คํานํา คูมือเลมนี้ใชประกอบการฝกอบรมหลักสูตรการใชงาน PLC ระดับที่ 1 ซีง่ ตามหลักสูตร นั้นจะมุงเนนไปที่ทักษะการใชงาน PLC ขัน้ พื้นฐานเชน แนะนําโครงสรางของ PLC, การกําหนด แอสเดรสอินพุต/เอาตพุต, การเขียนโปรแกรมให PLC ดวยคําสั่งพืน้ ฐานที่ใชงานบอย รวมทั้งการ ประยุกตใชงานควบคุมเซอรโวมอเตอรเบื้องตน ดังนั้นคูมอื เลมนี้จึงเหมาะสําหรับผูเริ่มตนศึกษาการทํางานของ PLC ไดเปนอยางดี ทางบริษัทฯ ยินดีรับฟงความคิดเห็นและขอเสนอแนะ เพื่อจะไดนาํ มาปรับปรุงใหดยี งิ่ ขึ้น บริษัท ออมรอน อีเลคทรอนิคส จํากัด หมายเหตุ พิมพครั้งที่ 1 คูมอื เลมนี้เปนลิขสิทธิ์ของบริษัท ออมรอน อีเลคทรอนิคส จํากัด หามทําการ ลอกเลียนแบบหรือเผยแพรสว นหนึ่งสวนใด เวนแตจะไดรบั อนุญาตจากทาง บริษัทฯ เปนลายลักษณอักษร ตุลาคม 2550 จํานวนพิมพ 2,000 เลม บริษัท ออมรอน อีเลคทรอนิคส จํากัด โทรศัพท 0-2942-6700 โทรสาร 0-2937-0501 เว็บไซด www.omron-ap.co.th สารบัญ บทที่ 1 แนะนําใหรูจัก PLC 1. 1 ชนิดของ PLC 1.1.1 PLC ชนิดบล็อก (Block Type PLCs) 1.1.2 PLC ชนิดโมดูล (Modular Type PLCs) หรือแร็ค (Rack Type PLCs) 1.2 ภาษาที่ใชในการเขียนโปรแกรมใหกับ PLC 1.3 อุปกรณสาํ หรับการโปรแกรม 1.3.1 ตัวปอนโปรแกรมแบบมือถือ (Hand Held Programmer) 1.3.2 คอมพิวเตอร 1 4. ระบบสื่อสาร (Communications) 1.5 โครงสรางของ PLC 1.5.1 ซีพียู (CPU; Central Process Unit) 1.5.2 หนวยความจํา (Memory Unit) 1.5.3 ภาคอินพุต (Input Unit) 1.5.4 ภาคเอาตพุต (Output Unit) 1.5.5 ภาคแหลงจายพลังงาน (Power Supply Unit) บทที่ 2 การติดตั้งและออกแบบระบบ 2.1 การติดตั้ง PLC 2.1.1 สภาพแวดลอมในการติดตั้ง 2.1.2 การติดตั้งในตูค วบคุม 2.1.3 การลดปญหาจาก Noise และกระแส Spike 2.1.4 การเดินสายสําหรับแหลงจายไฟ 2.1.5 การเดินสายอยางปลอดภัยและลดปญหาสัญญาณรบกวน 2.1.6 การติดตั้งแบตเตอรรี่ 2.1.7 อายุการใชงานของแบตเตอรรี่ 2.2 การออกแบบระบบ 2.3 ขั้นตอนการทํางาน หนา 1 2 2 4 7 9 9 10 12 13 14 14 15 22 32 34 34 34 35 36 39 40 42 42 43 44 บทที่ 3 ความรูพื้นฐานทางดานดิจติ อล 3.1 ระบบเลขฐาน (Number System) 3.2 การแปลงเลขฐาน 3.2.1 การแปลงเลขฐานสองใหเปนเลขฐานสิบ 3.2.2 การแปลงเลขฐานสิบใหเปนเลขฐานสอง 3.2.3 การแปลงเลขฐานสองเปนเลขฐานสิบหกและการแปลงเลขฐานสิบหกเปน เลขฐานสอง 3.3 การบวกและลบเลขฐาน 3.3.1 การบวกเลขฐานสอง 3.3.2 การบวกเลขฐานสิบหก 3.3.3 การลบเลขฐานสอง 3.3.4 การลบเลขฐานสิบหก 3.4 ประเภทของขอมูล 3.5 หลักการพื้นฐานทางลอจิก 3.5.1 หลักการของ AND 3.5.2 หลักการของ OR 3.5.3 หลักการของ NAND 3.5.4 หลักการของ NOR 3.5.5 หลักการของ Exclusive OR 3.5.6 หลักการของ NOT 48 48 50 50 50 51 51 51 51 52 52 52 53 53 53 54 54 54 54 บทที่ 4 การอางแอสเดรสของ PLC 55 4.1 โครงสรางของขอมูล 4.2 การกําหนดเบอรของรีเลย (Relay) ใน PLC 4.3 ตารางแสดงขอกําหนดของพื้นที่ใชงานของ PLC 4.4 การระบุตาํ แหนงอินพุต/เอาตพตุ ของ PLC 4.4.1 การระบุตาํ แหนงอินพุต/เอาตพตุ ของ PLC ชนิดบล็อก (ยกตัวอยางรุน CP1L) 4.4.2 การระบุตาํ แหนงอินพุต/เอาตพตุ ของ PLC ชนิดโมดูล 55 56 57 58 58 60 บทที่ 5 หลักการเขียนแลดเดอรไดอแกรมและคําสัง่ พื้นฐาน 61 5.1 กลุมคําสั่งพื้นฐาน (Ladder Instruction & Output Control) 5.1.1 การใชคาํ สั่ง Load (LD), Load Not (LD NOT) 5.1.2 การใชคาํ สั่ง AND, AND NOT 5.1.3 การใชคาํ สั่ง OR, OR NOT 5.1.4 การใชคาํ สั่ง OUT, OUT NOT 5.1.5 การใชคาํ สั่ง END ( FUN 01 ) 5.1.6 การใชคําสั่ง AND LOAD (AND LD), OR LOAD (OR LD) 5.2 ขอกําหนดในการเขียน Ladder Diagram 5.3 กลุมคําสั่ง Program Control Instruction 5.3.1 การใชคาํ สั่ง IL(02), ILC(03) 5.3.2 การใชคาํ สั่ง JMP (04) และ JME (05) 5.4 คําสั่งในกลุม Bit Control Instruction 5.4.1 การใชคําสั่งเซต (SET) และรีเซต (RESET) 5.4.2 การใชคําสั่ง KEEP - KEEP(11) 5.4.3 การใชคําสั่ง DIFFERENTIATE UP and DOWN–DIFU(13), DIFD(14) 5.5 กลุมคําสั่ง Timer/Counter 5.5.1 การใชคาํ สั่ง TIMER: TIM 5.5.2 การใชคาํ สั่ง COUNTER – CNT 5.5.3 การใชคาํ สั่ง Reversible Counter CNTR (FUN 12) หรือ UP/DOWN Counter 5.6 กลุมคําสั่ง Data Movement 5.6.1 การใชคําสั่ง MOVE – MOV(21) 5.7 กลุมคําสั่ง Data Shifting 5.7.1 การใชคาํ สั่ง SHIFT REGISTER – SFT(10) 61 61 62 63 63 64 64 66 71 71 72 74 74 74 75 76 76 78 84 86 86 88 88 บทที่ 6 การใชซอฟตแวรปอ นโปรแกรม 89 6.1 การติดตั้งซอฟตแวร CX-Programmer 6.1.1 PLC ที่สามารถใชงานกับซอฟตแวร CX-Programmer 6.1.2 ขอแนะนําสําหรับเครื่องคอมพิวเตอรที่ใชงาน (System Requirements) 6.1.3 การติดตั้งซอฟตแวร CX-Programmer 6.2 การสรางโปรแกรมแลดเดอร 6.2.1 การเปดใชซอฟตแวร CX-Programmer 6.2.2 คําอธิบายหนาตางและการใชงาน 6.3 การปอนโปรแกรม 6.3.1 การสรางโปรเจคใหม 6.3.2 การปอนคอนแทค 6.3.3 การปอนคอลยเอาตพุต 6.3.4 การปอน Timer 6.3.5 การปอน Counter 6.3.6 การปอน Auxiliary Area 6.3.7 การปอนคอนแทค Differentiated Up 6.3.8 การปอนคําสั่ง END 6.4 การโหลดและจัดเก็บโปรแกรม (Loading/Saving) 6.4.1 การ Compile โปรแกรม 6.4.2 การ Save โปรแกรม 6.4.2 การ Load โปรแกรม 6.5 การแกไขโปรแกรม 6.5.1 การแกไข I/O comment 6.5.2 การปอน Rung comment 6.5.3 การแกไข Rung 6.5.4 การลากเสนแนวนอนและแนวตั้งเพื่อเชื่อมสัญลักษณแตละตัว 89 89 90 91 97 98 99 101 101 104 107 108 110 113 115 117 118 118 119 120 121 121 123 124 125 6.6 การ Online 6.6.1 การ Online เพือ่ Transfer โปรแกรม 6.6.2 การทํา Auto-online 6.7 การเปลี่ยนโหมด PLC 6.8 การ Transfer โปรแกรม 6.9 การทํา Force-set/Force Reset 6.10 การเปลี่ยนคา Timer 6.11 เทคนิคการใชงานอื่นๆ 6.11.1 การแทรก/ลบ Rung 6.11.2 แทรก/ลบแถวแนวนอนและแนวตั้ง (Row/Column ) บทที่ 7 ตัวอยางการประยุกตใชงาน 126 126 127 129 131 133 135 136 136 142 144 7.1 ตัวอยางการประยุกตใชงานโดยใชคาํ สัง่ Timer 7.2 ตัวอยางการควบคุมการปด-เปดประตู 7.3 ตัวอยางการควบคุมระบบ Lubrication ของเกียรแบบอัตโนมัติ 7.4 ตัวอยางการลําเลียงแผนทองแดงบนสายพานลําเลียง 7.5 ตัวอยางการใช Line Control ในการ Packing 7.6 ตัวอยางการควบคุมจํานวนรถในลานจอดรถ 144 147 149 151 154 157 บทที่ 8 ประยุกตใชงานกับเซอรโวมอเตอร 160 8.1 หลักการควบคุมเบื้องตน 8.2 โครงสรางของเซอรโวมอเตอร 8.3 หลักการทํางานของเอ็นโคดเดอร 8.4 ชนิดของอินพุตควบคุมสําหรับเซอรโวไดวเวอร 8.4.1 PULSE TRAIN CONTROL 8.4.2 PULSE WIDTH MODULATION (PWM) 8.4.3 LINEAR 160 161 162 163 164 164 164 8.5 การสรางระบบควบคุมของเซอรโวมอเตอร ตัวอยางที่ 1 ระบบควบคุมการเคลื่อนที่แบบ Incremental ตัวอยางที่ 2 ระบบควบคุมการเคลื่อนที่แบบ Absolute APPENDIX Appendix –A Appendix –B Appendix –C Appendix –D Appendix –E Appendix-F CP1L/CP1H Specifications CP1L I/O Specification and connection Programming Instructions Memory Areas Servo Driver Setup การใชงานออปชันแสดงผล LCD (CP1W-DAM01) 165 165 176 บทที่ 1 แนะนําใหรูจัก PLC PLC (Programmable Logic Controller) หรือปจจุบันใชคาํ วา PC (Programmable Controller) ในที่นี้จะใชคําวา PLC แทน PC เพื่อปองกันความสับสนกับคําวา PC (Personal Computer) PLC เปนอุปกรณที่คดิ คนขึน้ มา เพื่อใชควบคุมการทํางานของเครื่องจักรหรือระบบตางๆ แทนวงจรรีเลยแบบเกา ซึง่ วงจรรีเลยมีขอเสียคือ การเดินสายและการเปลีย่ นแปลงเงื่อนไขในการ ควบคุมมีความยุงยาก และเมื่อใชงานไปนานๆ หนาสัมผัสของรีเลยจะเสื่อม ทําใหขาดเสถียรภาพ ในการควบคุม ดังนั้นปจจุบนั PLC จึงเขามาทดแทนวงจรรีเลย เพราะ PLC ใชงานไดงา ยกวา สามารถตอเขากับอุปกรณอนิ พุต/เอาตพตุ ไดโดยตรง นอกจากนัน้ เพียงแคเขียนโปรแกรมควบคุมก็ สามารถใชงานไดทันที ถาตองการจะเปลีย่ นเงื่อนไขใหมสามารถทําไดโดยการเปลี่ยนแปลง โปรแกรมเทานั้น นอกจากนี้ PLC ยังสามารถใชงานรวมกับอุปกรณอื่นๆ เชน เครื่องอานบารโคด, เครื่องพิมพ (Printer) และระบบ RFID เปนตน ในปจจุบนั นอกจาก PLC จะใชงานแบบเดี่ยว (Stand alone) แลว ยังสามารถตอ PLC หลายๆ ตัวเขาดวยกันเปนเครือขาย (Network) เพื่อควบคุมการทํางานของระบบใหมีประสิทธิภาพ มากยิ่งขึ้นอีกดวย จะเห็นไดวา การใชงาน PLC มีความยืดหยุนมากกวาการใชงานวงจรรีเลยแบบเกา ดังนั้นในปจจุบนั โรงงานอุตสาหกรรมตางๆ จึงใช PLC เปนหัวใจหลักในการควบคุมการทํางาน ของเครื่องจักร เราสามารถจําแนกประเภทของ PLC ตามลักษณะภายนอกไดเปน 2 ชนิด คือ -1- บทที่ 1 แนะนําใหรูจัก PLC PNSPO 1. 1 ชนิดของ PLC เราสามารถจําแนก PLC ตามโครงสรางหรือลักษณะภายนอกไดเปน 2 ชนิด คือ 1.1.1 PLC ชนิดบล็อก (Block Type PLCs) PLC ประเภทนี้ จะรวมสวนประกอบทั้งหมดของ PLC อยูในบล็อกเดียวกัน ไมวา จะเปนตัวประมวลผล หนวยความจํา ภาคอินพุต/เอาตพุต และแหลงจายไฟ สามารถแสดงตัวอยาง PLC แบบ Block Type ใหเห็นดังรูปที่ 1.1 CP1L/H CPM2A รูปที่ 1.1 แสดงรูปราง PLC ชนิด Block Type • สวนประกอบของ PLC แบบ Block Type ในที่นี้จะยกตัวอยาง PLC แบบ Block Type ของ OMRON รุน CP1L และ CP1H รูปที่ 1.2 โครงสรางภายนอก ของ PLC -2- บทที่ 1 แนะนําใหรูจัก PLC PNSPO จากรูปที่ 1.2 สามารถอธิบายความหมายของแตละสวนไดดังนี้ คือ แบตเตอรี่ (Battery) คือ ขั้วตอแหลงไฟและอินพุต (Power Supply/Input Terminal) คือ ชองเสียบหนวยความจํา (Memory Cassette) คือ ชองเสียบเพื่อเพิ่มพอรตติดตอสื่อสาร (Option Board slots) คือ ขัว้ ตอเอาตพุต (Output Terminal) คือ พอรตเชื่อมตอกับอุปกรณปอนโปรแกรม (USB Port) คือ ปุมปรับอนาลอก (Analog Adjuster) คือ ขัว้ ตออินพุตสําหรับอนาลอก setting (External analog setting input) คือ พอรตขยายอินพุต/เอาตพุต (Expansion I/O Unit Connector) ในกรณีที่ทา นตองการเพิ่มจํานวนอินพุต/เอาตพุต สามารถใชหนวยขยายอินพุต/ เอาตพุต (Expansion I/O Units) เพื่อเพิ่มจํานวนอินพุต/เอาตพตุ ไดโดยการตอเขาที่พอรตขยายอินพุต เอาตพุต (Expansion I/O Unit Connector) สามารถแสดงโครงสรางของหนวยขยายอินพุต/เอาตพุต ไดดงั รูปที่ 1.3 รูปที่ 1.3 แสดงหนวยขยายอินพุต/เอาตพุต (Expansion I/O Units) 1. 2. 3. 4. • ขอดีและขอเสีย ของ PLC แบบ Block Type สามารถยกตัวอยางขอดีขอ เสียของ PLC แบบ Block Type ดังนี้ ขอดี ขอเสีย มีขนาดเล็กสามารถติดตั้งไดงา ยจึง 1. การเพิม่ จํานวนอินพุต/เอาตพุตสามารถ เหมาะกับงานควบคุมขนาดเล็กๆ เพิ่มไดนอ ยกวา PLC ชนิดโมดูล สามารถใชงานแทนวงจรรีเลยได 2. เมื่ออินพุต/เอาตพตุ เสียจุดใดจุดหนึ่ง มีฟงกชันพิเศษ เชนฟงกชันทาง ตองนํา PLC ออกไปทั้งชุดทําใหระบบ คณิตศาสตรและฟงกชันอืน่ ๆ ตองหยุดทํางานชั่วระยะเวลาหนึ่ง มีราคาถูกกวาแบบแร็คหรือโมดูล 3. มีฟงกชันใหเลือกใชงานนอยกวา PLC ในจํานวนอินพุต/เอาตพตุ ที่เทากัน ชนิดโมดูล -3- บทที่ 1 แนะนําใหรูจัก PLC PNSPO เนื้อหาในหัวขอตอไปจะกลาวถึง PLC อีกชนิดหนึ่งซึ่งแยกสวนประกอบตางๆ ออกจากกัน เรียกวา PLC ชนิดโมดูล (Modular Type PLCs) 1.1.2 PLC ชนิดโมดูล (Modular Type PLCs) หรือแร็ค (Rack Type PLCs) PLC ชนิดนี้สว นประกอบแตละสวนสามารถแยกออกจากกันเปนมดูล (Modules) เชนภาคอินพุต/เอาตพุต จะอยูในสวนของโมดูลอินพุต/เอาตพุต (Input/Output Units) ซึง่ สามารถ เลือกใชงานไดวาจะใชโมดูลขนาดกี่อินพุต/เอาตพุต ซึ่งมีใหเลือกใชงานหลายรูปแบบอาจจะใชเปน อินพุตอยางเดียวขนาด 8 /16 จุด หรือเปนเอาตพตุ อยางเดียวขนาด 4/8/12/16 จุด ขึน้ อยูกบั รุนของ PLC ดวย ในสวนของตัวประมวลผลและหนวยความจําจะรวมอยูใ นซีพียูโมดูล (CPU Unit) เราสามารถเปลีย่ นขนาดของ CPU Unit ใหเหมาะสมตามความตองการใชงาน เชน PLC รุน CS1 จะ มี CPU ใหเลือกใชงานหลายรุนเชน รุน CS1G-CPU42H จะมีความแตกตางกับ PLC รุน CS1HCPU65H (ทั้งสองรุนเปน PLC ตระกูล CS1 เหมือนกัน) ตรงขนาดความจุของโปรแกรมและการ รองรับจํานวนอินพุต/เอาตพตุ เปนตน สวนประกอบตางๆ ของ PLC ชนิดโมดูลทีก่ ลาวมาทั้งหมดนั้น เมื่อตองการใชงาน จะถูกนํามาตอรวมกัน บางรุน ใชเปนคอนเนคเตอรในการเชื่อมตอกันระหวางยูนิต เชน รุน CQM1 / CQM1H หรือ CJ1M/H/G แตบางรุนใช Backplaneในการรวมยูนติ ตางๆ เขาดวยกัน เพื่อใหสามารถ ใชงานรวมกันไดสามารถยกตัวอยาง PLC ชนิดโมดูลไดดังแสดงรูปที่ 1.4 CJ1 CS1 รูปที่ 1.4 แสดงรูปรางของ PLC ชนิดโมดูล ยกตัวอยาง PLC รุน CJ1 จะใชคอนเนคเตอรในการเชื่อมตอแตละโมดูลเขา ดวยกัน เพื่อใหสามารถทํางานรวมกันได ดังแสดงในรูปที่ 1.5 -4- บทที่ 1 แนะนําใหรูจัก PLC PNSPO รูปที่ 1.5 แสดงชนิดของ PLC ชนิดโมดูล ที่ใชคอนเนคเตอรในการเชือ่ มตอ สวน PLC รุน CS1 จะใช Backplane ในการเชื่อมตอแตละโมดูลเขาดวยกันเพื่อให ทํางานรวมกัน ดังแสดงในรูปที่ 1.6 รูปที่ 1.6 แสดงชนิดของ PLC ชนิดโมดูล ที่ใช Backplane ในการเชื่อมตอ -5- บทที่ 1 แนะนําใหรูจัก PLC PNSPO 1. 2. 3. 4. • ขอดีและขอเสียของ PLC ชนิดโมดูล ขอดี เพิ่มขยายระบบไดงายเพียงแคติดตั้งโมดูล ตางๆ ที่ตองการใชงานลงไปบน Back plane สามารถขยายจํานวนอินพุต/เอาตพตุ ได มากกวาแบบ Block Type อุปกรณอนิ พุต/เอาตพตุ เสียจุดใดจุดหนึ่ง สามารถถอดเฉพาะโมดูลนัน้ ไปซอม ทําให ระบบสามารถทําการตอได มียูนิต และรูปแบบการติดตอสื่อสารให เลือกใชงานมากกวาแบบ Block Type ขอเสีย 1. ราคาแพงเมื่อเทียบกับ PLC แบบ Block Type ที่มีจาํ นวนI/O เทากัน จะเห็นวา PLC แตละชนิดจะมีคณ ุ สมบัติแตกตางกัน PLC รุน ที่ใหญขึ้น จะมีคณ ุ สมบัติและ ฟงกชันพิเศษอื่นๆ มากกวา PLC รุน เล็กซึ่งสามารถเปรียบเทียบใหเห็นความแตกตางดังตาราง ตอไปนี้ ตารางที่ 1.1 เปรียบเทียบคุณสมบัติของ PLC คุณสมบัติ จํานวนอินพุต/เอาตพุต (Max.) ความจุโปรแกรม(Max.) ความเร็วในการประมวลผล ไทมเมอร/เคานเตอร หนวยความจําในสวนของ DM ระบบสื่อสาร รุน CPM1A 100 จุด CP1L 160 จุด CP1H 256 จุด CS1 5,120 จุด 2 KWords 0.72 μS 10 KSteps 0.55 μS 20 KSteps 250 KSteps 0.1μS 0.04 μS 128 4,096/4,096 4,096/4,096 4,096/4,096 1,024 Words 32K Words 32KWords 32KWords • CompoBus/S • Host Link • NT Link • 1:1 Link • • • • • • CompoBus/S Host Link NT Link 1:1 Link Modbus-RTU Componet -6- • • • • • Controller Link CompoBus/D Ethernet Protocol Macro รวมทั้งระบบ สือ่ สารที่มใี น PLC รุน ต่ํากวา • • • • • Ethernet Sysmac Link Profibus-DP Modbus รวมทั้งระบบ สื่อสารที่มใี น รุน ต่ํากวา บทที่ 1 แนะนําใหรูจัก PLC PNSPO 1.2 ภาษาที่ใชในการเขียนโปรแกรมใหกับ PLC PLC แตละยี่หอ จะใชภาษาในการเขียนโปรแกรมเพื่อสั่งให PLC ทํางานตามความตองการ แตกตางกัน ซึง่ ตามมาตรฐาน IEC1131-3 ไดแบงมาตรฐานภาษาตางๆ ออกเปน 5 แบบตามรูปที่ แสดงขางลางนี้ ภาษาที่นยิ มใชมากที่สุดคือ Ladder Diagram เพราะเปนภาษาที่งา ยมีลกั ษณะคลาย วงจรควบคุมแบบรีเลย สวนภาษาที่นยิ มเปนอันดับสองคือ Function Block 1) Sequential Flow Chart Language 2) Structure Text Language 3) Function Block Diagram Language -7- บทที่ 1 แนะนําใหรูจัก PLC PNSPO 4) Instruction List Language 5) Ladder Diagram หลังจากที่ไดเรียนรูภาษาที่ใชในการเขียนโปรแกรมใหกบั PLC แลว ในหัวขอตอไปจะ กลาวถึงอุปกรณที่ใชในการปอนโปรแกรมใหกับ PLC ซึ่งจะกลาวถึงรายละเอียดดังนี้ -8- บทที่ 1 แนะนําใหรูจัก PLC PNSPO 1.3 อุปกรณสําหรับการโปรแกรม การสั่งให PLC ทํางาน จะตองปอนโปรแกรมใหกบั PLC กอน ซึ่งอุปกรณทใี่ ชในการปอน โปรแกรมใหกบั PLC นั้น สามารถแบงไดเปน 2 ประเภท 1.3.1 ตัวปอนโปรแกรมแบบมือถือ (Hand Held Programmer) แตละยีห่ อ จะมีชื่อเรียกแตกตางกัน เชน OMRON จะเรียกวา Programming Console เปนตน สามารถยกตัวอยางใหเห็นดังรูปที่ 1.7 ในปจจุบัน PLC รุนใหมๆ ของออมรอน ไมไดใช Programming Console ในการเขียนโปรแกรมแลวเพราะใชงานยาก รูปที่ 1.7 แสดงตัวปอนโปรแกรมแบบมือถือ (Programming Console) การเขียนโปรแกรมใหกับ PLC โดยการใช Programming Console จะปอนเปน ภาษา Statement List หรือ Mnemonic เชน คําสั่ง LD, AND, OR ซึ่งเปนคําสั่งพื้นฐาน สามารถ เรียกใชงานโดยการกดปุมทีอ่ ยูบนตัว Programming Console นั้น แตเมื่อตองการใชงานฟงกชนั อืน่ ๆ ที่มอี ยูใน PLC สามารถเรียกใชงานไดโดยการกดปุมเรียกใชคําสั่งพิเศษ การใช Programming Console มีขอ ดีตรงที่มคี วามสะดวกในการเคลือ่ นยาย และ สามารถพกพาไดสะดวกเนื่องจากมีขนาดเล็ก แตก็มีขอ เสียคือในการใชงานผูใชตองศึกษาวิธกี ารใช งานของอุปกรณเหลานีว้ ามีวธิ กี ารกดอยางไร ถึงจะสั่งงาน PLC ได ในหัวขอตอไปจะกลาวถึงอุปกรณที่ใชในการปอนโปรแกรมใหกบั PLC อีกชนิด หนึ่งคือ คอมพิวเตอรสว นบุคคล (Personal Computer) -9- บทที่ 1 แนะนําใหรูจัก PLC PNSPO 1.3.2 คอมพิวเตอร สามารถใชในการเขียนโปรแกรมใหกับ PLC ได โดยใชงานรวมกับซอฟตแวร (Software) เฉพาะของ PLC ยี่หอนัน้ เชน PLC ของ OMRON จะใชซอฟตแวรที่มชี อื่ เรียกแตกตาง กันไป สามารถยกตัวอยางไดเชน • Syswin Support Software • CX-Programmer ใชไดกับระบบปฏิบัติการตั้งแต Window XP ขึน้ ไป หรือ Window NT ซึ่ง ซอฟตแวรตา งๆ เหลานี้ไดถกู พัฒนาขึ้นเพือ่ ใชกับ PLC รุน ใหมที่ผลิตขึน้ มาอยางเชน CX-Programmer มีการพัฒนาเปนเวอรชันที่สูงขึ้นเรื่อยๆ เพื่อรองรับกับ PLC รุนใหมๆ และฟงกชัน ใหมๆ ของ PLC วิธีการตอคอมพิวเตอรกับ PLC สามารถแสดงใหเห็นดังนี้ รูปที่ 1.8 แสดงวิธีการตอใชงานคอมพิวเตอรกับ PLC - 10 - บทที่ 1 แนะนําใหรูจัก PLC PNSPO รูปที่ 1.9 ตัวอยางซอฟตแวร (CX-Programmer) ขอดีของการใชเครื่องคอมพิวเตอรในการปอนโปรแกรมใหกับ PLC คือ ใชงาน งาย เชนในกรณีใช CX-Programmer รวมกับระบบปฏิบัติการ Window จากรูปที่ 1.9 ทานจะเห็นวา การเขียนโปรแกรมเปนภาษา Ladder Diagram จะเปนการนําสัญลักษณตางๆ เขามาใชแทนการ เขียนคําสั่ง ทําใหเขาใจงายเพียงแคคลิกเลือกสัญลักษณตางๆ จากสวนของ Toolbar นอกจากนัน้ ยัง มี Toolbar อืน่ ๆ ใหเลือกใชงานซึ่งงายกวาการใช Programming Console ดังนั้นสามารถสรุปไดวา การปอนโปรแกรมใหกับ PLC สามารถทําได 2 วิธีคือ การใช Programming Console และการใชเครื่องคอมพิวเตอร ซึ่งขึ้นอยูกับความสะดวกของผูใช ในหัวขอ ตอไปจะกลาวถึงระบบการติดตอสื่อสารของ PLC - 11 - บทที่ 1 แนะนําใหรูจัก PLC PNSPO 1.4 ระบบสื่อสาร (Communications) ระบบสื่อสารของ PLC คือการนํา PLC ไปตอใชงานรวมกับอุปกรณอนื่ ๆ เพื่อใหอปุ กรณ อืน่ ควบคุมการทํางานของ PLC หรือ ให PLC ไปควบคุมการทํางานของอุปกรณอื่น หรือ เปนระบบ ที่ใชในการแลกเปลี่ยนขอมูลระหวาง PLC กับ PLC ก็ได ซึ่งปจจุบัน PLC สามารถนําไปตอรวมกับ อุปกรณของยีห่ อ เดียวกัน หรืออุปกรณภายนอกตางยี่หอกัน เพื่อควบคุมการทํางานของระบบใหใช งานไดอยางกวางขวางมากขึ้น สําหรับระบบสื่อสารของแตละยี่หอจะมีชื่อเรียกไมเหมือนกัน นอกจากนี้ PLC แตละรุนยังมีระบบการติดตอสื่อสารบางรูปแบบแตกตางกันดวย เชน PLC รุนเล็กจะมีความสามารถในการติดตอสื่อสารไดนอ ยกวา PLC รุน ใหญ เชน PLC รุน CP1 สามารถ ใชระบบสื่อสารไดเฉพาะ Compobus/S, Host link, 1:1 link, NT link สวนรุนที่สงู ขึ้นมาเชน CJ1 หรือ CS1 นอกจากจะใชระบบที่เปนระบบการติดตอสื่อสารพื้นฐานที่มใี น PLC รุนเล็กแลว ยัง สามารถติดตอสื่อสารในลักษณะของ Ethernet ไดอกี ดวย สามารถแสดงตัวอยางรูปแบบการ ติดตอสื่อสารของ PLC ไดดงั รูปที่ 1.10 รูปที่ 1.10 ระบบการติดตอสื่อสารของ PLC ในโรงงานอุตสาหกรรม (PLC Network) - 12 - บทที่ 1 แนะนําใหรูจัก PLC PNSPO 1.5 โครงสรางของ PLC โครงสรางภายในของ PLC แตละสวนจะประกอบกันทํางานเปนระบบควบคุมที่เราเรียกวา PLC ซึง่ ประกอบไปดวยสวนสําคัญดังรูปที่ 1.11 รูปที่ 1.11 ไดอะแกรมภายใน PLC จากไดอะแกรมดังรูปที่ 1.11 PLC จะมีสวนประกอบสําคัญดวยกันทั้งหมด 5 สวนดังนี้ 1. 