คู่มือ การคัดกรอง “ความสามารถในการอ่านและการเขียน” ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 - 6 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 256๓ (กรกฎาคม 256๓) สถาบันภาษาไทย สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ สงวนลิขสิทธิ์ -๑- การคัดกรอง “ความสามารถในการอ่านและการเขียน” ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 - 6 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 256๓ (กรกฎาคม 256๓) 1. หลักการและเหตุผล กระทรวงศึกษาธิการ เล็งเห็นถึงความสาคัญของการยกระดับคุณภาพการศึกษา โดยมีนโยบายให้ทุกหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องให้ความสาคัญกับการจัดการศึกษาที่มีระบบ เพื่อการพัฒนาเด็กและเยาวชนไปสู่ความเป็นพลเมือง ที่สมบูรณ์ สามารถดารงตนในสังคมอย่างปกติสุข การใช้ภาษาไทย โดยเฉพาะทักษะการอ่านและการเขียน เป็นทักษะที่จาเป็นอย่างยิ่งสาหรับการเรียนรู้ และการพัฒนาชีวิตสู่ความสาเร็จ เพราะจะนามาซึ่งความรู้และส่ งเสริมให้เกิดการคิดวิเคราะห์ มีวิจารณญาณ แยกแยะ และประยุกต์ใช้ข้อมูล ที่เป็ น ประโยชน์ต่อชีวิต พร้อมทั้งสามารถถ่ายทอดสื่ อสารความรู้ ความคิด ให้ผู้อื่นทราบและเข้าใจได้ ซึ่งเป็นทักษะที่สาคัญในศตวรรษที่ ๒๑ หากผู้เรียนบกพร่องหรือขาดความสามารถ ในทักษะดังกล่าวจะส่งผลให้การเรียนรู้ไม่อาจก้าวหน้าได้ และจะประสบความยากลาบากในการดารงชีวิต จึงเป็นหน้าที่ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาที่จะต้องพัฒนาความสามารถในการอ่านและการเขียน รวมทั้งส่งเสริมการคิดวิเคราะห์ และการสื่อสารให้แก่ประชาชนตั้งแต่วัยเยาว์ เพื่อให้สามารถเรียนรู้ในระดับที่ซับซ้อนขึ้น เมื่อเติบใหญ่ และนาไปสู่การเป็นผู้เรียนรู้ตลอดชีวิต ดังนั้นในช่วงระยะเวลา ๙ ปี ของการจัดการศึกษาภาคบังคับ และ ๑๒ ปี ของการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานให้กับเด็กและเยาวชน จึงเป็นช่วงเวลาที่สาคัญต่อการวางรากฐาน ให้นักเรียนที่มีความสามารถในการเรียนรู้ให้มั่นคง ซึ่งการรู้หนังสือหรือการอ่านออกเขียนได้ อ่านคล่องเขียนคล่อง และสื่ อสารได้นั บเป็ นพื้นฐานที่ส าคั ญอันดั บแรก ๆ ของการพั ฒนาขี ดความสามารถของผู้ เรียน ทั้งนี้ การพั ฒนา ความสามารถในการอ่านและการเขียน นอกจากครูจะต้องมีความรู้ เข้าใจทักษะและกระบวนการพัฒนาความสามารถ ในการอ่านและการเขียนของนักเรียน ทั้งนักเรียนปกติและนักเรียนที่ต้องได้รับการเอาใจใส่เป็นพิเศษแล้ว ครูยังต้อง เข้าใจถึงความแตกต่างของผู้เรียน ทั้งความแตกต่างทางสติปัญญาและความแตกต่างทางพื้นฐานของครอบครัว ซึ่งเป็นปัจจัยสาคัญที่ควรคานึงถึงในการพัฒนาความสามารถของผู้เรียน ด้วยเหตุ นี้ เพื่อส่ งเสริมให้ นั กเรี ยนได้รั บการพั