่สดุ
ของ x มีค่าเป็ นกีเ่ ปอร์เซ็นต์
a b
1.  +   100
b 
 a
a b
2.  −   100
b 
 a
a b 
3. 
+
  100
 a −b a −b 
a b 
4. 
−
  100
 a −b a −b 
16. ให้ x = a  b และ a , b เป็ นค่าคลาดเคลื่อนของ a และ b ตามลาดับ ความคลาดเคลื่อนมากทีส่ ดุ
ของ x มีค่าเป็ นกีเ่ ปอร์เซ็นต์
a b
1.  +   100
b 
 a
a b
2.  −   100
b 
 a
a b 
3. 
+
  100
 a −b a −b 
a b 
4. 
−
  100
 a −b a −b 
Facebook page : ฟิ สิกส์โกเอก
ติวสรุปฟิ สิกส์ ม.4 บทที่ 1
11
17. จากกราฟเป็ นข้อมูลการทดลองเรือ่ งสัมประสิทธิ์ความเสียดทานโดยแกนนอนเป็ นนา้ หนักถุงทราย (mg) แกนตัง้
เป็ นแรง F ที่ดึงแผ่นไม้ให้เคลื่อนที่ดว้ ยความเร็วคงตัว สัมประสิทธิ์ความเสียดทานจลน์ของการทดลองนีซ้ ึ่งหาได้จาก
ความชันของกราฟมีค่าเท่าใด
F (N)
1.
2.
3.
4.
0.25
0.30
0.40
0.50
16
8
0
8
16
24
32
mg (N)
18. การศึกษาการแกว่งของลูกตุม้ นาฬิกา พบว่าคาบของการแกว่งของลูกตุม้ (T) จะเปลี่ยนแปลงโดยสัมพันธ์กับ
ความยาวของสายลูกตุม้ (  ) ตามสมการ T = 2
g
กราฟความสัมพันธ์ระหว่าง T กับ  ควรมีลกั ษณะ
ตามข้อใด
1. T
2.
T


3. T
4.

T

Facebook page : ฟิ สิกส์โกเอก
ติวสรุปฟิ สิกส์ ม.4 บทที่ 1
12
19. ในการทดลองเรือ่ งลูกตุม้ แบบง่ายให้ T เป็ นคาบของการแกว่ง L เป็ นความยาวของเชือก g เป็ นความเร่ง
เนื่องจากความโน้มถ่วง กราฟระหว่างปริมาณในข้อใดจะเป็ นเส้นตรง (เมื่อ T = 2
L
)
g
1. T กับ L
2. T กับ L
3. T กับ L2
4. T2 กับ
L
20. สมการ Ek = hf - W แสดงความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณต่าง ๆ โดย f เป็ นตัวแปรต้น Ek เป็ นตัวแปรตาม h
และ W เป็ นค่าคงตัว
ก. สมการนีเ้ ป็ นสมการเชิงเส้นหรือไม่ …………………………………………………………
ข. จงหาความชันของกราฟและจุดตัดแกนตัง้ ………………………………………………..
Download