2. 3. 4. 5. ซีพียู (CPU; Central Processing Unit) หนวยความจํา (Memory Unit) ภาคอินพุต (Input Unit) ภาคเอาตพุต (Output Unit) ภาคแหลงจายพลังงาน (Power Supply Unit) ยูนิตทั้ง 5 สวนเมื่อประกอบเขาดวยกันแลวก็จะกลายเปน PLC ชุดหนึง่ ที่สามารถทํางานได แตละยูนิตจะมีหนาที่และคุณสมบัติดังนี้ - 13 - บทที่ 1 แนะนําใหรูจัก PLC PNSPO 1.5.1 ซีพียู (CPU; Central Process Unit) ซีพียูหรือหนวยประมวลผลกลาง ทําหนาที่ประมวลผลการทํางานตามคําสั่งของ สวนตางๆ ตามที่ไดรับมา ผลจากการประมวลผลก็จะถูกสงออกไปสวนตางๆ ตามที่ระบุไวดว ย คําสั่งนั่นเอง ซีพียูจะใชเวลาในการประมวลชาหรือเร็ว ขึ้นอยูกับการเลือกขนาดของซีพียู และความ ยาวของโปรแกรมที่เขียนดวย ปกติแลวซีพยี จู ะใชไมโครโปรเซสเซอรขนาดตั้งแต 4 บิต, 8 บิต, 16 บิต, 32 บิต, 64 บิต หรือ 128 บิตมาทํางาน โดยที่ซพี ียแู ตละขนาดก็จะมีความสามารถจํากัดไมเทากันจึงทําให PLC ในแตละรุนมีความสามารถตางกันนั่นเอง หรือแมกระทั่งวาภายใน PLC บางรุนจะใชไมโครโปรเซสเซอรถึง 2 ตัวชวยกันทํางาน เวลาการประมวลผลก็จะเร็วกวา PLC ทีใ่ ชไมโครโปรเซสเซอรเพียงแคตวั เดียว โดยปกติแลวการเลือกใชงาน PLC จะเลือกจากการประยุกตใชงานจึงทําใหผใู ช งาน (User) ไมรูวา ผูผลิตใชไมโครโปรเซสเซอรรุน หรือเบอรอะไรในการสรางเครื่อง PLC ดังนั้น เวลาพิจารณาเลือกใช PLC ซึ่งไมมีการระบุเบอรหรือรุน ของไมโครโปรเซสเซอรผูใชงานสามารถ เลือกจากคุณสมบัติอื่น เชน จํานวนอินพุต/เอาตพุต, ความเร็วในการประมวลผลของคําสั่ง, ขนาด ความจุโปรแกรม และขอมูล เปนตน 1.5.2 หนวยความจํา (Memory Unit) หนวยความจําเปนอุปกรณทใี่ ชเก็บโปรแกรมและขอมูลตางๆ ของ PLC กรณีที่สั่ง ให PLC ทํางาน (RUN) มันจะนําเอาโปรแกรมและขอมูลในหนวยความจํามาประมวลผลการ ทํางาน สําหรับหนวยความจําที่ใชงานมีดว ยกัน 2 ชนิด คือ • หนวยความจําชั่วคราว (RAM: Random Access Memory) • หนวยความจําถาวร (ROM: Read Only Memory) • หนวยความจําชั่วคราว (RAM: Random Access Memory) โปรแกรมและขอมูลที่สรางขึ้นโดยผูใชจะถูกจัดเก็บในสวนนี้ คุณสมบัติของ RAM เมื่อไมมีไฟเลี้ยงจะทําใหโปรแกรมและขอมูลหายไปทันที ดังนัน้ ภายใน PLC จะพบวาจะมี แบตเตอรี่สาํ รองขอมูล (Backup Battery) เอาไวสาํ รองขอมูล (Backup Data) กรณีทไี่ ฟหลัก (Main Power Supply) ไมจายไฟใหกับ PLC ขอควรระวังคือ ไมควรที่จะถอดแบตเตอรี่สาํ รอง (Backup Battery) กรณีทไี่ มมไี ฟจายให PLC - 14 - บทที่ 1 แนะนําใหรูจัก PLC PNSPO • หนวยความจําถาวร (ROM: Read Only Memory) เปนหนวยความจําอีกชนิดหนึ่ง โดยที่ขอมูลใน ROM ไมจําเปนตองมีแบตเตอรี่ สํารองขอมูล แตก็มีปญหาเรือ่ งเวลาในการเขาถึงขอมูล (Time Access) ชากวา RAM จึงปรากฏให ผูใ ชเห็นวา PLC จะมีหนวยความจําใชงานทั้ง RAM และ ROM รวมกันอยู ROM แบงออกเปน 3 ชนิด ดังนี้ 1) PROM ( Programmable ROM) 2) EPROM (Erasable Programmable ROM) 3) EEPROM (Electrical Erasable Programmable ROM) PROM จัดเปน ROM รุนแรก เขียนขอมูลลงชิปไดเพียงครั้งเดียว ถาเขียนขอมูลไม สมบู ร ณ ชิ ป ก็ จ ะเสี ย ทั น ที ไม ส ามารถนํ า กลั บ มาเขี ย นใหม ไ ด อี ก จึ ง ได มี ก ารพั ฒ นามาเป น รุ น EPROM ซึ่งสามารถเขียนขอมูลลงชิปไดหลายครั้ง เพียงแคนําชิปไปฉายแสงอุลตราไวโอเลตก็จะ เปนการลบขอมูลในชิปดวยสัญญาณทางไฟฟาไดเลย จึงทําใหเกิดความสะดวกสบายมากขึ้น แต เรื่องเวลาในการเขาถึงขอมูลก็ยงั ชากวา RAM อยู การใชงานหนวยความจําใน PLC - RAM จะใชเก็บโปรแกรมและขอมูลที่ทํางานจากการสั่ง RUN/STOP PLC - ROM จะใชจัดเก็บซอฟตแวรระบบ (System Software) และเปนชุดสํารอง โปรแกรมและขอมูล (Backup Program and Data) เพื่อปองกันกรณีที่โปรแกรมและขอมูลใน RAM หายไป ผูใ ชสามารถที่จะถายโปรแกรมและขอมูลเขาไปที่ RAM ใหมได 1.5.3 ภาคอินพุต (Input Unit) ภาคอินพุตของ PLC ทําหนาที่รบั สัญญาณอินพุตเขามาแปลงสัญญาณ สงเขาไป ภายใน PLC อุปกรณอนิ พุต (Input Device) ตางๆ ที่นํามาตอกับภาคอินพุตไดนนั้ สามารถแสดง ตัวอยางไดตามรูปที่แสดงดังนี้ - 15 - บทที่ 1 แนะนําใหรูจัก PLC PNSPO รูปที่ 1.12 แสดงอุปกรณอินพุตตางๆ อุปกรณที่สามารถนํามาตอกับภาคอินพุต PLC ไดจัดออกเปนกลุมๆ ดังรูปที่ 1.12 โดยกลุมอุปกรณแตละกลุมจะมีวิธีตอวงจรเขาภาคอินพุต PLC แตกตางกันออกไป เวลาใชงาน อุปกรณแตละกลุม จําเปนตองศึกษาขอมูลเพิ่มเติมของอุปกรณแตละชนิดกอน เพื่อความเขาใจ ขั้นตอนการทํางาน และสามารถตอวงจรไดถูกตอง อุปกรณที่นํามาตอกับภาคอินพุตของ PLC อุปกรณบางกลุมจะมีสัญญาณทั้ง อินพุต/เอาตพุต เชน Inverter, Digital Signal, Controller, ตัวควบคุมอุณหภูมิ, เซนเซอรรุนพิเศษ เปนตน จําเปนตองตอใชงานใหถูกตอง ซึ่งสามารถแนะนําไดในขั้นตนคือ ตอวงจรภาคเอาตพุตของ อุปกรณนั้นๆ เขากับภาคอินพุต PLC ภาคเอาตพตุ ของอุปกรณจะมีเอาตพตุ ใหเลือกใชงานหลายแบบ ซึง่ ภาคอินพุต PLC มีวงจรภาคอินพุตอยูหลายแบบเชนกัน เพื่อรองรับอุปกรณอินพุตในแตละแบบใหเหมาะสม - 16 - บทที่ 1 แนะนําใหรูจัก PLC PNSPO • วงจรภาคอินพุต (Input Circuit PLC) วงจรภาคอินพุตแบงออกเปน 2 ประเภทใหญๆ คือ 1) ดิจติ อลอินพุต (Digital Input) 2) อนาลอกอินพุต (Analog Input) 1) ดิจติ อลอินพุต (Digital Input Type) ดิจติ อลอินพุต หมายถึง อินพุตที่รบั รูสัญญาณไดเพียงแค “ON” หรือ “OFF” เทานั้น ตามโครงสรางจะมีดจิ ติ อลอินพุต 2 แบบคือ 1.1) วงจรอินพุตไฟตรง (DC Input) 1.2) วงจรอินพุตไฟสลับ (AC Input) 1.1) วงจรอินพุตไฟตรง (DC Input) จะใชอปุ กรณที่ทาํ งานดวย แรงดันไฟฟากระแสตรงตัวอยางวงจรอินพุตไฟตรงแสดงดังรูปที่ 1.13 รูปที่ 1.13 วงจรอินพุตแบบ DC หมายเหตุ : คาความตานทาน R1 และ R2 ดูไดจากคูมือของ PLC รุนนั้นๆ จากรูปที่ 1.13 ภาคอินพุตจะใชวงจรลดทอนแรงดันแลวขับออป โตทรานซิสเตอร จากออปโตทรานซิสเตอรก็จะไปขับภาคอินพุตของ IC เพื่อสงสัญญาณไปให CPU อีกทีหนึ่ง ซึ่งการใชอุปกรณประเภทออปโต (Opto) ทําใหระบบ PLC สามารถแยกสัญญาณกราวด (Ground) ของภาค อินพุตออกจากวงจรภายในได สําหรับวงจรภาคอินพุตดังรูปที่ 1.13 สามารถสรุปคุณสมบัติไดดังตารางที่ 1.2 - 17 - บทที่ 1 แนะนําใหรูจัก PLC PNSPO ตารางที่ 1.2 ตัวอยางคุณสมบัติภาคอินพุต (DC) แรงดันอินพุต อินพุตอิมซีแดนซ กระแสอินพุต แรงดันอินพุตขณะทํางาน เวลาตอบสนองอินพุต คุณสมบัติ 24 VDC+10%/+15% (26.4V-18V) 2 kΩ 12 mA “ON” 14.4 VDC min. “OFF” 5.0 VDC max. “ON Delay”: 8 mS max. “OFF Delay”: 8 mS max. สามารถปรับคาไดตั้งแต 1,2,4,8,16,32,64,128 mS โดยใชโหมด PC Setup สําหรับวงจรภาคอินพุตดังรูปที่ 1.13 จะพบวา ภาคอินพุตของออปโต ทรานซิส- เตอรมไี ดโอด (Diode) ตอสลับขั้วกันอยู เพื่อเวลาใชงาน สามารถเลือกตอวงจรได 2 แบบ ดังรูปที่ 1.14 ก . การตออินพุตแบบ Source ข. การตออินพุตแบบ Sink รูปที่ 1.14 การตอวงจรอินพุตแบบ DC Source/Sink - 18 - บทที่ 1 แนะนําใหรูจัก PLC PNSPO 1.2) วงจรอินพุตไฟสลับ (AC Input) ใชไฟสลับผานแรงดันทําใหไมมี ปญหาเรื่องแรงดันตกครอมในสายมากเกินไปเหมือนวงจรอินพุต ไฟตรงโดยที่ผานแรงดันอินพุตตั้งแต 100-220 VAC สําหรับ PLC บางรุนก็จะแบงอินพุตแบบนี้ออกเปน 2 ยานคือ 100-120 และ 200240 VAC ลักษณะวงจรอินพุตแสดงดังรูปที่ 1.15 รูปที่ 1.15 วงจรอินพุตแบบ AC คุณสมบัติของวงจรอินพุตไฟสลับทั้งแรงดันอินพุตระบบไฟ 110V หรือ 220V ดังแสดงตารางที่ 1.3 ตารางที่ 1.3 คุณสมบัตภิ าคอินพุต (AC) คุณสมบัติ แรงดันอินพุต อินพุตอิมซีแดนซ กระแสอินพุต แรงดันอินพุตขณะทํางาน เวลาตอบสนองอินพุต 100-120 VAC+10%/+15% 50/60Hz 200-240 VAC+10%/+15% 50/60Hz 2 kΩ (50Hz), 17 kΩ (60 Hz) 38 kΩ (50Hz), 32 kΩ (60 Hz) 5 mA (at 100 VAC) “ON” 60 VAC min. “OFF” 20 VAC max. “ON Delay”: 35 mS max. “OFF Delay”: 55 mS max. 6 mA (at 200 VAC) “ON” 150 VAC min. “OFF” 40 VAC max. ลักษณะการตอวงจรใชงานสําหรับภาคอินพุตแบบ AC จะมีลกั ษณะการ ตอดังรูปที่ 1.16 รูปที่ 1.16 การตอวงจรอินพุตแบบ AC - 19 - บทที่ 1 แนะนําใหรูจัก PLC PNSPO 2) อนาลอกอินพุต (Analog Input Type) อนาลอกอินพุตจัดเปนอินพุตที่สามารถรับสัญญาณที่บอกเปนปริมาณที่ เปลี่ยนแปลงคาไดเชน 0-10 VDC, ±10 VDC 1-5 V และ 4-20 mA ดังรูปที่ 1.17 ก. สัญญาณขนาด ±10 VDC ข. สัญญาณขนาด 0-10 VDC ค. สัญญาณขนาด 1-5 V (4-20 mA) รูปที่ 1.17 สัญญาณแบบตางๆ ที่สง ใหอนาลอกอินพุต - 20 - บทที่ 1 แนะนําใหรูจัก PLC PNSPO สัญญาณอนาลอกทั้ง 3 แบบ จัดเปนขนาดสัญญาณมาตรฐานที่กาํ หนดไวใช ในอุตสาหกรรม ดังนั้นอุปกรณที่มภี าคเอาตพตุ เปนแบบอนาลอกเชน อนาลอก เซนเซอร, ภาคอนาลอกเอาตพตุ ของ Digital Signal Controller, Temperature Controller เปนตน ก็จะมีขนาดของสัญญาณตามมาตรฐานเชนกัน ซึง่ ตัวอุปกรณอาจจะมีเอาตพตุ แบบใดแบบหนึ่งหรือทั้ง 3 แบบเลยก็ได ดังนัน้ ภาค อนาลอกอินพุตของ PLC ก็ตองสามารถเลือกตรวจสอบไดทั้ง 3แบบเชนกัน หลักการทํางานของอนาลอกอินพุตของ PLC นําคาที่วดั ไดแปลงเปนสัญญาณ ดิจติ อล สามารถแสดงไดดังไดอะแกรมรูปที่ 1.18 รูปที่ 1.18 ไดอะแกรมการสงขอมูลอนาลอกให PLC อุปกรณที่วดั คาออกมาเปนปริมาณอนาลอกสวนมากเปนการวัดระยะทาง, วัดความเร็ว, วัดอุณหภูม,ิ วัดปริมาณแสง, วัดความดันเปนตน แลวแปลงคาเปน สัญญาณทางไฟฟาออกมา ดังนั้นเวลาที่อุปกรณเหลานี้วดั คาออกมาเปนอนาลอก คาใดๆ ผูใ ชจาํ เปนตองทําตารางเปรียบเทียบคาดวย เพือ่ ที่จะกําหนดขนาดขอมูล ใหกับ PLC ใหควบคุมตามที่ตองการ วงจรภาคอินพุตแบบอนาลอกของ PLC จะมี ลักษณะวงจรตามรูปที่ 1.19 รูปที่ 1.19 วงจรอนาลอกอินพุตของ PLC - 21 - บทที่ 1 แนะนําใหรูจัก PLC PNSPO 1.5.4 ภาคเอาตพุต (Output Unit) ภาคเอาตพตุ ของ PLC ทําหนาที่สงสัญญาณออกไปขับโหลดชนิดตางๆ ตามเงื่อนไขทีไ่ ดโปรแกรมเอาไว ชนิดของโหลดที่สามารถนํามาตอกับภาคเอาตพตุ สามารถแยก ออกเปนกลุมไดดงั นี้ รูปที่ 1.20 กลุมอุปกรณที่ตอกับภาคเอาตพตุ PLC จากรูปที่ 1.20 กลุมอุปกรณตางๆ ที่ตอกับภาคเอาตพุต PLC นั้น ในแตละกลุมก็จะ ควบคุมลักษณะของงานแตกตางกันไปตามคุณสมบัติของอุปกรณนนั้ ๆ การตอวงจรเขาภาคเอาตพุต PLC จะมีมาตรฐานทางอุตสาหกรรมกํากับอยูเชนกัน จึงทําใหผใู ชไมตองใชอปุ กรณเสริมมาก เพียงแตดรู ายละเอียดการตอใหเขาใจก็เพียงพอแลว - 22 - บทที่ 1 แนะนําใหรูจัก PLC PNSPO ชนิดเอาตพตุ ของ PLC จะมีใหเลือกใชอยู 2 ลักษณะเชนเดียวกับภาคอินพุตคือ 1) ดิจติ อลเอาตพตุ (Digital Output) 2) อนาลอกเอาตพุต (Analog Output) 1) ดิจติ อลเอาตพตุ (Digital Output) อุปกรณที่สามารถสั่งการทํางานไดเพียง “ON” หรือ “OFF” จัดวาเปนการ ควบคุมแบบดิจิตอลเอาตพตุ โดยมีชนิดของเอาตพตุ ใหเลือกใช 3 แบบคือ 1-1) เอาตพตุ ชนิด “Relay Contact Output” 1-2) เอาตพตุ ชนิด “Transistor Output” 1-3) เอาตพตุ ชนิด “Solid State Relay: SSR Output” 1-1) เอาตพุตชนิดรีเลย “Relay Contact Output” เอาตพุตชนิดรีเลยสามารถ นําเอาตพตุ ไปขับโหลด ACหรือ DC ก็ได ลักษณะวงจรดังรูปที่ 1.21 รูปที่ 1.21 วงจรเอาตพตุ แบบรีเลย การเปด/ปดหนาสัมผัสของรีเลยจะอาศัยหลักการทํางานของสนามแมเหล็ก ดังนั้นเวลาที่นาํ หนาสัมผัสรีเลยไปใชงานจึงเปรียบไดเสมือนสวิตชควบคุมแบบ NO หรือ NC จึงสามารถที่จะใชหนาสัมผัสไปควบคุมโหลดไดทงั้ ชนิด AC หรือ DC ซึ่งขอพิจารณาในการเลือกใชตอ งพิจารณาความสามารถทนกระแสและ แรงดันไดสูงสุดเทาไร ปกติแลวภาคเอาตพตุ ของ PLC ที่ เลือกเปนชนิดรีเลย เอาตพุตทนกระแสใชงานตามปกติได 2A จึงไมเหมาะที่จะนําไปขับโหลด AC หรือ DC ที่มกี ระแสสูงกวา 2A คุณสมบัติตางๆ ของภาคเอาตพุตชนิดรีเลย แสดง ไวในตารางที่ 1.4 กรณีโหลดทีใ่ ชงานมีกระแสกระชากสูงกวา 2A มากๆ ไมควรใชเอาตพุตรีเลย ตอกับโหลดนัน้ ๆ โดยตรง ควรตอผานรีเลยบัพเฟอรที่สามารถทนกระแสไดดีกวา - 23 - บทที่ 1 แนะนําใหรูจัก PLC PNSPO ตารางที่ 1.4 คุณสมบัตภิ าคเอาตพตุ ชนิดรีเลย รายละเอียด อัตราทนการทํางานสูงสุด (Max. switching capacity) คุณสมบัติ 2 A/250 VAC (COSφ = 1) 2 A/24 VDC อัตราทนการทํางานต่ําสุด (Min. switching capacity) 10 mA/5 VDC Resistance Load 300,000 ครั้ง ระบบไฟฟา อายุการใชงาน Inductive Load 100,000 ครั้ง (Relay Service Life) ระบบกลไก (Mechanical) 10 ลานครั้ง Switching Rate 30 ครั้งตอนาที เวลาตอบสนอง OFF Delay 15 mS (max) ON Delay 15 mS (max) อายุการใชงานจะขึ้นอยูกับขนาดโหลดทีใ่ ชตอกับเอาตพตุ ชนิดรีเลยไป ควบคุม จากตารางโหลดที่เปนขดลวด (Inductive Load) จะทําใหอายุการใชงาน รีเลยสนั้ กวาโหลดจําพวกหลอดไฟถึง 3 เทา สวนในเรื่องเวลาตอบสนองตาม คุณสมบัตภิ าคเอาตพตุ แบบรีเลย จะตอบสนองคําสั่งชาที่สุด เมื่อเปรียบเทียบกับ ภาคเอาตพตุ แบบอื่นๆ พิกดั การเปด/ปดวงจร(Switching Rate) นอกจากอายุการใชงานของเอาตพตุ แบบรีเลยจะขึ้นอยูกบั ขนาดของโหลดแลว ความถี่ในการเปด/ปดวงจรโหลดเปนพิกัดอีกตัวหนึ่งที่สง ผลตออายุการใชงาน โดยปกติแลวไมควร เปด/ปดวงจรโหลดเกินกวา 30 ครั้งตอนาที ถาจําเปนตองเปด/ปดวงจรบอยครั้ง ควรใชเอาตพุต ทรานซิสเตอรจะเหมาะสมกวา วงจรปองกันหนาคอนแทค ในการใชงานเอาตพตุ รีเลยใหมอี ายุการใชงานที่ยาวนานขึ้นควรตอวงจรปองกัน หนาคอนแทคเขากับรีเลย เพือ่ ลด Noise และปองกันการสรางกรด Nitric และ Carbide ซึง่ จะเกิดขึ้น ขณะที่หนาคอนแทคเปดวงจร การใชวงจรปองกันจะชวยลดผลกระทบดังกลาวได ตารางขางลาง แสดงตัวอยางการตอวงจรปองกัน เวลาเราใชเอาตพตุ รีเลยตัด/ตอโหลดประเภท Inductive เชน Solenoid valve จะทําใหเกิดการอารค (Are) ขึน้ ที่หนาคอนแทค ถาสภาพแวดลอมมีความชื้นสูงจะ สงผลทําใหเกิดกรด Nitric ซึ่งจะทําใหรเี ลยทํางานผิดปกติได ดังนัน้ ควรใชอปุ กรณลด Surge เพื่อ ลดปญหาดังกลาว - 24 - บทที่ 1 แนะนําใหรูจัก PLC PNSPO • ตัวอยาง Surge Suppressors Diode + Zener diode type Diode type CR type ตัวอยางวงจร ไฟที่ใชได คุณลักษณะ การเลือกอุปกรณ AC DC * OK อิมพีแดนซของโหลดตองนอย คา C และ R ที่เหมาะสมคือ C (OK) กวาวงจร RC เมื่อใชรเี ลยกับ = 0.1-0.5 uF ตอกระแส Switching 1A และ R=0.5-1 แรงดันไฟ AC โอมห ตอแรงดัน Switching OK OK เวลาในการตัดวงจรจะชาลงถา 1V อยางไรก็ตามคานี้อาจไม เปนคาคงที่เหมาะสมเสมอไป โหลดเปน Inductive เชน Solenoid Valve วงจรนี้จะใช ทั้งนี้ขึ้นอยูกับโหลดและ งานไดผลดีถา ตอครอมโหลด คุณสมบัตขิ องรีเลย การเลือก C ควรใหมีคา dielectric เมื่อใชแรงดันเปน 24-48 V และตอครอมหนาคอนแทค ถา strength 200-300 V ถาใชกับ แรงดันไฟ AC และเปน แรงดันเปน 100-240 V Capacitor ชนิด AC NG OK พลังงานสะสมอยูที่ Coil ของ ควรใช Diode ที่มี Reverse โหลด Inductive จะสรางเปน breakdown voltage เปน 10 กระแสไฟฟาไหลผาน Diode เทาของแรงดันใชงาน ที่ตอ ครอมอยูกับ Coil นั้น วงจรนี้จะมีผลทําใหเวลาการ ตัดวงจรนานกวาแบบ RC Breakdown voltage ของ NG OK วงจรนี้จะทํางานดีกวาแบบ Diode ในงานบางประเภทแต Zener diode ควรเทากับ แรงดันใชงาน เวลาตัดวงจรจะนานมาก Varistor type OK OK วงจรนี้จะปองกันแรงดันสูงที่ เกิดขึ้นที่หนาคอนแทคเนื่อง จาก Varistor มีคุณสมบัติรักษา แรงดันใหคงที่ วงจรนี้จะใช งานไดผลดีถา ตอครอมโหลด เมื่อใชแรงดันเปน 24-48 V และตอครอมหนาคอนแทคถา แรงดันเปน100-240 V - 25 - Cutoff voltage (Vc) ตอง เปนไปตามเงื่อนไขตอไปนี้ Contact dielectric strength > Vc > Supply voltage (กรณี ไฟ AC ใหคูณ 2 ของคาที่ได) บทที่ 1 แนะนําใหรูจัก PLC PNSPO โหลดความตานทานและโหลดอินดักทีฟ ความสามารถในการเปด/ปด (Switching power) ของโหลด Inductive จะต่ํากวา โหลดความตานทาน เนื่องจากมีพลังงานแมเหล็กไฟฟาสะสมในคอลยของโหลดอินดักทีฟ ตาราง ขางลางแสดงกระแสกระชาก (Inrush) ที่เกิดจากโหลดประเภทตาง ๆ โหลด AC กับ Inrush Current ประเภทโหลด อัตรากระแสกระชากตอ กระแสไฟในภาวะปกติ Solenoid ประมาณ 10 Incandescent bulb ประมาณ 10 - 15 Motor ประมาณ 5 - 10 Relay ประมาณ 2 - 3 Capacitor ประมาณ 20 - 50 Resistive load 1 รูปคลื่น 1-2) เอาตพุตชนิดทรานซิสเตอร (Transistor Output) เอาตพุตแบบ ทรานซิสเตอร มีใหเลือกใชอยู 2 ประเภทคือ • เอาตพตุ ทรานซิสเตอรแบบ NPN • เอาตพตุ ทรานซิสเตอรแบบ PNP • เอาตพุตทรานซิสเตอรแบบ NPN มีลักษณะวงจรดังรูปที่ 