ฒนาความสามารถในการอ่ านและการเขียนภาษาไทย ได้ อย่ างมี ประสิ ทธิ ภาพ ส านั กงานคณะกรรมการการศึ กษาขั้ นพื้ นฐาน โดยส านั กวิ ชาการและมาตรฐานการศึ กษา จึงได้ดาเนินการสร้างและพัฒนาเครื่องมือคัดกรองความสามารถในการอ่านและการเขียนของนักเรียนระดับการศึกษา ขั้ น พื้ น ฐานขึ้ น โดยเป็ นการประเมินเพื่ อพัฒนาการเรียนรู้ (Formative Assessment) ส าหรั บเป็ นข้ อมู ลการอ่ าน และการเขียนของนักเรียน เพื่อให้ครูและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทางการศึกษานาไปใช้ในการพัฒนานักเรียนให้เป็นผู้มี ความสามารถในการสื่อสารภาษาไทย สาหรับใช้ในการเรียนรู้และการดาเนินชีวิตต่อไป โดยกรอบโครงสร้างของ เครื่องมือที่สร้างขึ้นนี้ จัดทาขึ้นจากการวิเคราะห์หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ในมาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วัดในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ - ๖ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ เครื่ องมื อที่ สร้ างขึ้ นนี้ สร้ างโดยศึ ก ษานิ เ ทศก์ ที่ รั บ ผิ ด ชอบด้ า นภาษาไทย ครู ผู้ สอนภาษาไทย ที่มีความรู้และประสบการณ์ในการสอนภาษาไทย และได้รับรางวัลด้านการสอนภาษาไทย และตรวจสอบคุณภาพ โดยผู้ทรงคุณวุฒิทางด้านการสอนภาษาไทยและการวัดและประเมินผล จากสถาบันอุดมศึกษา ซึ่งเครื่องมือที่ใช้ คัดกรองความสามารถในการอ่านและการเขียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 - 6 นี้ ครูผู้สอนสามารถนาผล ของการคัดกรองเป็นข้อมูลในการวินิจฉัยนักเรียนเพื่อพัฒนานักเรียนได้ตรงตามความเป็นจริง -๒- 2. จุดประสงค์ของการคัดกรอง 2.1 เพื่อคัดกรองความสามารถในการอ่านและการเขียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 - 6 2.2 เพื่อให้ได้ข้อมูลผลการคัดกรองความสามารถในการอ่านและการเขียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 1 - 6 สาหรับผู้ที่เกี่ยวข้องนาไปใช้ในการวางแผนปรับปรุงและพัฒนานักเรียน 3. นิยามศัพท์เฉพาะ การคั ดกรองความสามารถในการอ่านและการเขียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 - 6 ได้ ก าหนด นิยามศัพท์ ดังนี้ 3.1 การอ่าน หมายถึง ความสามารถในการจับใจความสาคัญ วิเคราะห์ วิจารณ์ แสดงความคิดเห็น และเสนอแนวคิดใหม่จากเรื่องที่อ่านได้อย่างมีเหตุผล และนาความรู้ความคิดจากเรื่องที่อ่านไปประยุกต์ใช้ แก้ปัญหาในการดาเนินชีวิต 3.2 การเขียน หมายถึง ความสามารถในการเขียนสื่อสาร โดยใช้ภาษาถูกต้อง ตรงตามวัตถุประสงค์ วิเคราะห์ วิจารณ์ แสดงความรู้ ความคิดอย่างมีเหตุผล 4. ลักษณะของเครื่องมือ เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ แบบทดสอบวัดความสามารถในการอ่านและการเขียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 - 6 5. โครงสร้างเครื่องมือคัดกรองความสามารถในการอ่านและการเขียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 - 6 เครื่องมือคัดกรองความสามารถในการอ่านและการเขียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 - 6 มีรายละเอียด กรอบโครงสร้าง ดังนี้ -๓- โครงสร้างของเครื่องมือคัดกรองความสามารถในการอ่านและการเขียน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 สาระ การอ่าน การเขียน การเขียนเรื่อง มาตรฐาน/ตัวชี้วัดตามหลักสูตร ท 1.1 ม.1/2 จับใจความสาคัญจากเรื่องที่อ่าน ท 1.1 ม.1/3 ระบุเหตุและผล และข้อเท็จจริงกับข้อคิดเห็น จากเรื่องที่อ่าน ท 1.1 ม.1/4 ระบุและอธิบายคาเปรียบเทียบและคาทีม่ ี หลายความหมายในบริบทต่าง ๆ จากการอ่าน ท 1.1 ม.1/5 ตีความคายากในเอกสารวิชาการโดยพิจารณา จากบริบท ท 1.1 ม.1/6 ระบุข้อสังเกตและความสมเหตุสมผลของงานเขียน ประเภทชักจูงโน้มน้าวใจ ท 1.1 ม.1/8 วิเคราะห์คุณค่าที่ได้รับจากการอ่านงานเขียน อย่างหลากหลายเพื่อนาไปใช้ในการแก้ปัญหาในชีวิต ท 2.1 ม.1/6 เขียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสาระจากสื่อที่ได้รับ สาระการเรียนรู้แกนกลาง การอ่านจับใจความจากสื่อต่าง ๆ เช่น - เรื่องเล่าจากประสบการณ์ - เรื่องสั้น - บทสนทนา - นิทานชาดก - วรรณคดีในบทเรียน - งานเขียนเชิงสร้างสรรค์ - บทความ - สารคดี - บันเทิงคดี - เอกสารทางวิชาการที่มีคา ประโยค และข้อความที่ต้องใช้บริบท ช่วยพิจารณาความหมาย - งานเขียนประเภทชักจูงโน้มน้าวใจเชิงสร้างสรรค์ การอ่านหนังสือตามความสนใจ เช่น - หนังสือที่นักเรียนสนใจและเหมาะสมกับวัย - หนังสือที่ครูและนักเรียนกาหนดร่วมกัน การเขียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสาระจากสื่อต่าง ๆ เช่น - บทความ - หนังสืออ่านนอกเวลา - ข่าวและเหตุการณ์ประจาวัน - เหตุการณ์สาคัญต่าง ๆ -๔- รูปแบบของข้อสอบ แบบทดสอบชนิดเลือกตอบ จานวน (ข้อ) คะแนนเต็ม 20 ข้อ 20 คะแนน แบบทดสอบการเขียน ๑ ข้อ 16 คะแนน โครงสร้างของเครื่องมือคัดกรองความสามารถในการอ่านและการเขียน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 สาระ การอ่าน การเขียน การเขียนเรื่อง มาตรฐาน/ตัวชี้วัดตามหลักสูตร ท 1.1 ม.2/2 จับใจความสาคัญ สรุปความ และอธิบายรายละเอียด จากเรื่องที่อ่าน ท 1.1 ม.2/4 อภิปรายแสดงความคิดเห็นและข้อโต้แย้งเกี่ยวกับ เรื่องที่อ่าน ท 1.1 ม.2/5 วิเคราะห์และจาแนกข้อเท็จจริง ข้อมูลสนับสนุน และข้อคิดเห็นจากบทความทีอ่ ่าน ท 1.1 ม.2/6 ระบุข้อสังเกตการชวนเชื่อ การโน้มน้าว หรือความสมเหตุสมผลของงานเขียน ท 1.1 ม.2/7 อ่านหนังสือ บทความ หรือคาประพันธ์ อย่างหลากหลาย และประเมินคุณค่าหรือแนวคิด ที่ได้จากการอ่าน