1.22 รูปที่ 1.22 วงจรภายในเอาตพตุ ทรานซิสเตอรแบบ NPN - 26 - บทที่ 1 แนะนําใหรูจัก PLC PNSPO จากวงจรภายในจะใชออปโตทรานซิสเตอรผลิตสัญญาณขับทรานซิสเตอรQ1 โดย Q1 จะทําหนาที่ขับโหลดอีกที วงจรลักษณะนี้ทําใหวงจรภายในแยกสัญญาณกราวนดออกจากวงจร ภาคเอาตพตุ ไดสว นลักษณะการตอวงจรใชงานนั้นสามารถตอใชงานขับโหลดไดเฉพาะ DC เทานั้น ดังรูปที่ 1.23 รูปที่ 1.23 การตอใชงานเอาตพตุ ทรานซิสเตอรแบบ NPN การตอขับโหลดดังรูปที่ 1.23 เปนการตอแบบซิงค (Sink type) คือดึงกระแสเขาสู ภาคเอาตพุต ดังนั้นทรานซิสเตอรตองทนกระแสซิงคได เพื่อปองกันไมใหทรานซิสเตอรพังที่ขา อิมิเตอร Q1 เขียนวา COM (COMMON) เนื่องจากวาเวลานําภาคเอาตพตุ แบบนี้ไปใชงานจริงจะมี วงจรลักษณะนี้ตอ อยูหลายชุดเชน 8, 16, 32 ชุดเปนตน วงจรใชงานจริงก็จะตอขาอิมิเตอรรวมกัน แลวดึงออกมาเปนขาที่เขียนวา “COM” นัน่ เองและที่ขวั้ +V ก็ตอรวมเชนกัน คุณสมบัติสวนตางๆ ของภาคเอาตพตุ ทรานซิสเตอรแบบ NPN นี้ สามารถดูราย ละเอียดไดดงั ตารางที่ 1.4 ตารางที่ 1.4 คุณสมบัตภิ าคเอาตพตุ ทรานซิสเตอรแบบ NPN รายละเอียด แหลงจายไฟ +V อัตราทนการทํางานสูงสุด (Max. switching capacity) กระแสรั่วไหล (Leakage Current) แรงดันไฟฟา (Residual Voltage) เวลาตอบสนอง OFF Delay ON Delay คุณสมบัติ 5-24 VDC (40mA min) ±10% (2.5 mA X จํานวนบิตที่ “ON”) 50 mA ที่แรงดัน 4.5 V - 300 mA ทีแ่ รงดัน 26.4 V 0.1 mA (สูงสุด) 0.8 VDC (สูงสุด) 0.1 mS (สูงสุด) 0.4 mS (สูงสุด) - 27 - บทที่ 1 แนะนําใหรูจัก PLC PNSPO อัตราทนการทํางานสูงสุด (Max. Switching Capacity) จัดเปนตัวแปรที่ตองคํานึงถึงเวลานําไปใชงาน เพราะวาภาคเอาตพุต PLC เวลาที่ ผลิตออกมาใชงาน จะมีวงจรทรานซิสเตอรมากกวา 1 ชุดเสมอ เชน 8, 16 ชุด ทําใหตองพิจารณา กระแสที่สามารถจะขับโหลดไดพรอมกันทุกชุดของเอาตพตุ ดวย ดังรูปที่ 1.24 ก. กระแสขับโหลดตอเอาตพตุ 1 ชุด ข. กระแสขับโหลดที่เอาตพุต 16 ชุด รูปที่ 1.24 กราฟกระแส (IC) ขับโหลด จากกราฟจะพบวาถาขับโหลดทีละชุดไมพรอมกัน สามารถที่จะขับโหลดไดถึง 300 mA ที่แรงดัน 24 VDC ได แตเมื่อขับโหลดพรอมกันทั้งหมด 16 ชุด ก็จะทําใหจายกระแส (IC) ไดเพียง 4.8 mA ตอ 1 โหลด ดังนั้นเวลาใชภาคเอาตพตุ แบบทรานซิสเตอร ถึงแมวาสามารถตอบ สนองโหลดไดเร็วกวารีเลยแตมีขอจํากัดในเรื่องกระแส สวนใหญจะใชภาคเอาตพตุ ทรานซิสเตอร ขับโหลดวงจรอิเล็กทรอนิคสแบบตางๆ เชน 7-Seg Display, Digital Controller, Servo Driver เปน ตน • ภาคเอาตพุตทรานซิสเตอรแบบ PNP มีลักษณะวงจรดังรูปที่ 1.25 รูปที่ 1.25 วงจรภายในเอาตพตุ ทรานซิสเตอรแบบ PNP - 28 - บทที่ 1 แนะนําใหรูจัก PLC PNSPO ลักษณะวงจรคลายวงจรของเอาตพตุ ทรานซิสเตอรแบบ NPN เพียงแตเปลี่ยนวงจร สวน Q1 เทานั้น ลักษณะการตอวงจรสามารถตอไดดังรูปที่ 1.26 รูปที่ 1.26 การตอใชงานเอาตพตุ ทรานซิสเตอรแบบ PNP ตอวงจรโดยขั้วที่เขียนวา COM ของภาคเอาตพุต ใหตอไฟบวก (+V) ขา 0V ตอกับ ไฟ 0V และขา OUT ตอกับโหลด การตอวงจรลักษณะแบบนี้เปนการตอแบบซอรส (Source type) โดยที่ ทรานซิสเตอร Q1 ตองทนกระแสที่จะจายใหโหลดได เราอาจจะเรียกวา กระแสซอรส (I source) คุณสมบัตขิ องวงจรเอาตพตุ แบบนี้แสดงไวดังตารางที่ 1.6 ตารางที่ 1.6 คุณสมบัตภิ าคเอาตพตุ ทรานซิสเตอรแบบ PNP รายละเอียด แหลงจายไฟขา +V (COM) คุณสมบัติ 5-24 VDC (60mA min) ±10% (3.5 mA X จํานวนบิตที่ “ON”) 50 mA ทีแ่ รงดัน 4.5 V - 300 mA ทีแ่ รงดัน 26.4 V 0.1 mA (สูงสุด) 0.8 V (สูงสุด) 0.1 mS (สูงสุด) 0.4 mS (สูงสุด) อัตราทนการทํางานสูงสุด (Max. switching capacity) กระแสรั่วไหล (Leakage Current) แรงดันไฟฟา (Residual Voltage) OFF Delay เวลาตอบสนอง ON Delay ภาคเอาตพุตทรานซิสเตอรแบบ PNP จะมีคุณสมบัติในเรื่องอัตราทนการทํางาน สูงสุด (Max switching capacity) เหมือนกับภาคเอาตพุตทรานซิสเตอรแบบ NPN ซึ่งดูไดจากรูปที่ 1.24 เชนกัน - 29 - บทที่ 1 แนะนําใหรูจัก PLC PNSPO 1-3) เอาตพุตชนิดโซลิตสเตรทรีเลย (Solid State Relay: SSR) เอาตพุตประเภทนี้ จะนํามาใชควบคุมโหลด AC ที่ตองการควบคุมความเร็วในการตอบสนองที่ดีกวาใชเอาตพุตแบบ รีเลย อุปกรณภาคเอาตพตุ ที่ใชจะใชไตรแอดเปนสวิตชควบคุมโหลด ลักษณะวงจรเอาตพุตแบบ SSR นี้ แสดงไวดงั รูปที่ 1.27 รูปที่ 1.27 วงจรภายในเอาตพตุ โซลิตสเตรทรีเลย คุณสมบัติของไตรแอดจะทําใหสามารถควบคุมโหลด AC ไดทั้งซีกบวกและซีก ลบของรูปคลื่นไซน (Sine wave) สวนวงจรทริกเกอรทําหนาที่กระตุนไตรแอดใหทํางานสอดคลอง กับรูปคลื่นไซน อยางนอยก็เปนการปองกันไตรแอดไดระดับหนึ่ง การตอวงจรเอาตพุตแบบ SSR สามารถตอใชงานไดดงั รูปที่ 1.28 รูปที่ 1.28 การตอใชงานเอาตพุต SSR ลักษณะการตอวงจรโหลดกับภาคเอาตพุต SSR จะตอในลักษณะอนุกรมกันโดย ขาขางหนึ่งของโหลดตอกับขา OUT อีกขางตอเขากับแหลงจายไฟสลับ สวนขาอีกขางหนึ่งคือขา COM นําไปตอกับขั้วแหลงจายไฟสลับอีกขาง คุณสมบัติของเอาตพุต SSR ดูไดจากตารางที่ 1.7 - 30 - บทที่ 1 แนะนําใหรูจัก PLC PNSPO ตารางที่ 1.7 คุณสมบัตภิ าคเอาตพตุ แบบโซลิตสเตรทรีเลย (SSR) รายละเอียด อัตราทนการทํางานสูงสุด (Max. switching capacity) กระแสรั่วไหล (Leakage Current) คุณสมบัติ 100-240 VAC (0.4A) 1 mA (สูงสุด) ที่ 100 VAC 2 mA (สูงสุด) ที่ 200 VAC 1.5 V (สูงสุด) (0.4A) 6 mS (สูงสุด) ½ cycle + 5 mS (สูงสุด) แรงดันไฟฟา (Residual Voltage) เวลาตอบสนอง OFF Delay ON Delay • อนาลอกเอาตพุต (Analog Output) ภาคเอาตพตุ ของ PLC แบบอนาลอกเปนการเพิ่มความสามารถให PLC สง สัญญาณควบคุมเชิงปริมาณได คาที่จะสงออกไปก็จดั เปนคาสัญญาณมาตรฐานเหมือนภาคอินพุต แบบอนาลอกคือ สัญญาณ 0-10 VDC, ±10 VDC และ 1-5 V (4-20mA) ลักษณะกราฟภาคเอาตพตุ ที่จะสงสัญญาณออกไปเหมือนกับกราฟอนาลอกอินพุตดังรูปที่ 1.17 การสงสัญญาณของอนาลอก เอาตพตุ จะสงสัญญาณ 2 แบบคือ แรงดันและกระแส การตอสายสัญญาณเพื่อเลือกสัญญาณเปน กระแสหรือแรงดันของภาคเอาตพตุ อนาลอกจะมีสัญญาณกํากับขัว้ ไว สามารถแยกการตอได 2 ลักษณะดังรูปที่ 1.29 ก. สงสัญญาณแบบแรงดัน (Voltage Output) ข. สงสัญญาณแบบกระแส (Current Output) รูปที่ 1.29 สงสัญญาณแบบกระแส/แรงดันของอนาลอกเอาตพุต - 31 - บทที่ 1 แนะนําใหรูจัก PLC PNSPO วิธีการสังเกตขั้วตอสายของอนาลอกเอาตพุต จะมีสัญลักษณแยกไววาเปนของ อนาลอกเอาตพตุ ชนิดใด ดังรูปที่ 1.30 หมายเหตุ : ตั้งแตขั้ว A4-A8/B4-B8 วาง รูปที่ 1.30 ตําแหนงขั้วอนาลอกเอาตพุต 1.5.5 ภาคแหลงจายพลังงาน (Power Supply Unit) ภาคแหลงจายพลังงาน จะทําหนาที่จายพลังงานใหกับอุปกรณภายใน PLC ไดแก อุปกรณไอซี, ไฟเลี้ยงวงจรกําหนดการทํางานแบบตางๆ เปนตน นอกจากนี้ยังจายพลังงานเลี้ยง วงจรที่จะนํามาตอกับ PLC ทั้งภาคอินพุต/เอาตพุต ไดอะแกรมของแหลงจายพลังงานเขียน ไดอะแกรมไดดงั รูปที่ 1.31 รูปที่ 1.31 ไดอะแกรมภาคแหลงจายไฟ PLC - 32 - บทที่ 1 แนะนําใหรูจัก PLC PNSPO แหลงจายพลังงานของ PLC จะแบงออกเปน 2 ชุด ชุดหนึ่งสําหรับอุปกรณและวงจรภายใน แตละโมดูลตางๆ ของ PLC อีกชุดหนึ่งเปนตัวจายพลังงาน (Service Unit 24VDC) 24VDC สําหรับ การตอวงจรภาคอินพุตหรือเอาตพุตก็ได โดยปกติแลวชุดบริการ 24VDC ชุดนี้จะจายกระแสได คอนขางต่ํา ไมเหมาะสําหรับนําไปจายโหลดที่ดึงกระแสสูง สวนมากจะนําไปตอใชงานเฉพาะวงจร ภาคอินพุต PLC เทานั้น แตถาจะนําไปตอสําหรับทดสอบเครื่อง PLC หรือชุดฝกทดลอง ก็ไม จําเปนตองใชแหลงจายภายนอกเพิ่ม ยกตัวอยางเชน ชุดฝกทดลอง PLC ของออมรอน เปนตน สําหรับการใชงานจริง แหลงจายจะถูกออกแบบมา 2 ลักษณะ ตามโครงสรางภายนอก PLC คือ แหลงจายชนิดที่รวมอยูในตัว PLC เลย เชน CP1L จะมีชุดจายพลังงานในตัวเพียงแคปอนไฟ ใหกับ CP1L มันจะจัดสรรพลังงานใหกับอุปกรณตางๆ บนตัว PLC อีกชนิดหนึ่งจะแยกออกมาเปน โมดูล (Module) ลักษณะดังรูปที่ 1.32 รูปที่ 1.32 แหลงจายไฟชนิดโมดูล โดยปกติแลวแหลงจายพลังงานที่ผลิตออกมาสําหรับขายทัว่ โลก จะออกแบบใหใชระบบ ไฟไดหลายแบบ เพื่อที่จะทําให PLC ใชควบคุมระบบไฟฟาไดหลายแบบนั่นเอง คุณสมบัติของ แหลงจายไฟของ PLC จะมีคณ ุ สมบัติดังนี้ แหลงจายไฟ: 100-240 VAC 50/60 Hz หรือ 24 VDC ชุดบริการ 24 VDC: 24 V (0.5A) สวนการเลือกขนาดวัตตจะคํานวณจากโมดูลตางๆ ของ PLC ที่ใชงานซึง่ ผูผลิตไดออกแบบ เผื่อไวใหเรียบรอยแลว - 33 - บทที่ 2 การติดตั้งและออกแบบระบบ กอนที่จะเริ่มตนเขียนโปรแกรมกันคงหนีไมพน การติดตัง้ ระบบ PLC ในบทนี้จะแนะนํา วิธีการและขอควรระวังตางๆ ในการติดตัง้ ระบบ PLC ที่ถูกตองเพื่อใหระบบมีเสถียรภาพในการ ทํางานและยืดอายุการใชงาน นอกจากนั้นจะกลาวถึงขั้นตอนการออกแบบระบบควบคุมอีกดวย 2.1 การติดตั้ง PLC ผูติดตั้งควรอานคูมอื ของ PLC แตละรุนเพือ่ การติดตั้งที่ถูกตอง ในหนังสือเลมนี้จะกลาวถึง หลักการทั่วๆ ไปที่ควรระวัง โดยยกตัวอยาง PLC รุน CP1 เปนอุปกรณอางอิง 2.1.1 สภาพแวดลอมในการติดตัง้ ไมควรติดตั้ง PLC ในสภาวะแวดลอมดังตอไปนี้ ไมควรติดตั้ง PLC ในสถานที่ที่มีอุณหภูมแิ ละความชืน้ เกินกวาคาพิกดั ที่ กําหนดไว หลีกเลี่ยงบริเวณที่มีฝุนมากและมีกรดเกลือ หรือสารเคมี เชน คอลไลด ไมควรติดตั้งใกลสายสงไฟกําลังและบริเวณที่มสี นามไฟฟาและคลื่นวิทยุที่มี กําลังแรง เชน อินเวอรเตอร เปนตน ไมควรติดตั้ง PLC ในลักษณะตามรูปที่ 2.1 -34- PNSPO!! ! บทที่ 2 การติดตั้งและออกแบบระบบ รูปที่ 2.1 แสดงทิศทางในการติดตั้งที่ไมถกู ตอง 2.1.2 การติดตั้งในตูค วบคุม ควรจัดใหมกี ารไหลเวียนของอากาศที่เพียงพอในการระบายความรอน และอยา ติดตั้งอุปกรณที่กําเนิดความรอนใกล PLC (เชน Heater และ Transformer) ถาอุณหภูมิแวดลอมสูง กวา 55oC ควรติดตั้งพัดลมหรือเครื่องปรับอากาศเพือ่ ระบายความรอน ดังแสดงตัวอยางในรูป ขางลางนี้ -35- PNSPO!! ! บทที่ 2 การติดตั้งและออกแบบระบบ 2.1.3 การลดปญหาจาก Noise และกระแส Spike 2.1.3.1 Noise จากอุปกรณแรงดันสูง ควรหลีกเลี่ยงการติดตั้ง PLC ในตูควบคุมที่มีอุปกรณแรงดันสูงติดตั้งอยู และพยายามรักษาระยะหางของ PLC จากสายสงกําลังอยางนอย 200 มม. 2.1.3.2 กระแสสไปก (Spike) จากเครื่องเชื่อมไฟฟา สไปก (Spike) คือ แรงดันหรือกระแสไฟฟาที่สูงอยางมหาศาลและเกิดขึ้น อยางเฉียบพลัน ซึง่ อาจเกิดจากฟาผา แตมอี ปุ กรณชนิดหนึ่งที่สามารถสรางความเสียหายใหอปุ กรณ ควบคุมอีเล็กทรอนิกส เชน พีแอลซีและเซนเซอร อุปกรณนนั้ ก็คือ เครื่องเชื่อมไฟฟา โดยปกติอุปกรณควบคุมอิเล็กทรอนิกสจะตอกราวดเขากับโครงของ เครื่องจักรหรือตูควบคุม เมื่อเราใชเครื่องเชื่อมไฟฟากับสวนที่เปนโลหะซึ่งเปนทางเดินของระบบ กราวดนี้อาจทําใหกระแสสไปก (Spike current) ที่เกิดจากเครื่องเชื่อมไหลผานโลหะตางๆ เหลานี้ เขาสูอปุ กรณควบคุมอิเล็กทรอนิกสซึ่งสงผลใหอุปกรณดงั กลาวเสียหายได บอยครั้งที่เราพบวา PLC เกิดความเสียหายจากกรณีดังกลาว เพราะมีพนักงานบางทานใชเชื่อมไฟฟาทีห่ นางาน แตอาจ ไมเกิดขึ้นทุกครั้งเสมอไป เพราะอาจมีปจจัยอื่นมาเกีย่ วของดวย เชนกระแสสไปกอาจไหลสูกราวด กอนมาถึงอุปกรณควบคุมอีเล็กทรอนิกส -36- PNSPO!! ! บทที่ 2 การติดตั้งและออกแบบระบบ วิธกี ารลดปญหาดังกลาว อาจทําไดโดย - ถอดระบบกราวดของ PLC หรืออุปกรณควบคุมเปนการชั่วคราว หรือ ติดตั้งตูควบคุมหลังจากติดตัง้ อุปกรณทางกลและเครื่องจักรแลว - ควรหลีกเลีย่ งการเชื่อมใกลอุปกรณควบคุมและพยายามวางสายกราวด ของเครื่องเชื่อมใหใกลจุดเชือ่ มใหมากที่สดุ และยึดใหแนน เพื่อใหกระแสสไปกกลับสูกราวดได สะดวก 2.1.3.3 Noise จาก AC Drive Noise จาก AC Drive จะกอใหเกิดสัญญาณรบกวนความถี่วิทยุ Radio Frequency Interference (RFI) ในชวง 0.5 MHz ถึง 1.7 MHz และสราง Electromagnetic Interference Frequencies (EMI) ในชวง 1.7 MHz ถึง 30 MHz ความถี่สูงเหลานี้เกิดจากการทํางาน ของชุด PWM ซึง่ เกิดจากการลัดวงจรชั่วขณะของ IGBT นอกจากนั้น EMI ยังเกิดไดจาก Harmonics ซึ่งเกิดขึ้นจาก “Reflected wave” ที่มเี หตุมาจาก Capacitive ของสายมอเตอรทยี่ าวและมี ผลตออิมพีแดนซที่ไมสอดคลองกันของสายมอเตอรกับขดลวดมอเตอร รวมๆ แลวเราเรียก EMI/ RFI นี้วา Electrical Noise Noise ที่เกิดขึน้ อาจยอนกลับจาก AC Drive สูแหลงจายไฟ (Power line) และสงผลกระทบกับอุปกรณอื่นๆ เชน พีแอลซีและเซนเซอร เปนตน EMI/RFI จะแพรกระจายไปตามตัวมอเตอรสูสายมอเตอรและอาจกระจาย สูกราวด จากนั้น EMI/RFI จะพยายามแผกระจายกลับไปยังแหลงจายไฟตนกําลังทีจ่ ายให AC Drive หรือ Inverter ซึง่ เสนทางการยอนกลับนี้อาจผานทางระบบกราวดเขาไปถึงจุดตอ WYE ที่ ขดลวดทุตยิ ภูมิของหมอแปลง ดังแสดงไดในรูป -37- PNSPO!! ! บทที่ 2 การติดตั้งและออกแบบระบบ เสนทางการไหลกลับเขาสูแหลงจายไฟกําลังของ EMI/RFI ตามทอรอยสายและ อุปกรณตา งๆ ของระบบกราวด ทําใหเกิด “Voltage Gradient” ซึ่งสงผลกระทบกับอุปกรณควบคุม ตางๆ โดยเราจะเห็นไดวาการกราวดของระบบอาจประกอบดวยมอเตอร โครงตูตางๆ ทอรอยสาย เหล็กโครงสราง เชน I-beam ทอน้ํา ดังนั้น EMI/RFI และ “Voltage Gradient” ทีเ่ กิดขึน้ จะแพร กระจายไปตามอุปกรณตา งๆ เหลานั้น ทําใหเกิดปญหากับอุปกรณควบคุมตางๆ ที่อยูตามเสนทาง ของมัน การลดผลกระทบของ Noise จากที่ไดกลาวมาขางตน Noise จะแพรกระจายไปทั่วกับอุปกรณทเี่ ปนโลหะของ ระบบกราวด ซึง่ การแกไขปญหาทําไดคอนขางยาก เราขอแนะนําวิธกี ารลดปญหาของ Noise ทีเ่ กิด จาก Inverter ดังนี้ 1. การใช Noise Filter การใส Noise Filter ที่ดา นอินพุตของ Inverter จะชวยลดผลกระทบของ Noise ที่จะถูกสงยอนกลับไปที่แหลงจายไฟ แตควรเลือก Noise Filter ที่ออกแบบหรือขนาดที่เหมาะสม กับ Inverter นัน้ ๆ ดังแสดงไดในรูป นอกจากนั้นเรายังสามารถลด Noise ที่เกิดขึ้นจาก “Reflecter Waves” จากมอเตอร โดยการใส Noise Filter ที่ดานเอาตพตุ ของ Inverter ถาจําเปน ดังแสดงไดในรูป แตในกรณีจะใช เมื่อสายมอเตอรมคี วามยาวมาก -38- PNSPO!! ! บทที่ 2 การติดตั้งและออกแบบระบบ 2. การลดความถี่ Carrier Frequency ใน Inverter จะมีชุด PWM ทําหนาที่ควบคุม IGBT เพื่อจายไฟใหมอเตอร ซึ่ง เราสามารถปรับเปลี่ยนความถี่ของชุด PWM ไดและเรียกความถี่นวี้ า Carrier Frequency การลด ความถี่นี้ลงอาจชวยลด Noise ที่เกิดขึ้นได 3. การแกปญหาของสายสัญญาณ การลด Noise ของสายสัญญาณ (Signal Circuit) อาจทําไดโดยใชสาย Shielded และ Ferrite core ที่ปลายทั้งสองดาน โดยปกติจะกราวด Shielded เขากับแหลงจายไฟ สัญญาณเพียงดานเดียว นอกจากนัน้ เราควรแยกสายสัญญาณออกจากสายสงกําลังและกราวดทเี่ ปน เสนทางเดินของ Noise 2.1.4 การเดินสายสําหรับแหลงจายไฟ - AC Power Supply ในกรณีที่ระบบ PLC ที่ใชงานตองการแหลงจายไฟ AC ควรติดตั้ง Isolated Transformer หรือ Noise Filter เพิ่มเติมที่ดานอินพุตของแหลงจายไฟ ดังแสดงในรูปที่ 2.2 เนื่องจาก Transformer มีหลักการทํางานดวยการเหนีย่ วนําสนามแมเหล็กไฟฟาที่เกิดจากขดลวด ดาน Primary และสรางใหเกิดแรงดันไฟฟาขึ้นที่ดาน Secondary โดยไมมกี ารตอถึงกันทางไฟฟา ดวยหลักการนีเ้ มื่อเกิดการกระชากของแรงดันหรือกระแสไฟฟาที่ดาน Primary จะสงผลกระทบไป ยังดาน Secondary นอยกวาการตอถึงกันโดยตรง เนือ่ งจากแกนเหล็กของ Transformer เกิดการ อิม่ ตัว รูปที่ 2.2 แสดงการติดตั้งแหลงจายไฟ AC -39- PNSPO!! ! บทที่ 2 การติดตั้งและออกแบบระบบ - DC Power Supply ในกรณีที่ระบบ PLC ที่ใชงานตองการแหลงจายไฟ DC ซึง่ สวนใหญแลวจะใช ไฟ 24VDC ดังนั้นจึงใช Switching Power Supply เพื่อจายไฟใหกับ PLC เราไมขอแนะนําใหใช หมอแปลงแลวตอกับไดโอดเพื่อทําเปนวงจรจายไฟ DC ใหกับ PLC เพราะไฟ DC ทีไ่ ดจะไมเรียบ พอ ซึง่ อาจสงผลตอการทํางานของ PLC ได แตมีผใู ชงานบางทานทีใ่ ชอยูเราขอแนะนําใหเปลีย่ น ดีกวา เพราะ PLC ราคาคอนขางแพงจะพังเพราะแหลงจายไฟที่ทําเองไดนะครับ 2.1.5 การเดินสายอยางปลอดภัยและลดปญหาสัญญาณรบกวน - การเดินสายสัญญาณอินพุต/เอาตพุต ควรเดินสายสัญญาณอินพุต/เอาตพตุ แยกออกจากสายไฟกําลังไมวาจะเปนภายใน หรือภายนอกตูควบคุมโดยการแยกทอหรือรางที่ใชเดินสาย ทั้งนี้เพือ่ ปองกัน Noise ทีเ่ กิดจาก สายไฟกําลังซึง่ อาจจะสงผลใหอุปกรณอินพุต/เอาตพตุ และ PLC เกิดความเสียหายได รูปที่ 2.3 แสดงการสายไฟทีแ่ ยกทอและราง การเดินสายแบบแบงกลุม จะเปนอีกวิธีหนึ่งที่ชวยลดปญหา Noise ทีเ่ กิดขึ้นใน ระบบได ในรูปขางลางนี้แสดงการแบงกลุม หรือประเภทของสายตัวนํา โดยทั่วไปสายตัวนํากลุม 1 ไมควรเดินรวมกับสายตัวนํากลุมอื่น ควรเดินสายแยกทอหรือแยกรางออกจากกัน -40- PNSPO!! ! บทที่ 2 การติดตั้งและออกแบบระบบ - การเดินสายเอาตพุต Inductive เอาตพุต Inductive ที่พบบอยคือ Solenoid Valve โดยเฉพาะวาลวไฮดรอริคที่ใช กระแสไฟสูงเมื่อเริ่มทํางานเพื่อสั่งใหลิ้นวาลวเคลื่อนที่ ยิง่ ใชงานไปนานๆ ลิน้ วาลวจะเริ่มติดขัด ทําใหเคลื่อนทีไ่ มสะดวกเหมือนของใหมจะยิ่งทําใหเอาตพตุ ตองรับกระแสกระชากทีส่ งู เปนเวลา นานกวาปกติ เมื่อใชงานไปนานๆ จะทําใหหนาสัมผัสของรีเลยเสียหายเร็วกวาปกติ ควรติดตั้ง วงจร Suppressor หรือ Diode ตอครอมที่โหลด เพื่อชวยลดกระแสกระชากที่เกิดขึ้นจากโหลด Inductive ดังแสดงในรูปขางลางนี้ รูปที่ 2.4 วงจรลดปญหา Surge คุณสมบัตขิ อง Suppressor ที่ใช คือ R = 50 Ω และ C = 0.47μF, 200 V คุณสมบัตขิ อง Diode ที่ใช คือ Breakdown voltage: 3 เทาของแรงดันโหลดต่ําสุด Mean rectification current: 1 A -41- PNSPO!! ! บทที่ 2 การติดตั้งและออกแบบระบบ 2.1.6 การติดตั้งแบตเตอรรี่ สวนใหญแลว PLC จะมีแบตเตอรรี่ทําหนาที่สํารองขอมูล เชน DM, Timer และ HR เปนตน แตไมไดทําหนาที่สํารองโปรแกรมแลดเดอร ดังนั้นเมื่อไฟดับ PLC จะเก็บคาขอมูล ลาสุดของ DM ไว ทํานองเดียวกันถาแบตเตอรรหี่ มดโปรแกรมจะไมหายเพราะเก็บอยูใน Flash memory แตขอมูลใน DM จะหาย 2.1.7 อายุการใชงานของแบตเตอรรี่ แบตเตอรรจี่ ะมีอายุการใชงานประมาณ 5 ปเมื่อใชงานทีอ่ ุณหภูมิ 25oC แตถา ใชใน สภาวะที่มีอณ ุ หภูมิสงู กวาปกติคาอายุการใชงานจะอางอิงตามกราฟขางลางนี้ ดังนั้นควรเปลี่ยน แบตเตอรรี่ทุกๆ 5 ป เพื่อปองกันการเสือ่ มคุณภาพของแบตเตอรรี่ ซึ่งอาจทําใหเกิดกรดขึน้ และ ทําลายแผนวงจรอีเล็กทรอนิกสของ PLC ได ถาถึงขั้นนี้คงซอมไมไวแนๆ ครับ ขัน้ ตอนการเปลี่ยนแบตเตอรรี่ 1. ปดแหลงจายไฟของ PLC แตถา PLC ไมมีไฟจายให เปดไฟจายให PLC อยางนอย 5 นาทีหลังจากนั้นให ปดไฟ 2. เปดสวนที่เก็บแบตเตอรรี่ (ดูไดจากคูมือ) จากนั้นใหดึง กอนแบตเตอรรอี่ อกดวยความระมัดระวัง 3. ถอดคอนเน็กเตอรของแบตเตอรรอี่ อก 4. ตอแบตเตอรรใี่ หมเขาไปแลวดันกอนแบตเตอรรี่เขาที่ แลวปดฝาครอบ -42- PNSPO!! ! บทที่ 2 การติดตั้งและออกแบบระบบ 2.2 การออกแบบระบบ เราขอยกตัวอยางประกอบการออกแบบระบบควบคุมดังตัวอยางตอไปนี้ ซึ่งเปนระบบ ควบคุมการเปดปดประตู(Shutter Control System) ของที่จอดรถยนต สวนรูปขางลางนี้แสดงให เห็น Workflow ในการออกแบบระบบควบคุม รูปที่ 2.5 แสดงWorkflow การออกแบบระบบ -43- PNSPO!! ! บทที่ 2 การติดตั้งและออกแบบระบบ รูปที่ 2.6 Shutter Control System 2.3 ขัน้ ตอนการทํางาน ขั้นตอนการทํางานสําหรับการใช CP1L เพื่อควบคุมการเปดปดประตูแสดงไดตาม Workflow ในรูปที่ 2.5 สวนรูปที่ 2.6 แสดงการทํางานของ Shutter Control การทํางานของระบบ Shutter Control • เมื่อเซนเซอรตรวจจับไดวา มีแสงไฟหนารถเปนเวลา 5 วินาที ประตูจะเปดออก • ประตูสามารถเปด ปด และ หยุดดวยการกดสวิตช • เมื่อเซนเซอรตรวจจับวามีรถเขาจอดในโรงรถแลวประตูจะปด • เมื่อตองการเอารถออกจากโรงจอดรถใหใชการกดสวิตช อุปกรณตา งๆ ในระบบ PLC • CP1L (14 I/O) อุปกรณการเขียนโปรแกรม • CX-programmer • Computer • สาย USB อินพุต • Shutter OPEN button : PB1 • Shutter STOP button : PB2 • Shutter CLOSE button : PB3 • Car detection sensor : SEN1 -44- PNSPO!! ! บทที่ 2 การติดตั้งและออกแบบระบบ • Headlight detection sensor : SEN2 • Limit switch, จะ ON เมื่อ shutter เปดสุด : LS1 • Limit switch, จะ ON เมื่อ shutter ปดสุด : LS2 เอาตพุต • คอนแทคสั่งให shutter motor เปด : MO1 • คอนแทคสั่งให shutter motor ปด : MO2 รูปที่ 2.7 แสดงรายละเอียดอุปกรณ การจัดสรรอินพุต/เอาตพุต สําหรับ Shutter control ในขั้นตอนนี้จะทําการจัดสรร I/O ใหกับอุปกรณตางๆ ดังนี้ อินพุต Device OPEN button STOP button CLOSE button Care detection sensor Light detection sensor Upper limit LS Lower limit LS Contact PB1 PB2 PB3 SEN1 SEN2 LS1 LS2 Address 0.00 0.01 0.02 0.03 0.04 0.05 0.06 เอาตพุต Device Escalation motor De-escalation motor Contact MO1 MO2 -45- Address 100.00 100.01 PNSPO!! ! บทที่ 2 การติดตั้งและออกแบบระบบ รูปที่ 2.8 แสดงแอดเดรสที่จดั สรร การจัดสรร I/O ของ CP1L (รุน 14 I/O) จากรูปขางลางนี้แสดงการจัดตําแหนงอินพุตเอาตพตุ ของ CP1L ขนาด 14 I/O ซึง่ อินพุตจะ เริ่มตน word ที่ ‘0’ สวนเอาตพตุ จะเริ่มตน word ที่ ‘100’ รูปที่ 2.9 การจัดตําแหนง I/O และเทอรมนิ อล การเขียนแลดเดอรโปรแกรม ตอไปเปนขั้นตอนที่สําคัญเพราะวาตองใชความคิดและความรูพนื้ ฐานเกี่ยวกับคําสั่งของ PLC จึงจะสามารถเขียนโปรแกรมได ซึ่งจะกลาวถึงวิธกี ารเขียนโปรแกรมและคําสัง่ ตางๆ ของ พีแอลซีในลําดับตอไป -46- PNSPO!! ! บทที่ 2 การติดตั้งและออกแบบระบบ รูปที่ 2.10 ตัวอยางแลดเดอรไดอแกรม -47- บทที่ 3 ความรูพนื้ ฐานทางดานดิจติ อล เนื่องจากพื้นฐานของ PLC นัน้ มาจากการทํางานของวงจรรีเลย ซึ่งมีสภาวะการทํางานแบบ ลอจิก (0 และ 1) ซึง่ ก็คอื คาทางดิจิตอลนัน่ เอง ดังนั้นกอนการใชงาน PLC จะตองมีความรูพื้นฐาน ในเรื่องของเลขฐานและวิธีการแปลงเลขฐานกอน เพื่อจะเขาใจการทํางานที่แทจริงและสามารถใช งาน PLC ไดดี 3.1 ระบบเลขฐาน (Number System) ระบบเลขฐาน จัดเปนระบบตัวเลขที่ใชงานอยูใน PLC ในบทนี้จะยกตัวอยางเฉพาะการใช งานระบบเลขฐานสอง, เลขฐานสิบ และเลขฐานสิบหกเทานั้น • ระบบเลขฐานสอง (Binary: BIN) มีตวั เลขที่ไมซ้ํากันอยูทั้งหมด 2 ตัว คือ 0 และ 1 • ระบบเลขฐาน BCD (Binary Code Decimal: BCD) มีตวั เลขที่ไมซา้ํ กันอยูทงั้ หมด 10 ตัว คือ 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 หรือเรียกอีกอยางหนึ่งวา BCD code • ระบบเลขฐานสิบหก (Hexadecimal: HEX) มีตัวเลขที่ไมซ้ํากันอยูทงั้ หมด 16 ตัว คือ 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 A B C D E F (ตัวอักษร 6 ตัว แทน ตัวเลข 10 –15) ความสัมพันธของเลข BIN, BCD และ HEX สามารถกําหนดใหเปนตารางไดดังตารางที่2.1 -48- บทที่ 3 ความรูพื้นฐานทางดานดิจิตอล PNSPO ตารางที่ 3.1 แสดงความสัมพันธของเลขฐานตางๆ HEX BCD 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 A B C D E F 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 - หมายเหตุ FOUR DIGIT BINARY 3 22 = 4 0 0 0 0 1 1 1 1 0 0 0 0 1 1 1 1 2 =8 0 0 0 0 0 0 0 0 1 1 1 1 1 1 1 1 BIN (Binary) BCD (Binary Code Decimal) HEX (Hexadecimal) = = = 21 = 2 0 0 1 1 0 0 1 1 0 0 1 1 0 0 1 1 ระบบเลขฐานสอง ระบบเลขฐาน BCD ระบบเลขฐานสิบหก ตัวอยางที่ 3.1 การเปลี่ยนเลขฐานสิบหก(HEX)ใหเปนเลขฐานสอง (BIN) โดยใชตารางที่ 2.1 วิธีทํา แปลงเลข 2F61 ฐานสิบหกใหเปนเลขฐานสอง 2 F 6 1 เลขฐานสิบหก เลขฐานสอง 0010 1111 - 49 - 0110 0001 20 = 1 0 1 0 1 0 1 0 1 0 1 0 1 0 1 0 1 บทที่ 3 ความรูพื้นฐานทางดานดิจิตอล PNSPO 3.2 การแปลงเลขฐาน 3.2.1 การแปลงเลขฐานสองใหเปนเลขฐานสิบ ตัวอยางที่ 3.2 ขอมูลซึ่งอยูในระบบเลขฐานสองขนาด 16 บิต มีคา 0000 0000 1001 0110 ถาจะ เปลี่ยนเปนเลขฐานสิบ จะมีคา เทาใด วิธีทํา 15 14 0 0 13 0 12 11 10 0 0 0 9 8 0 0 215 214 213 212 211 210 29 7 1 6 0 28 27 5 0 26 4 1 3 0 25 24 2 1 1 1 23 22 0 ฐานสอง 0 21 Bit 20 Weight ในฐานสิบ 32768 16384 8192 4096 2048 1024 512 256 0 0 0 0 0 0 0 128 64 0 128 0 ขอมูล 0000 0000 1001 01102 32 16 8 4 2 0 16 0 4 2 = = 1 128 + 16 + 4 + 2 15010 ตอบ 3.2.2 การแปลงเลขฐานสิบใหเปนเลขฐานสอง ตัวอยางที่ 3.3 ตองการเปลี่ยนเลขฐานสิบ 1,750 ใหเปนเลขฐานสอง ขนาด 16 บิต จะไดคา เทาใด วิธีทํา 215 214 213 212 211 210 29 28 27 26 25 24 23 22 21 20 Weight ในฐานสิบ Weight 32768 16384 8192 4096 2048 1024 512 256 128 0 0 0 0 64 32 0 1024 512 0 128 64 0 175010 = = 16 16 8 4 2 1 0 4 2 0 1024 + 512 + 128 + 64 + 16 + 4 + 2 0000 0110 1101 01102 - 50 - บทที่ 3 ความรูพื้นฐานทางดานดิจิตอล PNSPO สอง 3.2.3 การแปลงเลขฐานสองเปนเลขฐานสิบหก และการแปลงเลขฐานสิบหกเปนเลขฐาน • การแปลงเลขฐานสองใหเปนเลขฐานสิบหก จะกระทําไดโดยแปลงเลขฐานสอง ทีละ 4 บิตเปนเลขฐานสิบหก 1 หลัก • ถาตองการแปลงเลขฐานสองขนาด 16 บิต ใหเปนฐานสิบหก ตองแบงเลขฐาน สองเปน 4 กลุม กลุมละ4 บิต โดยแตละกลุมจะแทนไดดวยเลขฐานสิบหก 1 หลัก (1 ดิจิต) หลักที่ 4 หลักที่ 3 1 0 0 0 15 14 13 หลักที่ 2 0 1 หลักที่ 0 A 0 0 0 0 1 0 1 12 11 10 9 8 7 6 5 เลขฐาน สิบหก F 0 4 1 1 1 3 2 1 0 1 เลขฐาน สอง 0001 0000 1010 11112 = 10AF16 • เชนเดียวกับการแปลงเลขฐานสิบหกเปนเลขฐานสอง เราจะแปลงเลขสิบหก 1 หลักเปนเลขฐานสอง 4 บิต เชน 0001 0000 1010 11112=10AF1 3.3 การบวกและลบเลขฐาน 3.3.1 การบวกเลขฐานสอง เลขฐานสองมีความตางกันของคาน้ําหนัก (Weight) ของเลข ฐานสองในแตละหลักที่อยูถดั กันเทากับ 2 23 22 21 20 0 1 1 0 + 0 1 0 1 1 0 1 1 3.3.2 การบวกเลขฐานสิบหก เลขฐานสิบหกมีความตางกันของคาน้ําหนัก (Weight) ของ เลขฐานสิบหกในแตละหลักที่อยูถัดกันเทากับ 16 163 162 161 160 0 4 B 6 + 0 C 6 4 1 1 1 A - 51 - บทที่ 3 ความรูพื้นฐานทางดานดิจิตอล PNSPO 3.3.3 การลบเลขฐานสอง เลขฐานสองมีความตางกันของคาน้ําหนัก (Weight) ของเลข ฐาน สองในแตละหลักที่อยูถัดกันเทากับ 2 ดังนั้นในการลบของเลขฐานสองแตละหลักนั้น หากตัวตั้งมี คานอยกวาตัวลบ จะตองยืมคาจากหลักถัดไปครั้งละ 2 23 22 21 20 1 1 1 0 - 0 1 0 1 1 0 0 1 3.3.4 การลบเลขฐานสิบหก เลขฐานสองมีความตางกันของคาน้ําหนัก (Weight) ของเลข ฐานสองในแตละหลักที่อยูถดั กันเทากับ 16 ดังนั้นในการลบของเลขฐานสิบหกแตละหลักนัน้ หาก ตัวตั้งมีคานอยกวาตัวลบ จะตองยืมคาจากหลักถัดไปครัง้ ละ16 163 162 161 160 1 4 B 6 - 0 C 6 4 0 8 5 2 3.4 ประเภทของขอมูล ขอมูลภายใน PLC จะมีคาํ จํากัดความที่เรียกกันคือ บิต (Bit), ไบต (Byte), เวิรด (Word) หลักการเรียกและความหมายของแตละคํามีดังนี้ 15 14 13 12 11 10 9 8 7 6 5 4 3 2 1 0 เรียกวา ขอมูลขนาด 16 บิต หรือ 1 เวิรด หรือ 1 Channel ก็ได 1 ดิจิต = 4 บิต = 1 ดิจิต 1 ไบต = 8 บิต = 1 ไบต 1 เวิรด = 16 บิต = 1 เวิรด - 52 - บทที่ 3 ความรูพื้นฐานทางดานดิจิตอล PNSPO ตัวอยางที่ 3.4 ขอมูลขนาด 256 กิโลบิต (kBits) จะสามารถเก็บขอมูลไดกี่กโิ ลไบต (kBytes) วิธีทํา 8 บิต = 1 ไบต 256 กิโลบิต = 256 x 1000 = 32,000 ไบต 8 = 32 กิโลไบต ตัวอยางที่ 3.5 Data memory ขนาด 6 kWords ถาจะเปลี่ยนหนวยเปน kBytes จะไดเทาไร วิธีทํา 1 Word = 2 ไบต 6 kWord = 2 x 6 x 1000 = 12,000 ไบต = 12 กิโลไบต 3.5 หลักการพื้นฐานทางลอจิก PLC ทํางานดวยหลักการของ binary คือ เปนอยางใดอยางหนึ่งใน 2 สถานะ เชน สูงหรือต่ํา ปดหรือเปด, 0 หรือ 1 3.5.1 หลักการของ AND A B 0 0 0 1 1 0 1 1 3.5.2 หลักการของ OR A B 0 0 0 1 1 0 1 1 Y 0 0 0 1 A Y B Y 0 1 1 1 A B - 53 - Y บทที่ 3 ความรูพื้นฐานทางดานดิจิตอล PNSPO 3.5.3 หลักการของ NAND A B 0 0 0 1 1 0 1 1 Y 1 1 1 0 3.5.4 หลักการของ NOR A B 0 0 0 1 1 0 1 1 Y 1 0 0 0 A Y B A Y B 3.5.5 หลักการของ Exclusive OR A B Y 0 0 0 0 1 1 1 0 1 1 1 0 3.5.6 หลักการของ NOT A 0 1 A Y B Y 1 0 A - 54 - Y บทที่ 4 การอางแอสเดรสของ PLC การอางแอสเดรสของ PLC ถาเปรียบเทียบงายๆ คือ การเรียกชื่อตําแหนงของอุปกรณ อินพุต/เอาตพตุ ที่นํามาตอรวมกับ PLC และเปนการเรียกชื่อพื้นที่หนวยความจําใน PLC นัน่ เอง PLC แตละยี่หอ อาจมีชื่อเรียกที่แตกตางกันออกไป 4.1 โครงสรางของขอมูล ในแตละบิตของ Word (จํานวน 16 บิต) จะบรรจุขอมูลในเลขฐานสอง (0 หรือ 1) และเมื่อ แยกบิตทั้ง 16 บิตออกเปน 4 กลุมๆ ละ 4 บิต จะสามารถแสดงขอมูลของแตละ Word หรือ Channel ในรูปของเลขฐานสิบหก 4 หลักหรือที่เรียกวา 4 ดิจิต 3 2 1 ดิจิตที่ 0 15 14 13 12 11 10 9 8 7 6 5 4 3 2 1 0 0 0 1 0 1 1 1 0 0 1 0 0 0 1 1 0 บิตที่ ขอมูลในเลขฐานสอง รูปที่ 4.1 แสดงโครงสรางของขอมูลใน Word หรือ Channel ที่ 0 -55- บทที่ 4 การอางแอสเดรสของ PLC PNSPO! 4.2 การกําหนดเบอรของรีเลย (Relay) ใน PLC โดยปกติแลว PLC ของออมรอน จะกําหนดพื้นที่รเี ลย (Relay) เปน word หรือ Channel ซึ่ง แตละ Channel จะประกอบดวยขอมูลขนาด 16 บิต ในแตละบิตจะบรรจุขอมูลในเลขฐานสองคือ เลข 1 ซึง่ แทนสถานะ ON และเลข 0 ซึ่งแทนสถานะ OFF ดังตัวอยางขางลางนี้คือ เวิรด 000 ซึ่ง ประกอบดวย 16 บิตจากบิตที่ 00 ถึง บิตที่15 การอางถึงรีเลยแตละบิต เราจะแทนดวยเลข 5 หลัก สามหลักแรกเปนเวิรด (Word) หรือ Channel สวนสองหลักหลังเปนบิต (Bit) Internal Relay(IR) Word 000, หรือ Channel 000 15 14 13 12 11 10 9 8 7 6 5 4 3 2 1 0 บิตที่ 0 0 1 0 1 1 1 0 0 1 0 0 0 1 1 0 ขอมูลในเลขฐานสอง 000.06 000.15 สามหลักแรกหมายถึงเวิรด (เวิรดที่ 000) 000.00 สองหลักหลังหมายถึงบิต (บิตที่ 10 ของเวิรด 000) รูปที่ 4.2 แสดงการกําหนดเบอรรเี ลยของ PLC หมายเหตุ 1. ใน PLC บางรุนใชเปนตัวเลข 6 หลักโดย 4 หลักแรกเปนหมายเลข Channel สวน 2 หลักหลังเปนหมายเลขบิตเชน 0000.00 เปนตน 2. ในกรณีที่ทา นใชงาน Programming Console จะไมปรากฎจุดทศนิยมระหวาง หมายเลขเวิรด และบิตเชน เวิรด ที่ 0 บิตที่ 10 จะแสดงเปน 00010 3. ในกรณีที่ทา นใชงาน CX-Programmer หรือซอตฟแวรอื่น จะแสดงจุดทศนิยม ระหวางหมายเลขเวิรด และบิตเชนเวิรด ที่ 0 บิตที่ 10 จะแสดงเปน 000.10 ที่กลาวถึงขางตนเปนการอางถึงแตละบิตของรีเลยในสวนที่เรียกวา CIO หรือ Internal Relay (IR) ซึง่ ประกอบดวย Input Area, Output Area และ Work Area สําหรับ PLC รุนใหม เชน CP1 จะเพิ่มหนวยความจํา Work Area ขึ้นมาและมีตวั อักษรนําหนา W เชน W0.00 ซึ่งสามารถนํา ไปใชเปน Internal Relay ในการเขียนโปรแกรมได ในกรณีของรีเลยชนิดอื่นๆ ก็มกี ารกําหนดเบอรในลักษณะเดียวกัน เชน Holding Relay, Link Relay ดังตัวอยางตอไปนี้ - 56 - บทที่ 4 การอางแอสเดรสของ PLC PNSPO! HR 15.01 Holding Relay เวิรดที่ 15 บิตที่ 01 W 09.07 Work Area เวิรดที่ 9 บิตที่ 07 นอกจากพื้นที่หนวยความจําที่กลาวถึงแลว PLC ยังแบงพื้นที่หนวยความจําออกเปน สวนยอยๆ อีกหลายสวน สามารถแสดงรายละเอียดใหเห็นดังตารางที่ 4.1 4.3 ตารางแสดงขอกําหนดของพื้นที่ใชงานของ PLC ตารางที่ 4.1 พืน้ ที่หนวยความจําของ PLC (อางอิง CP1L) Data area CIO Input area area Output area Work area Work area DM (Data Memory ) HR area (Holding Relay) AR area (Auxiliary Relay) Timer Counter Words CIO 000 ถึง CIO 099 (100 words) CIO 100 ถึง CIO 199 (100 words) 3800 ถึง 6143 (2,344 words) W000 ถึง W511 (512 words) D00000 ถึง D32767 Bits 0.00 ถึง 099.15 (1,600 bits) 100.00 ถึง 199.15 (1,600 bits) 3800.00 ถึง 6143.15 (37,504 bits) W0.00 ถึง W511.15 (8192 bits) H000 ถึง H511 (512 words) A000 ถึง A959 (960 words) H0.00 ถึง H511.15 (8192 bits) A0.00 ถึง A959.15 (15,360 bits) Function บิตเหลานี้ถกู ใชตอ ไปยังขั้ว อินพุตเอาตพุต ภายนอก แตขนึ้ อยูกับรุนของ PLC ดวยวาใชกี่ บิต ดังนั้นบิตที่เหลือจะใชงานเปน Work Bits หรือ Internal relay ได Work Bits สามารถนําไปใชไดอยางอิสระ ภายในโปรแกรม บิตเหลานี้ใชเปน Work bit ใชเก็บขอมูล T000 ถึง T4095 C000 ถึง C4095 บิตเหลานี้ใชเก็บขอมูลและสถานะ ON/OFF ไวไดเมื่อเกิดไฟดับ บิตเหลานี้เปนบิตพิเศษภายในซึ่งมีหนาที่เฉพาะ อยางเชนใชเปน Flags หรือ Control bits ใชเปน Timers ใชเปน Counters - 57 - บทที่ 4 การอางแอสเดรสของ PLC PNSPO! 4.4 การระบุตําแหนงอินพุต/เอาตพุตของ PLC 4.4.1 การระบุตาํ แหนงอินพุต/เอาตพุตของ PLC ชนิดบล็อก (ยกตัวอยางรุน CP1L) สําหรับ PLC แบบ Block นัน้ ตําแหนงของอินพุต/เอาตพตุ นั้นจะแสดงหมายเลขไว ที่ PLC อยูแลวยกตัวอยางใหเห็นดังตอไปนี้ รูปที่ 4.3 แสดงตําแหนงของอินพุต/เอาตพตุ แตละขั้ว จากรูปที่ 4.3 แสดงตําแหนงของอินพุต/เอาตพตุ ของ PLC รุน CP1L-L20DR ซีง่ มีจํานวน 20 จุด เปนพื้นที่หนวยความจําในสวนของ CIO หรือ IR เชนในการเขียนโปรแกรม ถาตองการใชงานอินพุตที่ตออยูกับอินพุตของ PLC บิตที่ 0 เวลา อางตําแหนงจะกําหนดเปน 000.00 หมายถึงใช CIO เวิรด ที่ 0 บิตที่ 0 (วิธีการกําหนดตําแหนงดูได จากหัวขอ 4.2 การกําหนดเบอรรเี ลยของ CP1L) - 58 - บทที่ 4 การอางแอสเดรสของ PLC PNSPO! สําหรับ CP1L รุนอื่น สามารถดูไดจากตารางที่ 4.2 ซึ่งจะแสดงตําแหนงอินพุต/เอาตพุตที่ ตอรวมกับ Expansion I/O Unit ตารางที่ 4.2 ตารางแสดงจํานวนและตําแหนงอินพุต/เอาตพตุ บิตของ PLC รุน CP1L แตละ รุน เมื่อใชรวมกับ Expansion I/O Units (CP1W-20EDR1) รุน จํานวน I/O บนตัว CPU Expansion I/O Unit ตัวที่ 1 Expansion I/O Unit ตัวที่ 2 Expansion I/O Unit ตัวที่ 3 CP1L CP1L-L20 CP1L-M30 CP1L-M40 IN OUT IN OUT IN OUT 12 Points 000.00 000.11 8 Points 100.00 100.11 18 Points 000.00 000.11 12 Points 100.00 100.07 24 Points 000.00 000.11 16 Points 100.00 100.07 001.00 001.05 101.00 101.03 001.00 001.11 101.00 101.07 IN OUT IN OUT IN OUT 12 Points 002.00 002.11 8 Points 102.00 102.07 12 Points 002.00 002.11 8 Points 102.00 102.07 12 Points 002.00 002.11 8 Points 102.00 102.07 IN OUT IN OUT 12 Points 003.00 003.11 8 Points 103.00 103.07 12 Points 003.00 003.11 8 Points 103.00 103.07 IN OUT IN OUT 12 Points 004.00 004.11 8 Points 104.00 104.07 12 Points 004.00 004.11 8 Points 104.00 104.07 ไมสามารถตอได ไมสามารถตอได Expansion ตัวที่1 Expansion ตัวที่2 - CP1W-20EDR1 CPM1A-20EDT1 CP1W-20EDR1 CPM1A-20EDT1 CP1W-20EDR1 CPM1A-20EDT1 Expansion ตัวที่3 รูปที่ 4.4 แสดงการเชื่อมตอระหวาง CP1L กับ Expansion I/O Unit - 59 - ชือ่ รุน Expansion บทที่ 4 การอางแอสเดรสของ PLC PNSPO! 4.4.2 การระบุตาํ แหนงอินพุต/เอาตพุตของ PLC ชนิดโมดูล สําหรับ PLC ชนิดโมดูล ของ OMRON นัน้ แบงเปนหลายรุนไดแกรนุ CS1 และ CJ1 ซึง่ ทั้งสองรุนมีการอางแอดเดรสเหมือนกัน จะขอยกตัวอยางการอางแอสเดรสของแตละรุน ดังนี้ • การอางแอสเดรสของ PLC รุน CS1/CJ1 รูปที่ 4.5 ตัวอยางการอางแอสเดรสของ PLC รุน CS1/CJ1 การอางแอสเดรสของ PLC รุน CS1/CJ1จะอางตําแหนงตามการติดตัง้ ยูนติ อินพุต/เอาตพุต นั้น โดยไมสนใจวาจะติดตั้งที่ตําแหนงใด การนับแอสเดรสจะนับเรียงตอกันไปเรื่อยๆ ดังรูป* หมายเหตุ *การอางแอสเดรสของ PLC รุน CS1/CJ1 นัน้ กลาวถึงเฉพาะ Standard I/O Unit เทานั้น นอกจากนี้ยงั มี Special I/O Unit อื่นๆ ซึ่งมีการกําหนดแอสเสรสแตกตาง กันออกไป สามารถศึกษาเพิม่ เติมไดจาก PLC รุน นั้นๆ สําหรับเนื้อหาในบทตอไปเราจะกลาวถึงคําสั่งพื้นฐานตางๆ ที่มใี ชงานในการเขียน โปรแกรม PLC - 60 - บทที่ 5 หลักการเขียนแลดเดอรไดอะแกรม และคําสั่งพื้นฐาน แลดเดอรไดอะแกรม (Ladder Diagram) จัดเปนภาษาสัญลักษณที่เทียบเคียงมาจากวงจร รีเลย สามารถดูตามโครงสรางแลวเขาใจการทํางานได แตเวลาที่ PLC ทํางานจะอาศัยชุดคําสั่ง (Instructions) ทํางานโดยวิธีการเขียนลงในสวนหนวยความจําขอมูล ในหนวยความจํานั้นจะจัดเก็บ เปนรหัส (Code) ไมสามารถจัดเก็บในลักษณะของ Ladder Diagram ไดโดยตรง ดังนั้นผูใชจึงจําเปนตองเขาใจชุดคําสั่งเพราะชุดคําสั่งนั้นแปลงภาษามาจาก Ladder Diagram นั่นเอง 5.1 กลุมคําสั่งพื้นฐาน (Ladder Instruction & Output Control) 5.1.1 การใชคําสัง่ LOAD (LD), LOAD NOT (LD NOT) B B : BIT CIO,A,T,C,IR,DR,D,TK,H,W LOAD-LD B LOAD NOT-LD NOT พืน้ ที่หนวยความจําที่ใชกบั คําสั่งได -61- PNSPO!! ! ! !บทที่ 5 หลักการเขียนแลดเดอรไดอะแกรมและคําสั่งพื้นฐาน ! ตัวอยางที่ 5.1 ชุดคําสั่งและการเขียน Ladder Diagram คําสั่ง LD และ LD NOT I 0.00 Address 00000 00001 00002 00003 Instruction I 0.00 Instruction Instruction LD Instruction LD NOT Instruction Operands 0.00 0.00 การเขียน Mnemonic อางอิงมาจาก PLC รุน CP1L เขียนใน CX Programmer Version 7 และ ไมสามารถเขียนใน Programming Console ได 5.1.2 การใชคําสัง่ AND, AND NOT B B : BIT CIO,A,T,C,IR,DR,D,TK,H,W AND-AND B AND NOT-AND NOT พืน้ ที่หนวยความจําที่ใชกบั คําสั่งได *หลักการเขียน Ladder Diagram และคําสั่งพื้นฐาน อางอิงมาจาก PLC รุน CP1L* ตัวอยางที่ 5.2 ชุดคําสั่งและการเขียน Ladder Diagram คําสั่ง AND, AND NOT I 0.00 I 1.00 W 0.00 Instruction - 62 - ddress 00000 00001 00002 00003 Instruction LD AND NOT AND Instruction Operands 0.00 1.00 W 0.00 PNSPO!! ! ! ! !บทที่ 5 หลักการเขียนแลดเดอรไดอะแกรมและคําสั่งพื้นฐาน 5.1.3 การใชคําสัง่ OR, OR NOT OR-OR B OR NOT-OR NOT B B : BIT CIO,A,T,C,IR,DR,D,TK,H,W พืน้ ที่หนวยความจําที่ใชคาํ สั่งได ตัวอยางที่ 4.3 ชุดคําสั่งและการเขียน Ladder Diagram คําสั่ง OR, OR NOT I 0.00 Instruction I 1.00 W 0.00 Address 00000 00001 00002 00003 Instruction LD NOT OR NOT OR Instruction Operands 0.00 1.00 W 0.00 5.1.4 การใชคําสัง่ OUT, OUT NOT เปนคําสั่งที่สั่งขับให OUTPUT ภายนอกทํางานหรือไมทาํ งานตามคําสั่ง OUTPUT-OUT B : BIT CIO,A,T,C,IR,DR,D,TK,H,W B พืน้ ที่หนวยความจําที่ใชกบั คําสั่งได ตัวอยางที่ 5.4 รูปแบบชุดคําสั่งจาก Ladder Diagram I 0.00 Address Instruction 00000 LD 00001 OUT Q 100.00 - 63 - Operands 0.00 100.00 PNSPO!! ! ! ! OUTPUT NOT-OUT NOT: !บทที่ 5 หลักการเขียนแลดเดอรไดอะแกรมและคําสั่งพื้นฐาน การทํางานของคําสั่งนี้จะตรงกันขามกับคําสั่ง OUT B B : BIT CIO,A,T,C,IR,DR,D,TK,H,W พืน้ ที่หนวยความจําที่ใชกบั คําสั่งได ตัวอยางที่ 5.5 จงเขียนชุดคําสั่งจาก Ladder Diagram I 0.01 Address Instruction 00000 LD 00001 OUT NOT Q 100.00 Operands 0.01 100.00 5.1.5 การใชคําสัง่ END ( END 01 ) เมื่อสิ้นสุดการเขียนโปรแกรมแลวจะตองจบดวยคําสั่ง END(01) เสมอ ถาไมมี คําสั่งนี้ เมื่อผูใชสั่ง Run โปรแกรมที่เขียนขึน้ PLC จะเกิด Error โดยสังเกตที่ PLC ไฟ Error/Alarm สีแดงจะติดคาง นั่นแสดงวาไมมีคําสั่ง END (01) ในกรณีนี้โปรแกรมจะไมสามารถ RUN ได เพราะฉะนัน้ เมื่อเขียนโปรแกรมจบทุก ครั้งควรใสคําสั่ง END(01) ดวย การเขียนโปรแกรมดวย CX-Programmer ไมจําเปนตองใสคาํ สั่ง END(01) เพราะวาซอฟตแวรจะใสใหเองอัตโนมัติ 5.1.6 การใชคําสัง่ AND LOAD (AND LD), OR LOAD (OR LD) คําสั่งทั้งสองจะทําหนาทีเ่ ชื่อมตอกลุมแลดเดอรไดอะแกรม (Ladder Diagram) ใน กรณีที่ตออนุกรม หรือขนานกันมากกวา 1หนาสัมผัส ซึ่งการใชคําสั่ง AND หรือ OR นั้น จะกระทํา ทีละ 1 หนาสัมผัสเทานั้นจึงตองใช AND LD หรือ OR LD ในการเขียนแลดเดอรไดอะแกรม (Ladder Diagram) ดวยซอฟตแวรนั้น ไมมี สัญลักษณของ AND LD และ OR LD ดังนั้นคําสั่งทั้ง 2 คําสั่งนี้ตองเขียนเปน Mnemonic หรือ Instruction list เทานั้น - 64 - PNSPO!! ! ! ! !บทที่ 5 หลักการเขียนแลดเดอรไดอะแกรมและคําสั่งพื้นฐาน ตัวอยางที่ 5.6 ชุดคําสั่งในรูปการเชือ่ มแบบอนุกรมจะใชคาํ สั่ง AND LD I 0.00 I 0.02 Instruction I 0.01 I0.03 Address 00000 00001 00002 00003 00004 Instruction LD OR LD OR NOT AND LD Operands 0.00 0.01 0.02 0.03 ตัวอยางที่ 5.7 ชุดคําสั่งในรูปการเชือ่ มแบบขนานจะใชคําสั่ง OR LD I 0.00 I 0.02 Instruction I 0.01 I0.03 Address 00000 00001 00002 00003 00004 Instruction LD AND LD AND NOT OR LD Operands 0.00 0.02 0.01 0.03 --- ตัวอยางที่ 5.8 การเขียนโปรแกรมโดยใชคาํ สั่ง AND LD และ OR LD AND LD คือ การเชือ่ มโปรแกรม 2 block ในแบบอนุกรม I0.02 I0.04 I0.03 I0.05 Address 00000 00001 00002 00003 00004 00005 Q100.00 - 65 - Instruction Data LD 0.02 OR 0.03 LD 0.04 OR NOT 0.05 AND LD --OUT 100.00 PNSPO!! ! ! ! !บทที่ 5 หลักการเขียนแลดเดอรไดอะแกรมและคําสั่งพื้นฐาน OR LD คือ การเชือ่ มโปรแกรม 2 block ในแบบขนาน I0.02 I0.04 I0.03 Address Instruction Q100.01 00000 00001 00002 00003 00004 00005 I0.05 LD AND NOT LD AND OR LD OUT Data 0.02 0.03 0.04 0.05 --100.01 5.2 ขอกําหนดในการเขียนแลดเดอรไดอะแกรม (Ladder Diagram) 5.2.1 จากแลดเดอรไดอะแกรม (Ladder Diagram) ขางลาง จะไมสามารถเขียน โปรแกรมได จําเปนตองแปลงชุด Ladder Diagram กอน I 0.00 I 0.02 Q 100.00 I 0.01 I 0.04 I 0.03 Q 100.01 แลดเดอรไดอะแกรม (Ladder Diagram) ที่ผิด - 66 - PNSPO!! ! ! !บทที่ 5 หลักการเขียนแลดเดอรไดอะแกรมและคําสั่งพื้นฐาน ! สามารถเขียนใหมได และวงจรทํางานเหมือนเดิม คือ I 0.01 Q 100.00 I 0.04 I 0.02 I 0.04 I 0.03 Q 100.01 I 0.00 I 0.04 I 0.01 แลดเดอรไดอะแกรม (Ladder Diagram) ที่ถูก 5.2.2 สําหรับแลดเดอรไดอะแกรม (Ladder Diagram) จะพิจารณาการทํางานจากซายไป ขวาเทานั้น ดังตัวอยางเชน I 0.00 I 0.01 I 0.04 Q 100.00 I 0.02 I 0.03 Q 100.01 แลดเดอรไดอะแกรม (Ladder Diagram) A จากแลดเดอรไดอะแกรม (Ladder Diagram) A ถาหนาสัมผัส 0.00, 0.02 และ 0.03 มีสภาวะ “ON” ก็ไมสามารถทําให เอาตพุต 100.01 นั้น “ON” ไดเลย ดังนั้นผูใชจะตองทําการจัด โปรแกรมเสียใหมเพื่อใหการทํางานกระทําจากซายไปขวาดังรูปแลดเดอรไดอะแกรม B - 67 - PNSPO!! ! ! ! I 0.01 !บทที่ 5 หลักการเขียนแลดเดอรไดอะแกรมและคําสั่งพื้นฐาน I 0.02 I 0.04 Q 100.00 I 0.02 I 0.03 Q 100.01 I 0.00 I 0.00 I 0.01 แลดเดอรไดอะแกรม (Ladder Diagram) B 5.2.3 จํานวนหนาคอนแทคทั้ง NO และ NC ของอินพุต/เอาตพุต, รีเลยและไทมเมอร (TIM)/เคานเตอร (CNT) จะนํามาเขียนโปรแกรมเปนจํานวนเทาใดก็ไดตามความประสงคของผูใช แตถึงอยางไรก็ตามการเขียนโปรแกรมทีด่ ีจะตองพยายามประหยัดขนาดของโปรแกรมใหมากทีส่ ุด เทาที่จะสามารถทําได ซึง่ จะเปรียบเทียบใหเห็นในแลดเดอรไดอะแกรม (Ladder Diagram) A และ แลดเดอรไดอะแกรม (Ladder Diagram) B จะสังเกตเห็นไดวา การเขียนในแลดเดอรไดอะแกรม (Ladder Diagram) B จะประหยัดคําสั่งได 2 คําสั่ง ในขณะที่โปรแกรมทํางานไดเหมือนกัน Address Instruction Operands Q 100.00 I 0.00 I 0.01 00000 LD 0.00 00001 LD 0.01 I 0.02 I 0.03 00002 LD 0.02 00003 AND 0.03 00004 OR LD 00005 AND LD แลดเดอรไดอะแกรม (Ladder Diagram) A 00006 OUT 100.00 I 0.02 I 0.03 I 0.00 Address Instruction Operands 00000 LD 0.02 00001 AND 0.03 00002 OR 0.01 00003 AND 0.00 00004 OUT 100.00 Q 100.00 I 0.01 แลดเดอรไดอะแกรม (Ladder Diagram) B - 68 - PNSPO!! ! ! ! !บทที่ 5 หลักการเขียนแลดเดอรไดอะแกรมและคําสั่งพื้นฐาน 5.2.4 เมื่อตองการใหเอาตพุต ON ตลอดเวลาเราจะใชแฟลค (Flag) ทีเ่ ปนแบบ “Always ON Flag” (CF113) มาเปนตัวสรางเงื่อนไขเพราะไมสามารถตอคอยลเอาตพุตไดโดยตรงกับ Bus Bar แตก็มีขอ ยกเวนเปนบางคําสั่ง เชน INTERLOCK CLEAR, JUMP END และ STEP Q 100.00 OUT END(01) 100.00 LD OUT END(01) P_No 100.00 แลดเดอรไดอะแกรม (Ladder Diagram) ที่ผิด P_On Q 100.00 Always ON Flag แลดเดอรไดอะแกรม (Ladder Diagram) ที่ถูก 5.2.5 จํานวนหนาสัมผัสที่ใชในการตออนุกรม หรือขนานไมมีขดี จํากัดจะใชเทาใดก็ได ขึน้ อยูกับความตองการของผูใช 5.2.6 เอาตพตุ ทุกๆ ตัวจะมี Auxiliary Contact เพื่อใชงานในโปรแกรมได และสามารถ ใชจํานวนไมจาํ กัด 5.2.7 ไมสามารถเขียนโปรแกรมใหหนาสัมผัสอยูตําแหนงหลังจากคอยลได I0.00 Q 100.00 I0.01 แลดเดอรไดอะแกรม (Ladder Diagram) ที่ผิด I0.00 I0.01 Q 100.00 แลดเดอรไดอะแกรม (Ladder Diagram) ที่ถูก - 69 - PNSPO!! ! ! ! !บทที่ 5 หลักการเขียนแลดเดอรไดอะแกรมและคําสั่งพื้นฐาน 5.2.8 ไมสามารถเขียนโปรแกรมใหมเี อาตพตุ เบอรเดียวกันซ้ําหลายๆ ครั้งได ตองจัดรูป เสียใหม I 0.00 Q 100.00 I 0.01 Q 100.00 แลดเดอรไดอะแกรม (Ladder Diagram) ที่ผิด I 0.00 Q 100.00 I 0.01 แลดเดอรไดอะแกรม (Ladder Diagram) ที่ถูก 5.2.9 เอาตพุตคอยล สามารถเขียนโปรแกรมใหตอขนานไดเลย กรณีรับเงื่อนไขของ หนาสัมผัสชุดเดียวกัน I 0.00 I 0.01 Q 100.00 Q 100.01 5.2.10 PLC จะเริ่มประมวลผลโปรแกรมจาก Address แรกสุดจนกระทั่งถึงคําสั่ง END ตําแหนงแรก โดยที่คาํ สั่ง END อาจจะมีหลายตําแหนงในโปรแกรมที่เปนเชนนี้เพื่อจุดประสงค สําหรับการทดสอบโปรแกรม กรณีทตี่ องการแยกโปรแกรมออกเปนสวนๆ เพื่อใหงา ยตอการ ตรวจสอบและแกไขโปรแกรม - 70 - PNSPO!! ! ! ! !บทที่ 5 หลักการเขียนแลดเดอรไดอะแกรมและคําสั่งพื้นฐาน 5.3 กลุมคําสั่ง Program Control Instruction 5.3.1 การใชคําสัง่ IL(02), ILC(03) คําสั่ง IL และ ILC จะตองใชรว มกันคือ ถาเริ่มตนมีการใชคาํ สั่งดวย IL เมื่อใดแลว ถาตองการสิ้นสุดการทํางานตองจบดวย ILC เงื่อนไขของคําสั่งคือ คอนแทคตรงหนาสวนของ IL มี สภาวะ “ON” จะทําใหโปรแกรมที่อยูระหวาง IL และ ILC ทํางานเปนปกติ แตถา คอนแทคตําแหนง ดังกลาวมีสภาวะ “OFF” จะทําใหการทํางานของโปรแกรมระหวาง IL และ ILC ไมทาํ งาน ใน ขณะเดียวกัน Output Coil ในชวงนัน้ จะมีสภาวะ “OFF” ดวย ตัวอยางที่ 5.9 การใชคาํ สั่ง ชุดคําสั่ง Address 00000 00001 00002 00003 00004 00005 00006 00007 00008 00009 00010 Ladder Diagram I 0.02 I 0.03 I 0.04 IL(02) Q100.00 I 0.05 Q100.01 I 0.06 Q100.02 ILC(03) END(01) - 71 - Instruction LD IL (02) LD AND OUT LD OUT LD NOT OUT ILC(03) END(01) Data 0.02 0.03 0.04 100.00 0.05 100.01 0.06 100.02 - PNSPO!! ! ! ! !บทที่ 5 หลักการเขียนแลดเดอรไดอะแกรมและคําสั่งพื้นฐาน 5.3.2 การใชคําสัง่ JMP (04) และ JME (05) การใชงานของคําสั่งคูนจี้ ะตองใชงานคูกัน เงื่อนไขตางๆ ทีอ่ ยูระหวางคําสั่ง JMP และ JME จะมีเงื่อนไขการทํางานเปนปกติ ในกรณีทชี่ ุดของคอนแทคตรงสวนหนาของ JMP มี สภาวะเปน “ON” แตถาชุดคอนแทคดังกลาวมีสภาวะเปน “OFF” เมือ่ ใด Output, Timer, Counter, Keep ที่อยูระหวางคําสั่งดังกลาวจะยังคงคางสภาวะเอาไวเชนเดิม และจะมีการเปลีย่ นแปลงอีกครั้ง ถาชุดของคอนแทคมีสภาวะ “ON” เราใช JUMP 00 ไดหลายครั้งตามตองการ แต JUMP 01 ถึง 49 สามารถใชไดเพียงครั้งเดียว ชุดคําสั่ง Address 0000 0001 0002 0003 0004 0005 0006 0007 0008 0009 0010 Ladder Diagram I 0.03 I 0.04 I 0.02 JMP(04) #0 Q100.00 I 0.05 Q100.01 I 0.06 Q100.02 JME(05) #0 END(01) - 72 - Instruction LD AND JMP(04) LD OUT LD OUT LD OUT JME(05) END(01) Operand 0.02 0.03 #0 0.04 100.00 0.05 100.01 0.06 100.02 #0 PNSPO!! ! ! ! !บทที่ 5 หลักการเขียนแลดเดอรไดอะแกรมและคําสั่งพื้นฐาน แบบฝกหัดทดสอบความเขาใจเกี่ยวกับคําสั่งพื้นฐาน 1. จงเขียนโปรแกรมจาก Ladder Diagramใหเปนรูป Mnemonic Code I 0.00 I 0.01 I 0.02 I 0.05 I 0.06 Q 100.00 I 0.03 I 0.04 END(01) Address 00000 00001 0002 00003 00004 00005 00006 00007 00008 00009 2. จงเขียนโปรแกรมจาก Mnemonic ใหเปนรูป Ladder Diagram Address 00000 00001 00002 00003 00004 00005 00006 00007 00008 00009 00010 00011 00012 Instruction LD AND LD NOT AND OR LD LD AND NOT LD NOT AND OR LD AND LD OUT END (01) Operands 0.00 0.01 0.02 0.03 0.04 0.05 0.06 0.07 100.00 - 73 - Instruction Operands PNSPO!! ! ! !บทที่ 5 หลักการเขียนแลดเดอรไดอะแกรมและคําสั่งพื้นฐาน ! 5.4 คําสั่งในกลุม Bit Control Instruction 5.4.1 การใชคําสัง่ เซต (SET) และรีเซต (RESET) คําสั่ง SET จะทําใหบิตที่ถูกสั่ง “ON” และคงคางอยูจนกวาจะมีคาํ สั่ง RSET ที่บิต เดียวกัน บิตนัน้ จึงจะ “OFF” Ladder Symbol B: Bit CIO,W,H,A,IR SET RSET B B พืน้ ที่หนวยความจําที่สามารถใชกบั คําสั่งได ตัวอยางที่ 5.10 ตองการใหหลอดไฟทีเ่ อาตพตุ 100.00 ติดตลอดเวลา หลังจาก ON อินพุต 000.00 แลวครั้งเดียวโดยไมตอง Hold คําสั่งอินพุต จนกวาจะมีการ Reset ที่อนิ พุต 000.01 หลอดไฟ จะดับ ชุดคําสั่ง Address Instruction Operands 00000 LD 0.00 00001 SET 100.00 0002 LD 0.01 00003 RSET 100.00 00004 END Ladder Diagram I 0.00 SET Q 100.00 I 0.01 RSET Q 100.00 END(01) 5.4.2 การใชคําสัง่ KEEP - KEEP(11) การทํางานของคําสั่ง KEEP จะเหมือนกับคําสั่ง SET และ RESET เพียงแตจับขา SET/RESET ใหรวมอยูในตัวเดียวกัน เพื่อใหผใู ชงานสามารถเลือกใชโปรแกรมไดสะดวกตาม ความเหมาะสม - 74 - PNSPO!! ! ! !บทที่ 5 หลักการเขียนแลดเดอรไดอะแกรมและคําสั่งพื้นฐาน ! Ladder Symbol S KEEP(11) R B B: Bit CIO,W,H,A,IR พืน้ ที่หนวยความจําทีส่ ามารถใชกบั คําสั่งได เมื่อขา S มีสถานะ “ON” บิตที่ B จะทํางานจนกวาขา R จะมีสถานะ “ON” บิต B ถึงจะเลิก ทํางาน ตัวอยางที่ 5.11 ตองการใหเอาตพุต 100.00 เปลี่ยนเปน “ON” ตลอดเวลาโดยการ ON อินพุต 0.00 ไมวาจะ “OFF” แลวก็ตามจนกวาอินพุต 0.01 จะ ON (RESET) ชุดคําสั่ง Ladder Diagram I 0.00 S Address Instruction Operands 00000 LD 0.00 00001 LD 0.01 00002 KEEP 100.00 00003 END KEEP (11) I 0.01 R Q 100.00 END(01) 5.4.3 การใชคําสัง่ DIFFERENTIATE UP และ DOWN–DIFU(13), DIFD(14) คําสั่ง DIFU(13) และ DIFD(14) จะเปนคําสั่งที่ทํางานเพียงขอบขาขึ้น หรือขอบขา ลงของสัญญาณอินพุตเทานั้น และจะทํางานเพียงชวงเวลา One Cycle เทานั้น Ladder Symbols DIFU DIFD B B B: Bit CIO,W,H,A,IR พืน้ ที่หนวยความจําที่สามารถใชกบั คําสั่งได ตัวอยางที่ 5.12 ตองการใหอินพุต 0.00 ทํางานเพื่อ ON บิต W2.00 ซึง่ จะทําใหเอาตพุต หลอดไฟ 100.00 ใหตดิ ไดโดยอินพุต 0.01 เปนตัวสั่ง OFF - 75 - PNSPO!! ! ! ! !บทที่ 5 หลักการเขียนแลดเดอรไดอะแกรมและคําสั่งพื้นฐาน ชุดคําสั่ง Address Instruction Operands 00000 LD 0.00 00001 DIFU W2.00 0002 LD W2.00 00003 OR 100.00 00004 AND NOT 00005 OUT 100.00 00006 END Ladder Diagram I 0.00 DIFU(13) W 2.00 W 2.00 I 0.01 Q 100.00 Q 100.00 END(01) 5.5 กลุมคําสั่ง Timer/Counter สําหรับ PLC บางรุน Timer และ Counter จะใชพนื้ ที่เดียวกันซึ่งเรียกใชไดทงั้ หมด 256 ตัว ตั้งแตตวั ที่ 000 ถึง 255 ภายใน 256 ตัวนี้สามารถกําหนดใหเปน Timer หรือ Counter ก็ไดโดยที่หาก ตัวใดถูกกําหนดใหเปน Timer แลวจะนําไปใชเปน Counter อีกไมได ดังนั้นตองดู Manual ของ PLC รุนนั้นประกอบดวย ถา Timer/Counter อยูในพื้นทีเ่ ดียวกัน จะไมสามารถใชเบอรเดียวกันได แต PLC บางรุน Timer/Counter จะอยูคนละพื้นที่ ดังนัน้ จึงสามารถใช Timer และ Counter เบอรเดียวกันได เชน T000 และ C000 สําหรับคําสั่งในกลุม Timer/Counter มีหลายคําสั่ง ในที่นจี้ ะยกตัวอยางการใชงานคําสั่ง Timer/Counter แบบพื้นฐานคือ คําสั่ง TIM และ CNT ดังนี้ การใชคําสัง่ TIMER: TIM ใชในการจับเวลา, ตั้งเวลา โดยพื้นฐานแลวตองเขาไปกําหนดคา 2 คาคือ N และ SV ตามตัวอยางขางลาง 5.5.1 TIM N SV N: Timer Number (หมายเลขของ Timer) T000-T4095 (CP1L) SV: Set Value (คาตัง้ เวลา) คาคงที่ (#) หรือการอางถึง CIO, W, H, A, T, C, D, E, E?_, @D, @E, @E?_, *D, *E, *E?_, DR, ,IR - 76 - PNSPO!! ! N SV = = หมายเหตุ ! ! !บทที่ 5 หลักการเขียนแลดเดอรไดอะแกรมและคําสั่งพื้นฐาน Timer Number (เบอร 0000 - 4095) เลือกวาจะใช Timer ตัวที่เทาใด Set Value คาตั้งเวลา ใชกําหนดวาจะให Timer ตั้งเวลานานเทาใด ซึ่ง SV ที่ตั้งนั้น จะถูกคูณดวย 0.1 เพื่อแปลงเปนระยะเวลาจริง ซึง่ สามารถ 1. กําหนด SV เปนคาคงที่ #0000-9999 (000.0-999.9 วินาที คูณดวย 0.1 วินาที) 2. กําหนด SV เปน แอดเดรส CIO,A,T,C,IR,DR,D,TK,H,Wโดยใสคา ตั้งเวลาที่เปนคาคงที่ 0000-9999 ไวใน แอดเดรส ที่อา งถึงอีกทีหนึ่ง (คาที่กําหนดจะคูณดวย 0.1 วินาทีเชนเดียวกับการกําหนดแบบ คาคงที่) *ในที่นยี้ กตัวอยางหมายเลข Timer ของ PLC รุน CP1L เทานั้น สําหรับ PLC รุน อื่นๆ สามารถใช Timer ไดมากกวาหรือนอยกวาที่ กําหนด เมื่อมีสัญญาณสั่งให Timer ทํางาน (Contact B มีสถานะ “ON”) คําสั่ง Timer จะเริม่ นับ เวลาตามคาที่ตงั้ ไวใน Timer เมื่อนับครบเวลา หนา Contact ของ Timer ตัวนัน้ ๆ ก็จะ “ON” แตถา สัญญาณที่สั่งให Timer ทํางานหายไป (Contact B มีสถานะ OFF) Timer จะถูก Reset ตัวอยางที่ 5.13 การใชงานของคําสั่ง Timer เมื่ออินพุต 0.00 ทํางาน (ON) คางเปนเวลา 5 วินาที เอาตพุต 100.00 จะ ON และ เอาตพตุ 100.01 จะ OFF ชุดคําสั่ง Ladder Diagram I 0.00 I 0.01 TIM 0 #50 T0000 Q 100.00 T0000 Q 100.01 5 วินาที END(01) - 77 - Address 00000 00001 00002 00003 00004 00005 00006 00007 Instruction Operands LD 0.00 AND NOT 0.01 TIM 000 #050 LD TIM0000 OUT 100.00 LD NOT TIM0000 OUT 100.01 END (01) PNSPO!! ! ! ! !บทที่ 5 หลักการเขียนแลดเดอรไดอะแกรมและคําสั่งพื้นฐาน 5.5.2 การใชคําสัง่ COUNTER - CNT เปนคําสั่งที่ใชนบั จํานวนครัง้ ของสัญญาณ อินพุต ที่ ON แตละครั้ง ซึง่ เปนคําสั่งที่ นับลงจากคาทีต่ งั้ ไว (Set Value) CP R N SV CNT N SV = = CP = R = หมายเหตุ N: Counter Number (หมายเลขของ Counter) C000-C4095 (CP1L) SV: Set Value (คาตัง้ จํานวนนับ) คาคงที่(#)หรือการอางถึง CIO, W, H, A, T, C, D, E, E?_, @D, @E, @E?_, *D, *E, *E?_, DR, ,IR Counter Number (เบอร 000- 4095) เลือกวาจะใช Counter ตัวที่เทาใด Set Value คาตั้งจํานวนนับ ใชกําหนดวาจะให Counter นับสัญญาณ อินพุตเปนจํานวนกี่ครั้ง หนา Contact เอาตพตุ ของ Counter จึงจะเริ่ม ทํางานซึ่งสามารถ 1. กําหนด SV เปนคาคงที่ #0000-9999 2. กําหนด SV เปน แอดเดรส CIO, W, H, A, T, C, D, E, E?_, @D, @E, @E?_, *D, *E, *E?