เพือ่ นาไปใช้แก้ปญ ั หาในชีวิต ท 2.1 ม.2/7 เขียนวิเคราะห์ วิจารณ์ และแสดงความรู้ ความคิดเห็น หรือโต้แย้งในเรื่องที่อ่านอย่างมีเหตุผล สาระการเรียนรู้แกนกลาง การอ่านจับใจความจากสื่อต่าง ๆ เช่น - วรรณคดีในบทเรียน - บทความ - บันทึกเหตุการณ์ - บทสนทนา - บทโฆษณา - งานเขียนประเภทโน้นมน้าวใจ - งานเขียนหรือบทความแสดงข้อเท็จจริง - เรื่องราวจากบทเรียนในกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย และกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น การอ่านตามความสนใจ - หนังสืออ่านนอกเวลา - หนังสือที่นักเรียนสนใจและเหมาะสมกับวัย - หนังสืออ่านที่ครูและนักเรียนกาหนดร่วมกัน การเขียนวิเคราะห์ วิจารณ์ และแสดงความรู้ ความคิดเห็น หรือโต้แย้ง จากสื่อต่าง ๆ เช่น - บทความ - บทเพลง - หนังสืออ่านนอกเวลา - สารคดี - บันเทิงคดี -๕- รูปแบบของข้อสอบ แบบทดสอบชนิดเลือกตอบ จานวน (ข้อ) คะแนนเต็ม 20 ข้อ 20 คะแนน แบบทดสอบการเขียน ๑ ข้อ 16 คะแนน โครงสร้างของเครื่องมือคัดกรองความสามารถในการอ่านและการเขียน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สาระ การอ่าน การเขียน การเขียนเรื่อง มาตรฐาน/ตัวชี้วัดตามหลักสูตร ท 1.1 ม.3/2 ระบุความแตกต่างของคาที่มีความหมายโดยตรง และความหมายโดยนัย ท 1.1 ม.3/3 ระบุใจความสาคัญและรายละเอียดของข้อมูล ที่สนับสนุนจากเรื่องที่อ่าน ท 1.1 ม.3/5 วิเคราะห์ วิจารณ์ และประเมินเรื่องที่อ่านโดยใช้กลวิธี การเปรียบเทียบ เพื่อให้ผู้อา่ นเข้าใจได้ดขี ึ้น ท 1.1 ม.3/6 ประเมินความถูกต้องของข้อมูลที่ใช้สนับสนุน ในเรื่องที่อ่าน ท 1.1 ม.3/7 วิจารณ์ความสมเหตุสมผล การลาดับความ และความเป็นไปได้ของเรื่อง ท 1.1 ม.3/8 วิเคราะห์เพื่อแสดงความคิดเห็นโต้แย้งเกี่ยวกับ เรื่องที่อ่าน ท 1.1 ม.3/9 ตีความและประเมินคุณค่าแนวคิดที่ได้จากงานเขียน อย่างหลากหลาย เพือ่ นาไปใช้แก้ปญ ั หาในชีวิต ท 2.1 ม.3/7 เขียนวิเคราะห์ วิจารณ์ และแสดงความรู้ ความคิดเห็น หรือโต้แย้งในเรื่องต่าง ๆ สาระการเรียนรู้แกนกลาง การอ่านจับใจความจากสื่อต่าง ๆ เช่น - วรรณคดีในบทเรียน - ข่าวและเหตุการณ์สาคัญ - บทความ - บันเทิงคดี - สารคดี - สารคดีเชิงประวัติ - ตานาน - งานเขียนเชิงสร้างสรรค์ - เรื่องราวจากบทเรียนในกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย และกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น การอ่านตามความสนใจ - หนังสืออ่านนอกเวลา - หนังสืออ่านตามความสนใจและตามวัยของนักเรียน - หนังสืออ่านที่ครูและนักเรียนร่วมกันกาหนด การเขียนวิเคราะห์ วิจารณ์ และแสดงความรู้ ความคิดเห็น หรือโต้แย้ง จากสื่อต่าง ๆ เช่น - บทโฆษณา - บทความทางวิชาการ -๖- รูปแบบของข้อสอบ แบบทดสอบชนิดเลือกตอบ จานวน (ข้อ) คะแนนเต็ม 