_, #, DR, ,IR โดยใสคา ตั้งจํานวนนับที่เปน คาคงที่ 0000-9999 ไวในแอดเดรส ที่อางถึงอีกทีหนึ่ง ขานับ เมื่อมีสัญญาณอินพุตในชวงทีเ่ ปลี่ยนสถานะจาก OFF เปน ON เขามาที่ขานี้ Counter จะนับถอยหลังลง 1 ขา Reset เมื่อมีสัญญาณอินพุตเขามาที่ขานี้ เอาตพตุ ของ Counter จะหยุด ทํางานและคานับของ Counter จะถูก Reset กลับไปเทากับคาตั้งจํานวน นับ (SV) *ในที่นยี้ กตัวอยางหมายเลข Counter ของ PLC รุน CP1L เทานั้นสําหรับ PLC รุน อื่นๆ สามารถใช Counter ไดมากกวาหรือนอยกวาที่กาํ หนด *Memory Area ของ Timer และ Counter จะใชพนื้ ที่แยกกัน แตใน PLC รุนเกา เชน CPM2A จะใช Timer และ Counter กับเบอรเดียวกันไมได - 78 - PNSPO!! ! ! !บทที่ 5 หลักการเขียนแลดเดอรไดอะแกรมและคําสั่งพื้นฐาน ! ตัวอยางที่ 5.14 แสดงการใชคาํ สั่ง Counter สัญญาณที่สงเขาที่ขาสัญญาณนับจะทําให Counter นับถอยหลังเมื่อเทียบกับ SV ตัว Counter จะเริ่มนับที่ขอบขาขึ้นของสัญญาณอินพุตและจะ นับใหมเมื่อสัญญาณเปลี่ยนเปน OFF หรือ ‘0’ แลวกลับมา ON อีกครั้ง และจะทํางานเชนนีไ้ ปจน ครบคาที่ตงั้ ไว (SV) เอาตพตุ จึง ON CP R CP CNT N SV R จังหวะการนับ CNT N SV จังหวะการรีเซต ตัวอยางที่ 5.15 การใชงานของคําสั่ง Counter เมื่อ อินพุต 0.00 ทํางาน (ON) 1 ครั้ง Counter จะนับ 1 ครั้ง ถาอินพุต 0.00 ทํางาน (ON) ครบ 10 ครั้ง จะทําใหคาํ สั่ง Counter ทํางาน พรอมกับ Contact ของ Counter (CNT0000) จะทํางานดวย และจะถูก Reset ดวยอินพุต 0.02 ชุดคําสั่ง Ladder Diagram Address Instruction 00000 LD 00001 LD 00002 CNT 001 00003 LD 00004 OUT 00005 END (01) I 0.00 CNT I 0.02 0000 C0000 #0010 Q 100.02 END (01) - 79 - Operands 0.00 0.02 #0010 CNT0000 100.02 PNSPO!! ! ! ! !บทที่ 5 หลักการเขียนแลดเดอรไดอะแกรมและคําสั่งพื้นฐาน • การประยุกตใชงานของ TIMER และ COUNTER ตัวอยางที่ 5.16 ตองการนับจํานวนคนดูคอนเสิรต สถานที่จัดงานสามารถจุคนดูได 20,000 คน ใช Photo Switch นับจํานวนคน หลังจาก 20,000 คนแลวให OUTPUT LAMP 100.00 ทํางาน เพื่อแสดงวาคน เต็มแลว I/O ที่กําหนด PHOTO SWITCH 0.00 PB RESET 0.01 OUTPUT LAMP 100.00 ชุดคําสั่ง Ladder Diagram I 0.00 Count Input C0001 Reset C0001 Count Input I 0.01 C0002 CNT 0001 #0100 CNT 0002 Reset #0200 Q 100.00 100 counts 200 counts END(01) - 80 - Address Instruction Data 00000 LD 0.00 00001 LD CNT 0001 00002 CNT 0001 #0100 00003 LD CNT 0001 00004 LD 0.01 00005 CNT 0002 #0200 00006 LD CNT 0002 00007 OUT 100.00 00010 END (01) PNSPO!! ! ! ! !บทที่ 5 หลักการเขียนแลดเดอรไดอะแกรมและคําสั่งพื้นฐาน ตัวอยางที่ 5.17 เครื่องจักรเครื่องหนึ่งตองการอัดจารบีหลังจากใชงานไปแลวครบ 1,000 ชัว่ โมง I/O ที่กําหนด PB START 0.00 PB RESET 0.01 VALUE LUBRICATE 100.00 ชุดคําสั่ง Ladder Diagram I 0.00 TIM 0001 TIM 0001 #6000 T0001 C0001 I 0.01 C0002 600 sec Count Input CNT 0002 Reset #6000 Q 100.00 600 counts Address 00000 00001 00002 00003 00004 00005 00006 00007 00008 END(01) - 81 - Instruction Data LD 0.00 AND-NOT TIM 0001 TIM 0001 # 6000 LD TIM 0001 LD 0.01 CNT 0002 # 6000 LD CNT 0002 OUT 100.00 END (01) PNSPO!! ! ! !บทที่ 5 หลักการเขียนแลดเดอรไดอะแกรมและคําสั่งพื้นฐาน ! ตัวอยางที่ 5.18 มอเตอรปมน้ํา ถากดปุม PB-START หลอดไฟสีแดงจะติดเพื่อแสดงวาปมทํางาน และปม น้ําจะหยุดการทํางานพรอมกับหลอดไฟสีแดงดับ ก็ตอเมือ่ กด PB-STOP หลอดไฟสีเขียวจะติดแทน (ปมจะทํางานไดตอ งมีน้ําในแทงคเทานั้น) Pump Tank PB-START PB-STOP หลอดไฟสีแดง หลอดไฟสีเขียว SENSOR DETECT LIQUID I/O ที่กําหนด INPUT 0.00 0.01 0.02 100.00 100.01 100.02 OUTPUT Ladder Diagram I 0.00 Q100.00 Q100.00 I 0.01 I 0.02 PB-START PB-STOP SENSOR DETECT LIQUID MOTOR PUMP หลอดไฟสีแดง หลอดไฟสีเขียว ชุดคําสั่ง Address Q 100.00 00000 00001 Q 100.01 00002 Q 100.02 00003 00004 00005 END(01) 00006 00007 00008 - 82 - Instruction LD OR AND NOT AND OUT OUT LD NOT OUT END (01) Operand 0.00 100.00 0.01 0.02 100.00 100.01 100.00 100.02 PNSPO!! ! ! ! !บทที่ 5 หลักการเขียนแลดเดอรไดอะแกรมและคําสั่งพื้นฐาน แบบฝกหัด จงเขียนโปรแกรมตั้งเวลา 24 ชั่วโมง โดยเมื่อครบตามเวลาที่กําหนดตองการใหมอเตอรทาํ งาน Ladder Diagram Mnemonic Code Address Instruction 00000 00001 00002 00003 00004 00005 00006 00007 00008 00009 00010 Data - 83 - PNSPO!! ! ! ! !บทที่ 5 หลักการเขียนแลดเดอรไดอะแกรมและคําสั่งพื้นฐาน 5.5.3 การใชคําสัง่ Reversible Counter CNTR (FUN 12) หรือ UP/DOWN Counter คําสั่ง CNTR ใชอินพุต 3 อินพุตควบคุมการทํางานคือ II (Increment Input), DI (Decrement Input) และ Reset Input (R) การใชงานตองระบุเบอรของตัวเคาทเตอรและกําหนดคา การนับ (Set Value) เปนจํานวนเทาใดดวย II DI R N: Counter Number (หมายเลขของ Counter) C000-C4095 CNTR(12) N SV II- คือขานับสัญญาณแบบนับขึ้น DI- คือขานับสัญญาณแบบนับลง R- คือขา Reset SV: Set Value (word, BCD) CIO, W, H, A, T, C, D, E, E?_, @D, @E, @E?_, *D, *E, *E_, #, DR, ,IR พืน้ ที่หนวยความจําที่ใชกบั คําสั่งได การกําหนดคา SV (คาที่จะตั้งใหนับ) สามารถกําหนดเปนคาคงที่ หรือกําหนดผาน หนวยความจําตางๆ ที่กําหนดไวใหเชน DM ตองตั้งอยูในยาน 1-9,999 ลักษณะการทํางานของ CNTR แสดงไดดงั นี้ Execution condition On increment (II) ON OFF Execution condition On decrement (DI) ON OFF Completion Flag ON OFF SV SV SV-1 SV-1 00001 PV SV-2 00000 - 84 - 00000 SV-2 PNSPO!! ! ! ! !บทที่ 5 หลักการเขียนแลดเดอรไดอะแกรมและคําสั่งพื้นฐาน ตัวอยางที่ 5.19 การใชงาน Counter ชนิด UP/DOWN counter หรือ Reversible Counter ชุดคําสั่ง Ladder Diagram I 0.01 CNTR(12) I 0.02 000 I 0.03 #10 C0000 Address 00000 00001 00002 00003 00004 00005 00006 Operand LD LD LD CNTR(12) LD OUT Data 0.01 0.02 0.03 0000 # 10 CNT 0010 100.00 Reversible Counter หรือเรียกอีกชื่อวา UP-DOWN Counter ทั้งนี้เพราะสามารถทําการนับ ขึน้ ในกรณีที่มสี ัญญาณเขาที่ II และมีการนับลงเมื่อมีสัญญาณเขาที่ DI แตถา มีสญ ั ญาณ UP และ DOWN ที่อนิ พุตพรอมกัน จะไมทําใหเกิดการนับในทิศทางใดๆ การนับจะนับเปนลักษณะวนหรือ ตอเนื่องกันไปเรื่อยๆ กลาวคือ เมื่อนับครบตามจํานวนทีก่ ําหนดไวแลว จะวนกลับมาเปน “0”หรือ “10” ใหม เปนเชนนี้ไปเรื่อย และการแสดงคาเอาตพตุ ของคําสั่ง CNTR จะมีสภาวะ “ON” เพียง 1 ครั้งเทานั้น ในจังหวะทีเ่ ปนการวนคาเชนจาก “10” เปน “0” ในกรณีที่มีการเพิ่มหรือลดถึงคาที่ กําหนดเอาไว สวนสัญญาณ Reset ถือวาเปนอีกอินพุตหนึ่งของ CNTR ถามีสภาวะ “ON” เมื่อใดจะ ทําใหคาที่นับไดมีคา เริ่มตนที่ “0000” ทันที - 85 - PNSPO!! ! ! ! !บทที่ 5 หลักการเขียนแลดเดอรไดอะแกรมและคําสั่งพื้นฐาน 5.6 กลุมคําสั่ง Data Movement 5.6.1 การใชคําสัง่ MOVE – MOV(21) S: Source word (@)MOV(21) S D CIO, W, H, A, T, C, D, E, E?_, @D, @E, @E?_, *D, *E, *E?_, #, DR, ,IR พืน้ ที่หนวยความจําที่ใชกบั คําสั่งได D: Destination word CIO, W, H, A, T, C, D, E, E?_, @D, @E, @E?_, *D, *E, *E?_, DR, ,IR พืน้ ที่หนวยความจําที่ใชกบั คําสั่งได S = เวิรดตนฉบับที่ตองการ Copy (Source word) D = เวิรดปลายทางที่ Copy (Destination word) เมื่อคําสั่งนี้ทํางาน มันจะทําการสําเนา (Copy) ขอมูลจาก S ไปยัง D โดยที่ S ยังมีขอ มูลเดิม อยู ถาใสสญ ั ลักษณ @ ขางหนา คําสั่งนี้จะทํางานเพียงแค 1 Scan time เทานั้น จะไมมีการสําเนา ขอมูลจาก S ไปยัง D อีก แมวา จะยังมีสัญญาณอินพุต ON ที่คาํ สั่ง MOV - 86 - PNSPO!! ! ! Source Input CH 000 00000 1 00001 1 00002 0 00003 1 00004 1 00005 0 00006 0 00007 1 00008 1 00009 1 00010 1 00011 0 00012 0 00013 0 00014 0 00015 1 ! !บทที่ 5 หลักการเขียนแลดเดอรไดอะแกรมและคําสั่งพื้นฐาน Destination Output CH 010 01000 1 01001 1 01002 0 01003 1 01004 1 01005 0 01006 0 01007 1 01008 1 01009 1 01010 1 01011 0 01012 0 01013 0 01014 0 01015 1 . . . ตัวอยางที่ 5.20 คาของ S = H 0001 (มีคา ขอมูลคือ 1500) และ D = D 0005 (มีคาขอมูลคงคือ 0050) เมื่อ คําสั่ง MOV(21) ทํางาน คาที่ D จะมีขอมูลใหมคือ 1500 Ladder Diagram I 0.00 MOV(21) H 0001 S D 0005 D END(01) - 87 - I0.00 = OFF I0.00 = ON H0001 1500 H0001 1500 D0005 0050 D0005 1500 PNSPO!! ! ! !บทที่ 5 หลักการเขียนแลดเดอรไดอะแกรมและคําสั่งพื้นฐาน ! 5.7 กลุมคําสั่ง Data Shifting 5.7.1 การใชคําสั่ง SHIFT REGISTER – SFT(10) Ladder Symbol I SFT(10) P St R E Operand St : Starting word CIO, W, H, A E : End word CIO, W, H, A I คือ ขา Data Input กําหนดคาที่ใชในการเลื่อนขอมูลเปน “0” หรือ “1” P คือ ขา Pulse Input ใชปอนสัญญาณพัลสเพื่อเลื่อนขอมูลจาก I เขาไป R คือ ขา Reset ใชกําหนดคาขอมูลใน Starting Word ถึง End Word ใหมีคา เปน 0 การทํางานจะเลื่อนขอมูลทีละบิต จากบิต 0 ของ Starting word ไปจนถึงบิต 15 ของ End word ถามีการ ON ที่ขา P (Pulse) แตละครั้ง ถาขา P ON หนึ่งครั้ง ขอมูลก็จะเลื่อนหนึ่งบิต ตัวอยางที่ 5.21 END Word 15 . . . 03 02 01 00 15 . . . 03 02 01 00 Start Word 15 . . . 03 02 01 00 Data Input ทดลองเขียนคําสั่ง SFT(10) โดยมี 1 Second clock puls (P_1s) ที่ขา P และ Turn On สวิตช I0.00 ซึง่ เปนคาขอมูลที่จะเลื่อนเขาไป โดยเาอตพตุ เวิรด W0 จะ ON ตั้งแตบติ ที่ W0.00 แลวเลือ่ น ไป ON ที่ W0.01 Address 00000 00001 00002 00003 I 0.00 P_1s I 0.01 SFT(10) W0 Instruction LD LD LD SFT(10) Operands 0.00 P_1s 0.01 W0 W0 W0 END(01) 00004 - 88 - END(01) บทที่ 6 การใชซอฟตแวรปอ นโปรแกรม ในบทที่ผา นมาเราไดกลาวถึงหลักการเขียนแลดเดอรโปรแกรมและคําสั่งพื้นฐานตางๆ เพื่อนํา ไปประยุกตกบั การใชงานจริงไดอยางเหมาะสม ตอจากนี้ไปเราจะเริม่ ตนการเขียนโปรแกรมโดยจะใช ซอฟตแวร CX-programmer ในการสรางแลดเดอรไดอะแกรม 6.1 การติดตั้งซอฟตแวร CX-Programmer 6.1.1 PLC ทีส่ ามารถใชงานกับซอฟตแวร CX-Programmer CX-Programmer เปนซอฟตแวรที่พัฒนาขึ้นมาแทนซอฟตแวร Syswin สามารถใชงาน ไดกับ PLC ของ OMRON รุน ตางๆ ไดดงั ตารางตอไปนี้ PLC Series CP-Series CJ-Series CS-Series CV-Series C-Series SRM1 หมายเหตุ รุน CP1L, CP1H CJ1G, CJ1G-H, CJ1H-H, CJ1M CS1G, CS1G-H, CS1H, CS1H-H, CS1D-H, CS1D-S CV1000, CV2000, CV500, CVM1, CVM1-V2 C1000H, C2000H, C200H, C200HE, C200HE-Z, C200HG, C200HGZ, C200HS, C200HX, C200HX- Z, CPM1A, CPM1, CPM2*, CPM2*-S*, CQM1, CQM1H SRM1,SRM1-V2 สําหรับรุนของ PLC ตามตารางนั้น จะเปลี่ยนไปตามการพัฒนาซอฟตแวร ถาซอฟตแวรสูงขึ้น รุน ของ PLC จะมีใหเลือกเพิ่มขึ้น -89- บทที่ 6 การใชซอฟตแวรปอนโปรแกรม PNSPO 6.1.2 ขอแนะนําสําหรับเครื่องคอมพิวเตอรทใี่ ชงาน (System Requirements) CX-Programmer (และ CX-Server) สามารถทํางานไดกบั เครื่องคอมพิวเตอร PC (IBM-AT หรือ NEC PC-98) ตั้งแต Pentium II ขึ้นไป โดยทํางานภายใตระบบปฏิบตั ิการMS-Windows 95, 98, ME, XP หรือ Windows NT Service pack 5, 2000 (หรือ Version ที่ใหมกวา) หมายเหตุ: CX-Programmer (และ CX-Server) ไมรบั ประกันการทํางานบนเครื่องคอม พิวเตอรที่เปนระบบปฏิบัติการอยางอื่นนอกเหนือจากของ MS-Windows ปกติ (เชน พวก Windows Emulation อยาง Apple Macintosh, หรือเครื่อง PC ที่ใชระบบปฏิบัติการ Linux) อยางไรก็ตามขอแนะนําสําหรับของระบบคอมพิวเตอรขั้นต่ําที่ CX-Programmer (และ CX-Server) จะสามารถทํางานไดอยางมีประสิทธิผล มีดงั นี้ Minimum system Requirements Operating system Windows 95 Windows 98 Windows NT (with SP5) Windows 2000 Windows ME Windows XP Home Windows XP Professional หมายเหตุ CPU Type Pentium Class 133MHz Pentium Class 150MHz Pentium Class II 300MHz Minimum Specification Memory HDD Display (RAM) Space 32Mb 100Mb 800x600 SVGA 64Mb 100Mb 800x600 SVGA 128Mb 100Mb 800x600 SVGA Recommended Minimum Specification CPU Memory HDD Display Type (RAM) Space Pentium 64Mb 150Mb 1024x768 Class II SVGA 200MHz Pentium Class II 200MHz Pentium Class II 200MHz 64Mb 150Mb 1024x768 SVGA 64Mb 150Mb 1024x768 SVGA แมวาจะสามารถทํางานโดยใช Keyboard ไดทั้งหมด อยางไรก็ตามเพื่อความสะดวก ในการทํางานควรใช Mouse - 90 - บทที่ 6 การใชซอฟตแวรปอนโปรแกรม PNSPO 6.1.3 การติดตั้งซอฟตแวร CX-Programmer ซอฟตแวรตวั นี้จะทํางานบนระบบปฏิบัติการ MS Windows95, 98, ME, NT หรือ 2000 ขึ้นไป 1.คลิก ที่ RUN บน Task bar จะปรากฏหนาจอดังนี้ 2. เลือก Browse เลือก Setup จะ ปรากฏหนาจอดังนี้ 3. หลังจากเลือก Setup ของ CX-Programmer จะปรากฏหนาจอนี้ 4.คลิก OK เพื่อเลือก Setup จะขึ้นหนาจอ เพื่อใหเลือกภาษา 5.เลือกภาษาอังกฤษ เลือกตกลง จะปรากฏ หนาจอดังนี้ - 91 - บทที่ 6 การใชซอฟตแวรปอนโปรแกรม PNSPO 6.เลือก NEXT 7.เลือก YES - 92 - บทที่ 6 การใชซอฟตแวรปอนโปรแกรม PNSPO 8.หลังจากนัน้ จะใหเขา มากําหนด License ของ ซอฟตแวร 9.หลังจากใส License เรียบรอยแลวให คลิก Next จะปรากฏหนาจอ ดังนี้ 10.เลือก YES เพื่อ Install Program ตามขั้นตอน - 93 - บทที่ 6 การใชซอฟตแวรปอนโปรแกรม PNSPO 11.คลิก Next เพื่อ ติดตั้งซอฟตแวรตาม ขัน้ ตอนตอไป 12.หลังจากนัน้ จะเปนการติดตั้ง CX-Server 13.คลิก Next เพื่อ เลือกวาจะติดตั้ง อะไรบาง - 94 - บทที่ 6 การใชซอฟตแวรปอนโปรแกรม PNSPO 14.คลิก Next 15.เลือก NSB Support Board (จะเลือกหรือไมเลือกก็ได) ปกติ ถาใช USB และ RS232 ไม จําเปนตองเลือก NSB จากนัน้ ใหคลิก Next - 95 - บทที่ 6 การใชซอฟตแวรปอนโปรแกรม PNSPO 16.ขณะนีก้ าํ ลังติดตั้ง CX-Server 17.ถาปรากฏหนาจอนีแ้ สดงวา ติดตั้งซอฟตแวรเสร็จเรียบรอยแลว เมื่อหนาตางนีป้ รากฎขึ้นมาแสดงวาการติดตั้งสมบูรณ จากนั้นเราสามารถเรียกใชซอฟตแวร CX-programmer จาก Icon หรือ เมนูได - 96 - บทที่ 6 การใชซอฟตแวรปอนโปรแกรม PNSPO 6.2 การสรางโปรแกรมแลดเดอร เพื่อใหเกิดความคุนเคยกับการใชซอฟตแวรในการเขียนโปรแกรม PLC เราขอใชตวั อยางแลด เดอรไดอะแกรมที่แสดงในบทที่ 2 มาประกอบการอธิบาย การเขียนโปรแกรมดวย CX-programmer สามารถใช Mouse คลิกที่สัญลักษณตางๆ หรือใช Keyboard ก็ได แตในตัวอยางนี้จะใช Keyboard เปน ตัวอยาง รูปที่ 6.1 ตัวอยางโปรแกรมแลดเดอร - 97 - บทที่ 6 การใชซอฟตแวรปอนโปรแกรม PNSPO 6.2.1 การเปดใชซอฟตแวร CX-Programmer คลิกปุม [start] ที่ task bar แลวคลิก เลือก [program] → [OMRON]→[CX-One]→ [CX-Programmer] → [CX-Programmer] ดังรูป - 98 - บทที่ 6 การใชซอฟตแวรปอนโปรแกรม PNSPO 6.2.2 คําอธิบายหนาตางและการใชงาน ในสวนนี้จะอธิบายฟงกชันการใชงานตางๆ ของหนาจอหลักของ CX-programmer • หนาตางหลัก (Main window) Title bar แสดงขอมูลเกีย่ วกับชื่อไฟลที่ถกู สรางโดย CX-programmer Main menu ใชเลือกฟงกชนั ตางๆ ของ CX-programmer Toolbars แสดงไอคอนของฟงกชันทีใ่ ชงานบอย Project tree/ (6) Project workspace ใชจัดการโปรแกรมและการตั้งคาตางๆ Section โปรแกรมที่เขียนขึ้นสามารถแยกเปนสวนๆ ได Diagram workspace ใชสรางและแกไขแลดเดอรโปรแกรม - 99 - บทที่ 6 การใชซอฟตแวรปอนโปรแกรม PNSPO I/O comment bar ใชแสดง name, address/value และ I/O comment ของตัวแปรที่ถูกเลือกโดย Mouse Output window - ใชแสดงผลของการตรวจสอบโปรแกรมที่เขียนขึ้น - ใชแสดงผลที่ไดจากการคนหา contact instruction และ coil - ใชแสดงขอผิดพลาดที่เกิดขึ้นขณะโหลดโปรแกรม Status bar แสดงขอมูลตางๆ เชน PLC name และสถานะการ offline/online • พื้นที่สาํ หรับเขียนโปรแกรม (Diagram workspace) Rung number Program address Rung header Bus bar • Shortcut Key แสดง Shortcut Key ที่ใชใน CX-programmer เวลาเขียนโปรแกรมเราสามารถกดปุม เหลานี้หรือใช Mouse คลิกที่รปู บน Tool Bar ก็ได เชน ถาตองการใชหนาคอนแทค NO ใหกดปุม [C] - 100 - บทที่ 6 การใชซอฟตแวรปอนโปรแกรม PNSPO 6.3 การปอนโปรแกรม ใชแลดเดอรไดอะแกรมที่แสดงในรูปที่ 6.1 เพื่อเปนตัวอยางในการสรางโปรแกรม 6.3.1 การสรางโปรเจคใหม เมื่อเรียกใช CX-programmer เปนครั้งแรกคุณจะตองสรางโปรเจคขึ้นมาใหม ตอน สรางโปรเจคใหมคณ ุ จะตองเลือก Device Type และ CPU ของโปรแกรมที่กําลังสรางขึ้น โดยมีขนั้ ตอน ดังตอไปนี้ 1. เลือก [File] - [New] จาก Main menu จะปรากฎ Dialog box ดังรูปขางลางนี้ 2. เลือก [CP1L] จาก Device Type - 101 - บทที่ 6 การใชซอฟตแวรปอนโปรแกรม PNSPO 3. คลิก [Settings] ไดอะลอกบลอก “Device Type Settings” จะปรากฎดังตอไปนี้ 4. เลือกรุน CPU จาก CPU Type จากนั้นคลิก [OK] ไดอะลอกบลอก “Device Type Settings” จะปดลง - 102 - บทที่ 6 การใชซอฟตแวรปอนโปรแกรม PNSPO 5. ตรวจสอบดวยวา Network Type เปน [USB] จากนัน้ คลิก [OK] ถา PLC ไมใชรุน CP1L/CP1H การเลือก Network Type ตองขึ้นอยูกับ PLC รุนนั้นๆ เชน Toolbus หรือ Hostlink เมื่อคลิก [OK] แลวไดอะลอกบลอก “Change PLC” จะปดลงและแสดงหนาตาง Main window ดังรูปขางลางนี้ หมายเหตุ ถาไมสามารถเลือก [USB] ที่ Network Type ได ใหตดิ ตั้ง USB Driver ของ CP1L - 103 - บทที่ 6 การใชซอฟตแวรปอนโปรแกรม PNSPO 6.3.2 การปอนคอนแทค เราขออางอิงรูปวงจรแลดเดอรโปรแกรมในรูปที่ 6.1 สวนการอธิบายการปอน โปรแกรมจะเนนการใช Shortcut Key เปนหลัก • การปอนคอนแทค NO 1. กดคีย [C] หรือใช Mouse คลิกที่รูป แลวเอามาวางที่ Workspace ไดอะลอกบลอก ‘New Contact’ จะปรากฎออกมา 2. ปอนแอดเดรส 0.04 ดวยการกดปุมเลข "4" แลวกด [Enter] เมื่อ “4” ถูกปอนเขาไปแลว ไดอะลอกบลอก ‘Edit Comment’ จะแสดงออกมา 3. ปอน “Light detection sensor” เปน I/O comment แลวกด [Enter] คอนแทคที่ปอนพรอมคอมเมนต Light detection sensor จะปรากฎอยูใน โปรแกรม ขัน้ ตอนถัดไป ปอนวงจร OR - 104 - บทที่ 6 การใชซอฟตแวรปอนโปรแกรม PNSPO • การปอนวงจร OR 1. ที่ตําแหนง cursor ปจจุบัน ใหกดปุม [Enter] จะเกิดพื้นทีว่ า งใหมขึ้นมาเพือ่ สรางวงจร OR ดังแสดงในรูปขางลางนี้ 2. กดคีย [W]หรือใช Mouse คลิกที่รูป ไดอะลอกบลอก ‘New Contact OR’ จะปรากฎดังรูปขางลางนี้ 3. ปอนแอดเดรส W0.00 ดวยการคีย “W0” จากนั้นกด [Enter] เมื่อ “W0” ถูกปอนเขาไปแลวไดอะลอกบลอก ‘Edit Comment’ จะแสดงออกมา 4. ปอน "Work Area" เปน I/O comment จากนั้นกด [Enter] วงจร OR จะปรากฎออกมา ขัน้ ตอนถัดไป ปอนคอนแทค NC (normally close) - 105 - บทที่ 6 การใชซอฟตแวรปอนโปรแกรม PNSPO • การปอนคอนแทค NC 1. กดคียล ูกศรขึน้ ( up arrow) Cursor จะถูกเลื่อนขึ้นขางบนดังแสดงในรูป 2. ที่ตําแหนง Cursor ปจจุบันใหกดคีย [/] ไดอะลอกบลอก ‘New Closed Contact’ จะปรากฎขึ้น 3. ปอนแอดเดรส Timer หมายเลข 0 โดยการกด "T0" แลวกด [Enter] “T0” ที่ถูกปอนแลวจะแสดงไดอะลอกบลอก ‘Edit Comment’ ตามรูปขางลางนี้ 4. ปอน "Timer" เปน I/O comment จากนัน้ กด [Enter] วงจร AND ที่เปนตัวแทนของ Timer หนาคอนแทค NC จะปรากฎออกมา ขั้นตอนถัดไป ปอนเอาตพุต Work area - 106 - บทที่ 6 การใชซอฟตแวรปอนโปรแกรม PNSPO 6.3.3 การปอนคอลยเอาตพุต 1. กดคีย [O]หรือคลิก ไดอะลอกบลอก ‘ New Coil’ จะปรากฎออกมา 2. ปอนแอดเดรส W0.00 โดยการคีย "W0" จากนั้นกด [Enter] เมื่อ "W0" ถูกปอนไดอะลอกบลอก ‘Edit Comment’ จะปรากฎออกมา 3. ปอน comment “Work Area” จากนั้นกด [Enter] 4. กดปุมลูกศรลง (down arrow) 2 ครั้ง Cursor จะถูกวางใน Rung ถัดไป การปอนวงจรใน Rung แรกเสร็จสมบูรณ - 107 - บทที่ 6 การใชซอฟตแวรปอนโปรแกรม PNSPO 6.3.4 การปอน Timer 1. เลื่อน Cursor ไปติดกับ Busbar จากนัน้ กดคีย [C] แลวปอน "W000" จากนั้นกด [Enter] ขณะเดียวกันไดอะลอกบลอก ‘Edit Comment’ จะปรากฎออกมา จากนั้น ทําตามขั้นตอนที่กลาวมาแลวขางตนเพื่อปอนหนาคอนแทค 2. กดคีย [I] หรือคลิก ไดอะลอกบลอก ‘New Instruction’ จะปรากฎขึ้น 3. ปอนคําสั่ง Timer โดยการพิมพ "TIM 0 #50" จากนั้นกด [Enter] เมื่อ "TIM 0 #50" ถูกปอน ไดอะลอกบลอก ‘Edit Comment’ จะปรากฎขึ้นเพื่อให ปอน I/O Comment "TIM 0 #50" หมายถึงหนวงเวลา 5.0 วินาที เมื่อครบเวลาที่ตั้งไว T0000 จะ On 4. ปอน “Timer” ในไดอะลอกบลอก ‘Edit Comment’ จากนั้นกด [Enter] - 108 - บทที่ 6 การใชซอฟตแวรปอนโปรแกรม PNSPO คําสั่ง Timer จะปรากฎในโปรแกรมแลดเดอร 5. กดปุมลูกศรลง (down arrow) 3 ครั้ง เมื่อ Cursor ถูกวางใน Rung ถัดไปการปอนคําสั่งใน Rung 01 เสร็จสมบูรณ ขัน้ ตอนถัดไป ปอนคําสั่ง Counter - 109 - บทที่ 6 การใชซอฟตแวรปอนโปรแกรม PNSPO 6.3.5 การปอน Counter 1. เลื่อน Cursor ไปติดกับ Busbar จากนั้นกดคีย [C] แลวปอน "004" จากนั้นกด [Enter] ขณะเดียวกันไดอะลอกบลอก ‘Edit Comment’ จะปรากฎออกมา จากนั้น ทําตามขั้นตอนที่กลาวมาแลวขางตนเพื่อปอนหนาคอนแทค 2. กดคีย [I] หรือคลิก ไดอะลอกบลอก ‘New Instruction’ จะปรากฎขึ้น 3. ปอนคําสั่ง Counter โดยพิมพ "CNT 0 #3" จากนั้นกด [Enter] เมื่อ "CNT 0 #3" ถูกปอนไดอะลอกบลอก ‘Edit Comment’ จะปรากฎขึ้นเพื่อให ปอน I/O Comment “CNT 0 #3” คือ counter ที่เริ่มตนนับลงจาก 3 เมื่อครบตามที่ตั้งไว C0000 จะ On - 110 - บทที่ 6 การใชซอฟตแวรปอนโปรแกรม PNSPO 4. ปอน Comment โดยการพิมพ "Counter" จากนั้นกด [Enter] คําสั่ง Counter จะปรากฎในโปรแกรมแลดเดอร ตอจากนั้นใหปอนขาสัญญาณ Reset ของคําสั่ง Counter โดยใชหนาคอนแทค Timer (T0000) 5. วาง Cursor ต่ํากวาหนาคอนแทคที่เพิ่งสรางขึ้นใน step 1 - 111 - บทที่ 6 การใชซอฟตแวรปอนโปรแกรม PNSPO 6. ปอนหนาคอนแทค "T0000" 7. กดลูกศรลง (down arrow) 2 ครั้ง เมื่อ Cursor ถูกวางใน rung ถัดไป การปอนคําสั่ง Counter เปนอันเสร็จสมบูรณ ขัน้ ตอนถัดไป ปอน Auxiliary Area - 112 - บทที่ 6 การใชซอฟตแวรปอนโปรแกรม PNSPO 6.3.6 การปอน Auxiliary Area Auxiliary area คือ รีเลยที่ออกแบบมาใหใชงานเฉพาะ ตัวอยางเชน ‘First cycle flag’ ซึ่งจะ ON เพียง 1 cycle เทานั้นหลังจากจายไฟใหกับ PLC ในตัวอยางที่เราเขียนโปรแกรมอยูนี้ ‘First cycle flag’ จะถูกใชรีเซ็ต Counter เมื่อตอนจายไฟให PLC 1. กดคีย [W] จากนั้นปอนวงจร OR หนาคอนแทค "C0000" ตอจากนั้นกด [Enter] ขณะเดียวกันไดอะลอกบลอก ‘Edit Comment’ จะปรากฎขึ้น (การปอนหนาคอน แทคไดกลาวถึงไปแลวในหัวขอกอนหนานี)้ 2. กด [Enter] จะเกิดพื้นทีว่ า งขางใตวงจร OR ที่เพิ่งถูกสรางขึ้น ดังรูปขางลางนี้ - 113 - บทที่ 6 การใชซอฟตแวรปอนโปรแกรม PNSPO 3. กดคียลูกศรซายมือ (left arrow) 4. กดคีย [W] ไดอะลอกบลอก ‘New Contact OR’ จะปรากฎขึ้น 5. ปอนแอดเดรส "A20011" จากนั้นกด [Enter] ‘First cycle flag’ จะปรากฎบนโปรแกรมแลดเดอรดังรูปขางลางนี้ - 114 - บทที่ 6 การใชซอฟตแวรปอนโปรแกรม PNSPO 6.3.7 การปอนคอนแทค Differentiated Up 1. ใหอา งอิงโปรแกรมแลดเดอรในรูปที่ 6.1 จากนัน้ ใหปอนโปรแกรมตามขั้นตอนที่ อธิบายขางตนจนถึงหนาคอนแทค De-escalation motor contact แอดเดรส "10001" ดังแสดงในรูปขางลางนี้ 2. กด [Enter] จะเกิดพื้นทีว่ า ง เพื่อใสวงจร OR - 115 - บทที่ 6 การใชซอฟตแวรปอนโปรแกรม PNSPO 3. กดคีย [W] ไดอะลอกบลอก ‘New Contact OR’ จะปรากฎขึ้น 4. ปอนแอดเดรส 0.03 โดยการคีย "3" แลวกด [Enter] ไดอะลอกบลอก ‘Edit Comment’ จะปรากฎขึ้น 5. ปอน Comment โดยการคีย "Car detection sensor" จากนัน้ กด [Enter] หนาคอนแทค Car detection sensor จะปรากฎขึ้นเปนวงจร OR 6. ให Double-click ที่แอดเดรส "0.03" ไดอะลอกบลอก ‘Edit Contact’ จะปรากฎขึ้น 7. คลิกที่ [Detail] - 116 - บทที่ 6 การใชซอฟตแวรปอนโปรแกรม PNSPO 8. เลือก [Up] จากนั้นคลิก [OK] หนาคอนแทคที่มีลูกศรขึ้นเปนสัญลักษแสดง Differentiated Up จะปรากฎออกมา 6.3.8 การปอนคําสัง่ END โปรแกรมแลดเดอรจําเปนตองจบดวยคําสั่ง END แต CX-programmer จะสรางสวนที่ เปนคําสั่ง END ขึ้นเองอัตโนมัติ ถาตองการดูคําสั่ง END ให Double-click ที่สว นของ END ดังรูป - 117 - บทที่ 6 การใชซอฟตแวรปอนโปรแกรม PNSPO 6.4 การโหลดและจัดเก็บโปรแกรม (Loading/Saving) โปรแกรมที่สรางขึ้นอาจตองจัดเก็บ (Save) ซึ่งในหัวขอนี้จะอธิบายวิธีการจัดเก็บ และเรียก (Load) โปรแกรมกลับขึ้นมาใชอีก 6.4.1 การ Compile โปรแกรม การ Compile จะชวยใหเราสามารถตรวจสอบขอผิดพลาดในโปรแกรมได 1. เลือก [PLC] - [Compile All PLC Programs] จาก Main menu การ Compile จะเริ่มขึ้นเมื่อ Compile เสร็จผลที่ไดจากการตรวจสอบจะแสดงที่ Output window 2. ถามีขอ ผิดพลาด(error) เกิดขึน้ ให double-click ที่ขอความ error นัน้ ใน Output window Cursor จะกระโดดไปยังตําแหนงที่ error นัน้ ถูกพบ จากนั้นจึงแกไข error - 118 - บทที่ 6 การใชซอฟตแวรปอนโปรแกรม PNSPO 6.4.2 การ Save โปรแกรม โปรแกรมจะถูกจัดเก็บเปนกลุมตามแตละโปรเจคที่สรางขึ้น 1. เลือก [File] - [Save As] จาก Main menu ไดอะลอกบลอก ‘Save CX-Programmer File’ จะปรากฎขึ้น 2. ใหระบุสถานที่และชื่อไฟลที่จะจัดเก็บ แลวคลิก [Save] ไฟลจะถูกจัดเก็บ - 119 - บทที่ 6 การใชซอฟตแวรปอนโปรแกรม PNSPO 6.4.3 การ Load โปรแกรม เราสามารถเรียกโปรแกรมทีจ่ ดั เก็บแลวมาใชงานได โดยโปรแกรมจะถูกโหลดเปน กลุมของแตละโปรเจค 1. เลือก [File] - [Open] จาก Main menu ไดอะลอกบลอก ‘Open CX-Programmer Project’ จะปรากฎขึ้น 2. ใหระบุสถานที่และชื่อไฟลที่จะเรียก แลวคลิก [Open] โปรแกรมที่ถูกเรียกจะปรากฎออกมา - 120 - บทที่ 6 การใชซอฟตแวรปอนโปรแกรม PNSPO 6.5 การแกไขโปรแกรม โปรแกรมที่เขียนขึ้นสามารถแกไขใน CX-programmer ได รวมทั้งสามารถเพิ่มหรือแกไข I/O comment และ rung comment ไดเชนเดียวกัน 6.5.1 การแกไข I/O comment เราสามรถแกไขและเพิ่ม I/O comment โดยใชรายการแอดเดรส 1. เลือก [Edit] - [I/O Comment] จาก Main menu หนาตาง I/O comment จะปรากฎออกมาดังนี้ - 121 - บทที่ 6 การใชซอฟตแวรปอนโปรแกรม PNSPO 2. ให Double-click แอดเดรสทีค่ ณ ุ ตองการปอนหรือแกไข I/O comment พืน้ ที่สําหรับปอน I/O comment จะใชงานได จากนัน้ ใหปอ นหรือแกไข I/O comment - 122 - บทที่ 6 การใชซอฟตแวรปอนโปรแกรม PNSPO 6.5.2 การปอน Rung comment 1. Double-click ที่ Rung header สําหรับ Rung ที่คุณตองการใส Comment ไดอะลอกบลอก ‘Rung Properties’ จะปรากฎขึ้น 2. คลิกที่ General ปอน Comment ตามที่ตองการ 3. ปดไดอะลอกบลอก ‘Rung Properties’ Comment ที่ปอ นจะปรากฎบนโปรแกรมแลดเดอร - 123 - บทที่ 6 การใชซอฟตแวรปอนโปรแกรม PNSPO ¾ 6.5.3 การแกไข Rung ¾ การลบ • หนาคอนแทค/คําสั่ง 1. วาง Cursor บนคอนแทคหรือคําสั่งที่ตองการจะลบ จากนั้นกดคีย [Delete] • Rung 1. คลิกที่ Rung header โปรแกรมใน Rung จะถูกลบทั้งหมด 2. จากนั้นกดคีย [Delete] Rung ที่เลือกไวจะถูกลบทั้งหมด - 124 - บทที่ 6 การใชซอฟตแวรปอนโปรแกรม PNSPO 6.5.4 การลากเสนแนวนอนและแนวตั้งเพื่อเชื่อมสัญลักษณแตละตัว ในกรณีที่ตองการเชื่อมตอสัญลักษณโดยการลากเสนในแนวนอน ใหคลิกที่สัญลักษณ รูปเสนในแนวนอน (Horizontal Line) จากนั้นคลิกที่ตําแหนงชอง Cell ที่ตองการวางรูปเสน ก็จะเปน การวางรูปเสนในแนวนอนลงไปบนชอง Cell นั้น แตถาตองการลากเสนในแนวตั้งเพื่อตองการจะตอรูปสัญลักษณแบบขนาน จะมีจุด สังเกต โดยดูตามรูป 1. คลิกสัญลักษณของเสนใหยบุ ลงไป เลือกตรงตําแหนงมุมของกรอบ 2. นํามาคลิกที่ตําแหนงที่ตอ งการโดยเลือก คลิกที่ตําแหนงมุมของกรอบที่เหลี่ยมที่ ตองการลากเสนแนวตั้ง 3. ในกรณีที่ตอ งการลบเสนใหใชเมาสคลิกอีกครั้งหนึ่งที่ตําแหนงเดิม 4. หลังจากนัน้ จึงนําสัญลักษณที่เปน Contact มาวางขนานดังรูป - 125 - บทที่ 6 การใชซอฟตแวรปอนโปรแกรม PNSPO 6.6 การ Online 6.6.1 การ Online เพื่อ Transfer โปรแกรม เมื่อตองการ Transfer โปรแกรมหรือทําการ Setting การทํางานตางๆ ของ PLC เราตอง ทําการ Online กอน 1. ใช CX-programmer เปดโปรแกรมที่ตองการ Transfer 2. เลือก [PLC] - [Work Online] จาก Main menu ไดอะลอกบลอกจะปรากฎขึน้ เพื่อใหยอมรับการ Online 3. คลิก [Yes] ไดอะลอกบลอกจะปด เมื่อระบบ Online ไดสําเร็จ สวนที่เปนแลดเดอรจะเปลี่ยนเปนสีเทาออน - 126 - บทที่ 6 การใชซอฟตแวรปอนโปรแกรม PNSPO หมายเหตุ ถาไมสามารถ Online ได กรุณาตรวจสอบการตัง้ คา PLC type และ Communication setting 6.6.2 การทํา Auto-online เราสามารถทํา Auto-online ในกรณีที่ไมทราบรุนและการตั้งคาพอรตสื่อสารของ PLC เมื่อเปดซอฟตแวร ตัว CX-Programmer ขึน้ มาในขั้นตอนแรก จะขึ้นหนาจอดังรูป 1.เลือกที่เมนู [PLC]-[Select Serial Port] เพื่อเลือก Comport ของ Computer ทีใ่ ชงาน 2.เลือกพอรตสื่อสาร ของ Computer ทีใ่ ชงาน เชน COM1, COM2 - 127 - บทที่ 6 การใชซอฟตแวรปอนโปรแกรม PNSPO 3.หลังจากนัน้ เลือก Auto Online 4.ในขณะทํา Auto Online โปรแกรมจะทํา การเลือกรุนของ PLC, Communication Setting และ Protocol ที่ใชงานใหอัตโนมัติ หลังจาก Online แลวจะ Load โปรแกรม ขึน้ มาอยูบนคอมพิวเตอรอตั โนมัติ - 128 - บทที่ 6 การใชซอฟตแวรปอนโปรแกรม PNSPO 6.7 การเปลี่ยนโหมด PLC เปลี่ยนโหมด PLC ไปที่ PROGRAM ขัน้ ตอนตางๆ แสดงไดดังตอไปนี้ 1. เลือก [PLC] - [Operating Mode] - [Program] จาก Main menu หรือคลิกที่ Toolbar จากนั้นไดอะลอกบลอกสําหรับการเปลี่ยนโหมด จะปรากฎขึ้น ใหเลือก Program 2. คลิก [Yes] โหมดการทํางานจะเปลีย่ นไปตามที่เลือก โหมดการทํางานจะถูกแสดงที่ Title bar และ Project tree - 129 - บทที่ 6 การใชซอฟตแวรปอนโปรแกรม PNSPO • โหมดการทํางานของ PLC PLC จะมีโหมดการทํางานอยู 3 โหมด คือ PROGRAM, MONITOR และ RUN การ เปลี่ยนโหมดจะมีผลตอการทํางานของ PLC ซึ่งอธิบายไดดังตอไปนี้ โหมด PROGRAM ในโหมดนี้โปรแกรมจะหยุดการทํางาน ซึง่ เหมาะสําหรับ การเตรียมการเพื่อใชในการตั้งคาตางๆ เชน PLC setup, Transfer โปรแกรม และการทํา Force-set/Force-reset โหมด MONITOR ในโหมดนี้โปรแกรมจะทํางาน แตสามารถทํา Online edit, Force-set/Force-reset และเปลี่ยนคาในหนวยความจําได โหมดนี้เหมาะสําหรับการปรับแตงระหวางการทดสอบ โปรแกรม ในโหมดนี้โปรแกรมจะทํางาน ใชโหมดนี้เพื่อการควบคุม โหมด RUN แบบปกติ ตารางขางลางนี้แสดงความสัมพันธระหวางสถานะการทํางานในแตละโหมด Operating Mode Program status I/O refreshing External I/O status I/O memory Non-holding memory Operations from I/O memory monitoring CX-Programmer Program monitoring Program From PLC transfer To PLC Compiling PLC setup Changing program Force-setting/Force-resetting Changing timer/counter SV Changing timer/counter PV Changing I/O memory PV PROGRAM Stopped Execute OFF Cleared OK OK OK OK OK OK OK OK OK OK OK - 130 - RUN Running Execute ขึน้ อยูกบั โปรแกรม ขึน้ อยูกบั โปรแกรม OK OK OK X X X X X X X X MONITOR Running Execute ขึ้นอยูกับโปรแกรม ขึ้นอยูกับโปรแกรม OK OK OK X X X OK OK OK OK OK บทที่ 6 การใชซอฟตแวรปอนโปรแกรม PNSPO 6.8 การ Transfer โปรแกรม 1. เลือก [PLC] - [Transfer] - [To PLC] จาก Main menu ไดอะลอกบลอก ‘Download Options’ จะปรากฎขึ้น 2. เลือกสิ่งที่ตอ งการดาวนโหลด โดยคลิกในเช็คบล็อกจากนั้นคลิก [OK] - 131 - บทที่ 6 การใชซอฟตแวรปอนโปรแกรม PNSPO 3. คลิก [Yes] ถาไดอะลอกบลอกนี้ปรากฎขึน้ ถาไดอะลอกบล็อกนี้ปรากฎขึ้น ใหคลิก [Yes] อีกครั้งหนึ่ง การ Transfer จะเริ่มขึ้น 4. คลิก [OK] การ Transfer โปรแกรมเสร็จสิ้น - 132 - บทที่ 6 การใชซอฟตแวรปอนโปรแกรม PNSPO 6.9 การทํา Force-set/Force Reset CX-programmer สามารถควบคุมอุปกรณ I/O ตางๆ ไดอยางอิสระโดยใชฟงกชนั นี้ ซึง่ สามารถ สั่งใหบิตตางๆ เหลานั้น On หรือ Off ไดตามตองการ 1. เปลี่ยนโหมด PLC ไปที่ MONITOR หรือ PROGRAM 2. วาง Cursor ที่ตําแหนงที่ตองการทํา Force-set 3. เลือก [PLC] - [Force] - [On] จาก Main menu - 133 - บทที่ 6 การใชซอฟตแวรปอนโปรแกรม PNSPO เมื่อทําการ Force-set หนาคอนแทคนั้นจะมีสัญลักษ Force-set ปรากฎอยู หมายเหตุ - เลือก [On] เพื่อบังคับใหหนาคอนแทค ON และเลือก [Off] เพื่อบังคับให หนาคอนแทค OFF - ถาตองการยกเลิก force-set/force-reset ใหเลือก [Cancel] - พืน้ ที่หนวยความจําที่สามารถ force-set/force-reset ได CIO area, work area (WR), timer completion flag, holding area (HR), counter completion flag - 134 - บทที่ 6 การใชซอฟตแวรปอนโปรแกรม PNSPO 6.10 การเปลี่ยนคา Timer คาตั้งเวลาของ Timer หรือหนวยความจําตางๆ สามารถเปลี่ยนแปลงไดระหวางทํางาน เพื่อให ไดคา ที่เหมาะสม 1. เปลี่ยนโหมด PLC ไปที่ MONITOR หรือ PROGRAM 2. Double-click คา Setting ของ timer ที่ตองการจะเปลีย่ น ไดอะลอกบลอก ‘Set Timer/Counter Value’ จะปรากฎขึน้ 3. ปอนคาใหม จากนั้นคลิก [OK] คา Setting ของ Timer จะเปลี่ยนเปนคาใหม - 135 - บทที่ 6 การใชซอฟตแวรปอนโปรแกรม PNSPO 6.11 เทคนิคการใชงานอื่นๆ 6.11.1 การแทรก/ลบ Rung แตละชองของ Ladder Diagram เรียกวา 1 รัง (Rung) หรือ 1 เน็ตเวิรก (Network) หมายเลข Rung <Rung ที่ 0> แถวที่ 1 เสนแนวตั้ง แถวที่ 2 6.11.1.1) เงื่อนไขในการแยก Rung ใหสังเกตเสนแนวตั้งระหวาง Ladder Diagram แต ละบรรทัดวามีเสนแนวตั้ง ลากเชื่อมตอระหวางแถวหรือไม - ถามีเสนแนวตั้งตองเขียน Ladder Diagram ใน Rung เดียวกัน เชน Ladder Diagram ใน Rung ที่ 0 มีเสนแนวตั้งลากเชื่อมตอระหวางแถวที่ 1 และ 2 ดังนั้นจึงเปน Rung เดียวกัน - ถาไมมเี สนแนวตั้ง ใหแยก Rung เชน Rung ที่ 0 กับ Rung ที่ 1(ที่มีคาํ สั่ง END(01)) แยกกันคนละ Rung - 136 - บทที่ 6 การใชซอฟตแวรปอนโปรแกรม PNSPO 6.11.1.2) การแทรก Rung สามารถทําไดหลายวิธีดังนี้ วิธีที่ 1 เลือกที่ Rung ที่ตองการ แลว คลิกขวา จะปรากฎหนาจอดังรูป - เลือก<Rung>-<Insert Below> หมายถึง เพิ่ม Rung เขาไปทางดานลางของ Rung ที่เลือก - เลือก<Rung>-<Insert Above> หมายถึง เพิ่ม Rung เขาไปทางดานบนของ Rung ที่เลือก วิธีที่ 2 เลือกทางดานหนาของ Rung (จะปรากฎแถบสีฟาครอบคลุมพื้นที่ของ Rung นัน้ ทั้งหมด) แลวคลิกขวา จะปรากฎหนาจอดังรูป - 137 - บทที่ 6 การใชซอฟตแวรปอนโปรแกรม PNSPO - เลือกที่ <Insert Below> เพื่อเพิ่ม Rung เขาไปทางดานลางของ Rung ทีเ่ ลือก - เลือกที่ <Insert Above> เพือ่ เพิ่ม Rung เขาไปทางดานบนของ Rung ทีเ่ ลือก วิธีที่ 3 เลือกที่ Rung แลวเขาที่เมนู<Insert>-<Rung>-<Below> (กดปุม R บน Keyboard) หรือเลือก<Above> (กดปุม Shift+R บน Keyboard) ดังรูป - 138 - บทที่ 6 การใชซอฟตแวรปอนโปรแกรม PNSPO 6.11.1.3) การลบ (Delete) Rung, Copy และ Cut Rung สามารถทําการลบ (Delete) Rung นัน้ ทิ้งหรือการ Copy Rung นัน้ ไวแลวนํา ไปวาง (Paste) ไวที่อื่นเพื่อไปทําการแกไขดัดแปลงเล็กนอย ถาโปรแกรม สวนนั้นมันคลายๆ กันแทนที่จะตองเขียนใหมทั้ง Rung หรือทําการ Cut เพื่อ ยายตําแหนง Rung นัน้ ไปไวที่ตําแหนงอืน่ ของโปรแกรมไดโดยการใชการ Cut, Copy และ Paste เชนเดียวกับโปรแกรมอื่นๆ ทัว่ ไปที่ทาํ งานบน MS-Windows ดังรูป 1. คลิกที่ชองสีเทาดานหนาเพื่อ เลือก Rung ที่ จะทําการลบ (Delete), copy, หรือ cut 2. แลวจะขึ้น Pop-up Menu มาให คลิกเลือก วาจะทําการ cut, copy, paste, หรือ delete ได - 139 - บทที่ 6 การใชซอฟตแวรปอนโปรแกรม PNSPO หรือสามารถใชปุมที่ toolbar หรือจะใชเมนู ดานบนของโปรแกรมก็ได หรืออาจใชการกด Key เชน กด Shift+Del หรือ Ctrl+ x เพื่อ Cut กด Ctrl + c เพื่อ Copy, กด Ctrl + v เพื่อ Paste(วาง), กด Del เพื่อ ลบ, 1. คลิกที่นี่ (บริเวณสีเทา) เพือ่ เลือก Rung ที่เราตองการ จะ copy ไปไวที่อื่น แลวกดคีย Ctrl + C หรือ คลิก - 140 - บทที่ 6 การใชซอฟตแวรปอนโปรแกรม PNSPO 2. คลิกเลือกตําแหนง Rung ที่ตองการจะเอา Rung ที่ เรา Copy ไวไปแทรก แลวกด Ctrl + V หรือคลิก 3. Rung ที่แทรกเพิ่มเขามาแลวดัน Rung ที่มีฟงกชัน End ลงไป 4. ดัดแปลงแกไข Rung