20 ข้อ 20 คะแนน แบบทดสอบการเขียน ๑ ข้อ 16 คะแนน โครงสร้างของเครื่องมือคัดกรองความสามารถในการอ่านและการเขียน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 - 6 สาระ การอ่าน การเขียน มาตรฐาน/ตัวชี้วัดตามหลักสูตร ท 1.1 ม.4-6/2 ตีความ แปลความ และขยายความเรื่องที่อ่าน ท 1.1 ม.4-6/3 วิเคราะห์และวิจารณ์เรื่องที่อ่านในทุก ๆ ด้าน อย่างมีเหตุผล ท 1.1 ม.4-6/4 คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่านและประเมินค่า เพื่อนาความรู้ความคิดไปใช้ตัดสินใจแก้ปัญหา ในการดาเนินชีวิต ท 1.1 ม.4-6/5 วิเคราะห์ วิจารณ์ แสดงความคิดเห็นโต้แย้งเกี่ยวกับ เรื่องที่อ่าน และเสนอความคิดใหม่อย่างมีเหตุผล ท 1.1 ม.4-6/6 ตอบคาถามจากงานเขียนประเภทต่าง ๆ ภายในเวลา ที่กาหนด ท 1.1 ม.4-6/8 สังเคราะห์ความรู้จากการอ่านสือ่ สิ่งพิมพ์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ และแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ มาพัฒนาตน พัฒนาการเรียน และพัฒนาความรู้ ทางอาชีพ สาระการเรียนรู้แกนกลาง การอ่านจับใจความจากสื่อต่าง ๆ เช่น - ข่าวสารจากสื่อสิ่งพิมพ์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ และแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ ในชุมชน - บทความ - นิทาน - เรื่องสั้น - นวนิยาย - วรรณกรรมพื้นบ้าน - วรรณคดีในบทเรียน - บทโฆษณา - สารคดี - บันเทิงคดี - ปาฐกถา - พระบรมราโชวาท - เทศนา - คาบรรยาย - คาสอน - บทร้อยกรองร่วมสมัย - บทเพลง - บทอาเศียรวาท - คาขวัญ ท 2.1 ม.4-6/1 การเขียนสื่อสารในรูปแบบต่าง ๆ เขียนสื่อสารในรูปแบบต่าง ๆ ได้ตรงตามวัตถุประสงค์ - อธิบาย - บรรยาย - พรรณนา โดยใช้ภาษาเรียบเรียงถูกต้อง มีข้อมูล - แสดงทรรศนะ - โต้แย้ง - โน้มน้าว และสาระสาคัญชัดเจน - เชิญชวน - ประกาศ - จดหมายกิจธุระ -๗- รูปแบบของข้อสอบ แบบทดสอบชนิดเลือกตอบ จานวน (ข้อ) คะแนนเต็ม 20 ข้อ 20 คะแนน แบบทดสอบการเขียน ๑ ข้อ 16 คะแนน 6. กาหนดการรายงานผลการคัดกรอง การคัดกรองความสามารถในการอ่านและการเขียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ - ๖ ในปีการศึกษา 256๓ กาหนดการประเมินและรายงานผลผ่านทางระบบการติดตามทางอิเล็กทรอนิกส์ ภาคเรียนละ 1 ครั้ง ได้แก่ ภาคเรียนที่ 1 รายงานผลภายใน 31 กรกฎาคม 2563 ภาคเรียนที่ 2 รายงานผลภายใน 31 ธันวาคม 2563 7. เกณฑ์ของระดับคะแนนและการแปลผลการคัดกรอง การคัดกรองความสามารถในการอ่านและการเขียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ - ๖ มีเกณฑ์ของระดับ คะแนนและการแปลผล ดังนี้ เกณฑ์ของระดับคะแนน ร้อยละ 75 - 100 ร้อยละ 50 - 74 ร้อยละ 25 - 49 ร้อยละ 0 - 24 การแปลผล ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรุง 8. การนาผลการคัดกรองไปใช้ในการพัฒนานักเรียน การคัดกรองความสามารถในการอ่านและการเขียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ - ๖ มีวัตถุประสงค์ สาคัญเพื่อนาข้อมูลจากผลการคัดกรองไปใช้ในการวางแผนปรับปรุงและพัฒนาการอ่านและการเขียนของนักเรียน ซึ่งมีความสามารถสูงให้ดียิ่งขึ้น และแก้ไขปัญหาการอ่านและการเขียนของนักเรียนที่มีผลการคัดกรองระดับ ต่า โดยครูควรพิจารณาผลการคัดกรองของนักเรียนทั้งภาพรวมและรายบุคคล เพื่อให้ทราบว่านักเรียนแต่ละคน มีผลการคัดกรองความสามารถและทักษะใดที่ควรได้รับการพัฒนา โดยจาเป็นต้องปรับกระบวนการจัดการเรียนการสอน เพื่อให้เหมาะสมกับนักเรียน เช่น การจัดสอนซ่อมเสริมนักเรียนเป็นรายบุคคลเพิ่มเติม เป็นต้น 9. การดาเนินการสอบ การดาเนินการสอบเป็นความรับผิดชอบของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาและมัธยมศึกษา ในการบริหารจัดการมีแนวปฏิบัติ ดังนี้ 9.1 การเตรียมการก่อนการสอบ ก่อนการสอบให้โรงเรียนเตรียมการดังนี้ 1) การจัดห้องสอบ ให้จัดห้องสอบตามปกติของการจัดสอบของโรงเรียน 2) ผู้ดาเนินการสอบ มอบหมายให้ครูผู้สอนหรือครูประจาชั้นเป็นผู้ดาเนินการสอบ โดยใช้เครื่องมือ คัดกรองที่ส านั กงานคณะกรรมการการศึ กษาขั้นพื้นฐานจั ดส่ งให้ ส านั กงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึ ก ษา และมัธยมศึกษา 9.2 การดาเนินการสอบ การดาเนินการสอบให้ดาเนินการ ดังนี้ 1) ให้ครูผู้สอนหรือครูประจาชั้นที่ได้รับมอบหมายศึกษาทาความเข้าใจเอกสารต่อไปนี้ - คู่มือการคัดกรองความสามารถในการอ่านและการเขียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ - 6 - คาชี้แจงและเครื่องมือคัดกรองความสามารถในการอ่านและการเขียนนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 1 - 6 ๒) ให้ครูผู้สอนหรือครูประจาชั้นที่ได้รับมอบหมายจัดสอบตามรายละเอียดที่กาหนดในคาชี้แจง ของแบบทดสอบแต่ละฉบับ -๘- 9.3 การดาเนินการหลังสอบ การดาเนินการหลังสอบให้ดาเนินการ ดังนี้ ครูผู้สอนหรือครูประจาชั้นที่ได้รับมอบหมายตรวจให้คะแนนตามเกณฑ์ที่กาหนดในคาชี้แจง ของแบบทดสอบแต่ละระดับชั้นของนักเรียนในโรงเรียนของตน และรายงานผลการคัดกรองตามเกณฑ์ที่กาหนด * กรณีที่พบว่าเครื่องมือคัดกรองหรือเฉลยคาตอบมีความผิดพลาด ขอความกรุณาครูผู้สอนหรือครูประจาชั้นที่ได้รับมอบหมาย ในการดาเนินการสอบหรือตรวจให้คะแนนพิจารณาปรับให้ถูกต้องเพื่อให้การจัดการสอบเป็นไปด้วยความเรียบร้อย ทั้งนี้ สถาบันภาษาไทย ขออภัยมา ณ ที่นี้ และหากมีข้อสงสัยหรือข้อเสนอแนะกรุณาติดต่อ สถาบันภาษาไทย 0 2288 5746-7 การสอบและประเมินผล เพื่อการค้นและพัฒนาสมรรถนะของนักเรียน สถาบันภาษาไทย สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ โทร. 0 2288 5746-7 -๙-