นี้จากสัญลักษณรูปเดิมไดโดย ไมตองมาวางสัญลักษณบน Rung ใหมทั้งหมด (กรณีที่ Rung ที่จะเขียนใหม คลายกันกับ Rung เดิม) - 141 - บทที่ 6 การใชซอฟตแวรปอนโปรแกรม PNSPO 6.11.2 แทรก/ลบแถวแนวนอนและแนวตัง้ (Row/Column ) สามารถทําไดหลายวิธีเชนเดียวกับการแทรก Rung ดังนี้ วิธีที่ 1 คลิกขวาภายใน Rung ที่ตองการแทรก Row/Column ดังรูป <Insert Row>-เพิ่มแถวทางแนวนอน <Insert Rung Column>-เพิ่มแถวทางแนวตัง้ <Delete Row>-ลบแถวทางแนวนอน <Delete Rung Column>-ลบแถวทางแนวตัง้ - 142 - บทที่ 6 การใชซอฟตแวรปอนโปรแกรม PNSPO วิธีที่ 2 คลิกเมาสภายใน Rung ที่ตองการเพิม่ แถว หลังจากนั้นเขาไปทีเ่ มนู<Insert><Row>(กดปุม Ctrl+Alt+Down) หรือ <Column> (กดปุม Ctrl+Alt+Right) ดังรูป จากที่กลาวมาขางตน เปนการแนะนําวิธีใชซอฟตแวร CX-Programmer ในการเขียนโปรแกรม ใหกับพีแอลซี ซึง่ การเขียนนั้นสามารถทําได 2 แบบ คือ การใชเมาสกับการใชคียบ อรด แตทา นตองมี พืน้ ฐานความรูเกี่ยวกับคําสัง่ ตางๆ เพื่อใชประกอบความเขาใจ ขอแนะนําที่อยูใ นบทนี้จะครอบคลุมการ ใชงานพื้นฐานที่จําเปนสําหรับการเขียนโปรแกรม ถาตองการทราบวิธีการใชงานที่สงู กวานี้สามารถ ศึกษาเพิ่มเติมไดจาก Help และคูมอื การใชงานของซอฟตแวร - 143 - บทที่ 7 ตัวอยางการประยุกตใชงาน เนื้อหาในบทนี้จะกลาวถึงตัวอยางการประยุกตใชงานโดยนําเอาคําสั่งพื้นฐานตางๆ ที่กลาว ในบทที่ 5 มาสรางโปรแกรมใหไดการทํางานตามที่โจทยกําหนดไว พรอมเฉลยโปรแกรมใน ตัวอยางเพื่อประกอบความเขาใจ 7.1 ตัวอยางการประยุกตใชงานโดยใชคําสั่ง Timer Host Player 1 Player 2 Player 3 Buzzer <กติกาการเลน> หลังจากที่สนิ้ สุดคําถามจากผูดาํ เนินรายการ (Host) ใหผแู ขงขัน 3 คน แยงกันกดสวิตชที่อยู ขางหนาเพื่อตอบคําถาม และผูที่กดสวิตชไดกอนจะมีเสียง Buzzer ดังขึ้นประมาณ 10 วินาที ขณะเดียวกันจะมีหลอดไฟติด ที่หนาผูแขงขันที่กดกอน โดยผูดําเนินรายการสามารถกดปุม Reset กอนถึงเวลา10 วินาทีก็ได -144- บทที่ 7 ตัวอยางการประยุกตใชงาน PNSPO I/O Assignment Input I0.00 I0.01 I0.02 I0.03 - PB1 PB2 PB3 RST (Reset) Q100.00 Q100.01 Q100.02 Q100.03 - Output Buzzer Player 1 Light Player 2 Light Player 3 Light Ladder Diagram : Main 1 Rung 1 Main 1 – Who press first (Priority Determination) This program is to determine which players press the switch first, after the host have finished asking a question. Rung 1 – Interlocked Interlocked Rung for 3 player playing the game I 0.00 Q 100.02 Q 100.03 W 5.01 PB1 PP1 I0.01 PB2 I 0.02 PLAYER2 PLAYER3 Reset Q 100.01 Q 100.03 PLAYER1 PLAYER3 Q 100.02 Q 100.01 PB3 W 5.00 PLAYER2 PLAYER1 TIM0000 W 5.00 Rung 2 – Buzzer ON Buzzer when any switch is pressed and timer will cut the buzzer after specified time Q 100.00 W 5.00 BUZZER TIM 0000 #0100 Rung 3 – Player 1 Player 1 Rung I 0.00 PB1 Q 100.01 Q 100.02 Q 100.03 PLAYER2 PLAYER3 I 0.03 Q 100.01 RST PLAYER1 PLAYER1 - 145 - บทที่ 7 ตัวอยางการประยุกตใชงาน PNSPO Rung 4 – Player 2 Player 2 Rung I 0.01 PB2 Q 100.02 Q 100.01 Q 100.03 PLAYER1 PLAYER3 I 0.03 Q 100.02 RST PLAYER2 I 0.03 Q 100.03 RST PLAYER3 PLAYER2 Rung 5 – Player 3 Player 3 Rung I 0.02 Q 100.01 Q 100.02 PB PLAYER1 PLAYER2 Q 100.03 PLAYER3 Rung 6 – Reset Reset for the Game I 0.03 W 5.01 RST RESET Rung 7 END(01) - 146 - บทที่ 7 ตัวอยางการประยุกตใชงาน PNSPO 7.2 ตัวอยางการควบคุมการปด-เปดประตู จากรูป เมื่อรถวิ่งเขาใกลประตู สัญญาณจากเซนเซอรอุลตราโซนิคจะสั่งใหประตูเปด และ เมื่อรถผานไป จะสั่งใหประตูปดตามเดิม Ultrasonic Sensor Door position Maker Pushbutton CP1L Photoelectric Sensor I/O Assignment Input I0.00-Ultrasonic sensor I0.01-Photoelectric sensor I0.02-Door Upper limit switch I0.03-Door Lower limit switch Output Q100.00-Motor to raise door Q100.01-Motor to lower door - 147 - บทที่ 7 ตัวอยางการประยุกตใชงาน PNSPO Ladder Diagram : Main 1 Rung 1 Main 1 – Auto door This program shows the automatic control of warehouse door. Rung 1 – Raise door I 0.00 I 0.02 Q 100.01 Q 100.00 Ultra sensor Q 100.00 Upper LS Lower Raise door Raise door Rung 2 – Photo sensor Sense unit differentiation down I 0.01 Photo sensor DIFD(14) W2.00 Rung 3 – Lower door W 2.00 I 0.03 Q 100.01 Lower LS Q 100.00 Raise door Q 100.01 Lower door Lower door Rung 4 – End END(01) Timing diagram I0.00 Ultrasonic switch I0.02 Upper limit sensor Q100.00 Motor to raise door I0.01 Photoelectric sensor W 2.00 DIFD I0.03 Lower limit switch Q100.01 Motor to low door - 148 - บทที่ 7 ตัวอยางการประยุกตใชงาน PNSPO 7.3 ตัวอยางการควบคุมระบบ Lubrication ของเกียรแบบอัตโนมัติ เมื่อเกียรเคลื่อนที่มายังตําแหนง S1 จะสั่งให Valve (V1) จายน้ํามันหลอลื่นใหกบั ชุดเกียร โดยใชเวลาเปนตัวสั่งหยุดจายน้ํามันหลอลื่น ถาน้ํามันหลอลื่นในแท็งก (Tank) ลดลงต่ํากวา Sensor (S2) ก็จะไปสั่งให Alarm ดังขึ้น V1 S2 S1 Lubricating Oil Tank Oil shortage alarm indicator I/O Assignment Input I0.00-Position detection (S1) I0.01-Lower limit of level (S2) Output Q100.00-Electromagnetic valve for oil supply Q100.01-Oil shortage alarm indictor - 149 - บทที่ 7 ตัวอยางการประยุกตใชงาน PNSPO Ladder Diagram : Main 1 Rung 1 Main 1 – Auto lubricate Auto lubrication of gear Rung 1 – Start I 0.00 Position detection DIFD(13) W 2.00 Rung 2 – Open valve Open valve and delay 1.5 sec. W 2.00 TIM0000 Q 100.00 Q 100.00 Valve close Valve opens TIM0000 Valve close #0015 Valve opens Rung 3 – Oil shortage Q 100.01 I 0.01 Lower level Oil shortage Alarm Rung 4 – End END(01) Timing diagram I0.00 Position Detection W 2.00 Q 100.00 DIFU Valve Opens 1 scan time 1.5 sec TIM 0000 I 0.01 Q100.01 Timer’s preset time Lower limit of oil level Oil shortage alarm indicator - 150 - บทที่ 7 ตัวอยางการประยุกตใชงาน PNSPO 7.4 ตัวอยางการลําเลียงแผนทองแดงบนสายพานลําเลียง มอเตอร 3 จะหมุนตลอดเวลา ขณะที่มอเตอร 2 จะหมุนเมื่อแผนทองแดงวิ่งผาน Sensor 3 และจะหยุดหมุนเมื่อแผนทองแดงวิ่งผาน Sensor 2 หรือหมุนครบเวลา 2 วินาที สวนมอเตอร 1 จะ หมุนเมื่อแผนทองแดงวิ่งผาน Sensor 2 และจะหยุดหมุนเมื่อแผนทองแดงวิ่งผาน Sensor 1ไปแลว 2 วินาที Copper plate Sensor 3 Sensor 2 Motor 3 Sensor 1 Motor 2 Motor 1 CP1H I/O Assignment Input I0.00-Sensor 1 I0.01- Sensor 2 I0.02- Sensor 3 Output Q100.00-Motor 1 Q100.01-Motor 2 Q100.02-Motor 3 - 151 - บทที่ 7 ตัวอยางการประยุกตใชงาน PNSPO Ladder Diagram : Main 1 Rung 1 Main 1 – Conveyor control Conveyor belt control application Rung 1 – Motor 2 I 0.02 TIM 0000 Q 100.01 S3 Q 100.01 Motor 2 Motor 2 Rung 2 – Motor 1 I 0.01 TIM 0001 Q 100.00 S2 Q 100.00 Motor 1 Motor 1 Rung 3 – Delay for 2 sec Q 100.00 Motor 1 I 0.01 S2 TIM 0000 #0020 Rung 4 – Sensor 1 I 0.00 TIM 0001 W 2.00 S1 W 2.00 Rung 5 - Delay for 2 sec W 2.00 I 0.00 S1 TIM 0001 #0020 - 152 - บทที่ 7 ตัวอยางการประยุกตใชงาน PNSPO Rung 6 – Motor 3 P-On Q 100.02 Always ON Flag Motor 3 Rung 7 – End END(01) - 153 - บทที่ 7 ตัวอยางการประยุกตใชงาน PNSPO 7.5 ตัวอยางการใช Line Control ในการ Packing START (0.00) PB1 STOP (0.01) PB2 (100.00) APPLE CONVEYOR SE (0002) PART SENSOR SE (0.03) BOX (100.01) BOX CONVEYOR เงื่อนไขการทํางาน : เมื่อกด PB 1 (Start) เพื่อเริ่มตนการทํางาน กลองที่จะใสลูกแอปเปลจะถูกลําเลียงมาโดย สายพานลําเลียง และจะหยุดเมื่อกลองที่จะใสลูกแอปเปลมาบัง Sensor (SE2) หลังจากนั้นสายพาน ลําเลียงแอปเปลจะลําเลียงแอปเปลลงกลองจํานวน 10 ลูก ซึ่งเช็คโดย Sensor (SE1) เมื่อครบ 10 ลูก แลว สายพานลําเลียงแอปเปลจะหยุดหมุน และสายพานลําเลียงที่ลําเลียงกลองแอปเปลจะหมุน กลองที่ใสแอปเปลใบใหม เขามาแทนที่และระบบการทํางานจะเปนอยางนี้เรื่อยไปจนกวาจะกด PB2 (Stop) เพื่อหยุดการทํางาน - 154 - บทที่ 7 ตัวอยางการประยุกตใชงาน PNSPO I/O Assignment Input I0.00 I0.01 I0.02 I0.03 Devices START Push button (PB1) STOP Push button (PB2) Part Present (SE1) Box Present (SE2) Output Q100.00 Q100.01 Devices Apple Conveyor Box Conveyor I0.00 I0.01 I0.02 I0.03 W2.00 CNT 0010 Q100.00 Q100.01 Mnemonic Codes Address 0000 0001 0002 0003 0004 0005 0006 0007 Instruction LD OR AND NOT OUT LD AND NOT OUT LD Data 0.00 W 2.00 0.01 W 2.00 W 2.00 100.01 100.00 0.02 Address 0008 0009 0010 0011 0012 0013 0014 - 155 - Instruction LD NOT CNT LD CNT OR NOT AND OUT END (01) Data 0.03 0010 # 0010 0010 0.03 W 2.00 100.01 บทที่ 7 ตัวอยางการประยุกตใชงาน PNSPO Ladder Diagram : Main 1 Rung 1 Main 1 – Packing Packing line control for Apples Rung 1 – Start condition I 0.00 I 0.01 W 2.00 PB1 W 2.00 PB2 RUN Q 100.01 Q 100.00 RUN Rung 2 – Apples conveyor W 2.00 RUN Box Conveyor Apple Conveyor Rung 3 – Counter Counter preset at 10 I 0.02 CNT SE1 I 0.03 0010 #0010 SE2 Rung 4 – Box conveyor CNT 0010 W 2.00 S1 I 0.03 RUN Q 100.01 Box Conveyor SE2 Rung 5 – END END(01) - 156 - บทที่ 7 ตัวอยางการประยุกตใชงาน PNSPO 7.6 ตัวอยางการควบคุมจํานวนรถในลานจอดรถ ในลานจอดรถแหงนี้ สามารถจอดรถไดเพียงแค 100 คัน ตลอดเวลาจะมีรถเขา-ออก ที่ ทางเขาจะมี Sensor (S1) และทางออกจะมี Sensor (S2) พรอมกับมีปายแสดง (หลอดไฟนีออน) แสดงวารถเต็มลานจอดรถแลวเมื่อครบ 100 คัน (Q100.00) Car incoming in S1 (I0.00) Car going out S2 (I0.01) I/O Assignment INPUT I0.00 - Sensor S1 I0.01- Sensor S2 OUTPUT Q100.00 - Car park full sign - 157 - บทที่ 7 ตัวอยางการประยุกตใชงาน PNSPO Ladder Diagram : Main 1 Rung 1 Main 1 – Car Park Control Application: Car Park Control Rung 1 – Car in I 0.00 S1 DIFU(13) W 2.00 Car in Rung 2 – Add 1 W 2.00 CLC(41) Car in ++B(594) H0000 #0001 H0000 Rung 3 – Car out I 0.01 S2 DIFU(13) W 2.01 Car out Rung 4 – Subtract 1 W 2.01 CLC(41) S2 --B(596) H 0000 #0001 H0000 - 158 - บทที่ 7 ตัวอยางการประยุกตใชงาน PNSPO Rung 5 – Compare P_On CMP(20) H0000 #0001 Always ON Flag P_EQ Equals(EQ)Flag P_GT Q 100.00 Car Park full Greater Than Rung 6 - End End(01) - 159 - บทที่ 8 การประยุกตใชงานกับเซอรโวมอเตอร ในบทนี้เหมาะสําหรับทานที่มปี ระสบการณการใชงาน PLC มาบางแลว เนื้อหาจะกลาวถึง การควบคุมเซอรโวมอเตอรดวย PLC อยางงายๆ โดยการประยุกตใชฟง กชันบลอก ภายในเนื้อหา จะไมลงรายละเอียดเกี่ยวกับหลักการทํางานของเซอรโวมอเตอร แตจะเนนที่การตอใชงานและ เขียนโปรแกรมควบคุมเทานั้น 8.1 หลักการควบคุมเบื้องตน ในรูปที่ 8.1 แสดงบลอกไดอะแกรมของระบบควบคุมเซอรโวมอเตอรเบื้องตน โดยปกติ ระบบควบคุมเซอรโวมอเตอรจะมีองคประกอบหลักในการทํางานดังนี้ มอเตอร : ทําหนาที่ขบั โหลดมีทั้งชนิดที่มีเบรคและไมมเี บรค เอ็นโคดเดอร : ติดอยูกบั ตัวมอเตอรเพื่อทําหนาที่ปอนกลับการเคลื่อนที่ของมอเตอร ดังนั้นเราสามารถทราบตําแหนงและความเร็วของการหมุนไดจากเอ็นโคดเดอรนี้ เซอรโวไดรเวอร : ในปจจุบันจะรวมสวนที่เปนเซอรโวคอนโทรลเลอรและ Positioning controller ไวดวยกันซึ่งเซอรโวคอนโทรลเลอรจะทําหนาที่เปนตัวจายไฟ ใหกับมอเตอร สวน Positioning controller จะทําหนาที่ควบคุมตําแหนงการเคลื่อนที่ ของมอเตอรโดยรับคําสั่งมาจากอุปกรณภายนอก เชน PLC เปนตน PLC : จะทําหนาในการสงคําสั่งไปยังเซอรโวไดรเวอรในรูปแบบตางๆ เชนอนาลอก และพลัส เปนตน จากนั้นเซอรโวไดรเวอรจะควบคุมใหมอเตอรหมุนใหไดตําแหนง และความเร็วตามที่ไดรบั คําสั่ง -160- PNSPO! ! บทที่ 8 การประยุกตใชงานกับเซอรโวมอเตอร รูปที่ 8.1 หลักการควบคุมเซอรโวมอเตอร จากรูป 8.1 การทํางานจะเริ่มโดย PLC สง Position command ซึ่งเปนสัญญาณพลัสหรือ อนาลอกใหกับ Position controller ที่อยูในเซอรโวไดวเวอร จากนั้น Position controller จะสั่งให Amplifier จายกระแสไฟใหกับมอเตอรเพื่อทําใหมอเตอรหมุนใหไดความเร็วและระยะตามคําสั่ง เอ็นโคดเดอรที่ติดอยูกบั มอเตอรจะทําหนาที่ปอนกลับขอมูลระยะและความเร็วในการหมุนกลับไป ที่ Position controller ซึง่ มันจะมี Counter ทําหนาที่เปรียบเทียบกับคําสั่งที่ไดรับจาก PLC ถายังมี ความแตกตางกันมันสงสัญญาณไปที่ Amplifier เพื่อสั่งใหมอเตอรหมุนใหไดระยะและความเร็ว ตามตองการ 8.2 โครงสรางของเซอรโวมอเตอร เซอรโวมอเตอรของออมรอนเปนประเภท AC Servo Motor แบบ Synchronous Servo Motor มีลักษณะของโครงสรางดังนี้ รูปที่ 8.2แสดงโครงสรางของเซอรโวมอเตอร - 161 - PNSPO! ! บทที่ 8 การประยุกตใชงานกับเซอรโวมอเตอร สวนของสเตเตอรเปนขดลวดพันในรองสล็อต สวนโรเตอรเปนแมเหล็กถาวร ดังนั้นความ สัมพันธของคาพารามิเตอร ตางๆ จะคลาย DC motor และมอเตอรประเภทนี้ไมมีแปรงถานบางทีจึง เรียกวา เซอรโวมอเตอรแบบ DC Brushless สวนตัวเอ็นโคดเดอรจะตออยูกับเพลาเดียวกับโรเตอร 8.3 หลักการทํางานของเอ็นโคดเดอร เอ็นโคดเดอรที่นิยมใชกับเซอรโวมอเตอรมอี ยูดวยกัน 2 ชนิด ดังนี้ • เอ็นโคดเดอรแบบ Incremental จากรูปดานลาง แสดงสวนประกอบของเอ็นโคดเดอรชนิดนี้ โดยลําแสงจะถูกยิงจาก lighting diode ผาน fixed disc ไปยัง rotation disc ที่ติดตั้งอยูบนแกนเพลา โดยมี photo diode เปน ตัวรับแสง ลําแสงจะผานรูบน fixed disc และ rotation disc ตามจังหวะของการหมุนทําใหได สัญญาณไฟฟาออกมาจาก photo sensor เนื่องจากรูของ A และ B บน fixed disc จะตางเฟสกันอยู 90 องศา ดังนั้นสัญญาณเอาตพุตทางไฟฟาจะไดรปู คลื่นที่ออกมาตางเฟสกันอยู 90 องศา ตามรูป สวนรูของ Z บนfixed disc จะมีเพียงรูเดียวเทานั้น ถานับคาเพาสที่ไดจากตัวเอ็นโคดเดอรจะเปนคามุมของการหมุนนั่นเอง สวนเอาตพุต เฟส A และ B ที่ตางเฟสกันอยู 90 องศาจะเปนตัวชี้ถึงทิศทางการหมุนของมอเตอร สวนเฟส Z หรือ Zero signal เปนตัวชี้ถึงจุด 0 องศาของการหมุน - 162 - PNSPO! ! บทที่ 8 การประยุกตใชงานกับเซอรโวมอเตอร รูปที่ 8.3แสดงโครงสรางและกราฟการทํางานของเอ็นโคดเดอร • เอ็นโคดเดอรแบบ Absolute โดยทั่วไป absolute encoder จะมีเอาตพตุ โคดใหเลือกเชน gray code, binary หรือ BCD code แตสาํ หรับการเลือกประเภทของ detector ของตัวเซอรโว ไมจําเปนตองเลือกโคดของ เอาตพุต ใหเลือกแตเพียงความละเอียดที่ตองการใชงานเทานั้น จะสังเกตเห็นวาสิ่งที่แตกตางจาก incremental encoder ก็คอื จํานวนของสายสัญญาณเอาตพตุ ที่มีจาํ นวนมากกวาแบบ incremental ซึ่ง จะขึ้นอยูกับความละเอียดที่เลือกใช และอีกประการหนึ่งคือ ความหมายของสัญญาณของ absolute encoder ณ เวลาหนึง่ จะใหคาออกมาเปนคาสมบูรณ ไมใชเปนคาที่เปรียบเทียบจากจุดเริ่มตน เหมือนกับแบบ incremental encoder ดังนั้นถาเซอรโวมอเตอรที่มี detector แบบ absolute encoder ก็ไมจําเปนจะตอง search หาตําแหนงเริ่มตน (origin search) ใหมทุกครั้งที่ ปดเครื่องแลวเปดเครื่อง ขึน้ มาใชงานใหม 8.4 ชนิดของอินพุตควบคุมสําหรับเซอรโวไดวเวอร อินพุตของเซอรโวไดวเวอร ที่ตอใชงานกับ PLC มีอยูดวยกันหลายแบบแตที่นิยมมากที่สุด คือ แบบ Pulse Train และ Linear (หรือ Analog) ซึ่งทั้ง 2 แบบจะเหมาะสมกับงานที่แตกตางกัน แบบ Pulse trainจะเหมาะกับงานควบคุมตําแหนง เชน Feed-to-Cut และ Pick & Place เปนตน สวนแบบ Linear จะใชกับงานที่เคลื่อนที่เปนเสนโคงหรือวงกลม ในที่นเี้ ราจะเนนการใชเซอรโว ไดวเวอรที่รับสัญญาณอินพุตแบบ Pulse train เพื่อใหงา ยในการทําความเขาใจสําหรับผูเริ่มตน - 163 - PNSPO! ! บทที่ 8 การประยุกตใชงานกับเซอรโวมอเตอร 8.4.1 PULSE TRAIN CONTROL จากรูปที่ 8.1 PLC จะสงสัญญาณเปนพลัสใหกับเซอรโวไดวเวอรจากนั้นไดวเวอร จะควบคุมการหมุนของมอเตอรใหไดตามการสั่งงานของ PLC ระยะในการเคลื่อนที่หรือการหมุน ของเซอรโวมอเตอรจะขึ้นอยูกับจํานวนพลัสที่ PLC สงให ขณะเดียวกันความเร็วของเซอรโว มอเตอรจะขึ้นอยูกับความเร็วหรือความถี่ของพลัสที่สงมาจาก PLC ดังแสดงในรูปที่ 8.4 ระยะการหมุน α จํานวนพลัส ความเร็ว α ความถี่ของพลัส Speed Pulse ความเร็วที่ 1 ความเร็วที่ 2 ความเร็วที่ 3 รูปที่ 8.4 กราฟแสดงพลัสที่จายใหกับเซอรโวไดวเวอร 8.4.2 PULSE WIDTH MODULATION (PWM) การทํางานจะคลายๆ กับ Pulse Train คือ ระยะทางการหมุนจะขึ้นอยูกบั จํานวน พลัส แตความเร็วของมอเตอรจะขึ้นอยูกับความกวางของพลัสดังแสดงในรูปที่ 8.5 Speed Pulse ความเร็วที่ 1 ความเร็วที่ 2 ความเร็วที่ 3 รูปที่ 8.5 กราฟแสดงพลัสที่จายใหกับเซอรโวไดวเวอร 8.4.3 LINEAR การควบคุมแบบนี้จะแตกตางจากทั้งสองแบบที่กลาวมาขางตน เพราะ PLC จะสง สัญญาณอนาลอกใหกับเซอรโวไดวเวอร ซึ่งไดวเวอรจะตองเปนชนิดที่สามารถรับสัญญาณควบคุม เปนอนาลอกได เชน ± 10Vdc - 164 - PNSPO! ! บทที่ 8 การประยุกตใชงานกับเซอรโวมอเตอร 8.5 การสรางระบบควบคุมของเซอรโวมอเตอร ในหัวขอที่กลาวมาขางตนเปนการอธิบายหลักการกวางๆ ของเซอรโวมอเตอร ตอไปนี้เรา จะเขาภาคปฏิบัติที่สามารถนําไปใชงานไดจริง แตจะเนนเฉพาะระบบควบคุมเปนหลัก เชน PLC และเซอรโวไดวเวอร เปนตน จะไมขอกลาวถึงระบบทางกล เชน Ball screw, สายพาน รวมถึงการ คํานวณทางกล เชน Torque เพื่อใหงายตอความเขาใจเราจะใชเซอรโวมอเตอรรุน Smart Step กับ CP1H เปนตัวอยาง ซึง่ ทานสามารถนําเอาตัวอยางดังกลาวนี้ไปประยุกตใชงานไดจริง ตัวอยางที่ 1 ระบบควบคุมการเคลื่อนที่แบบ Incremental การเคลื่อนที่แบบ Incremental เปนระบบที่เขาใจไดงา ย การหมุนของมอเตอรจะเริ่มที่จุด ใดก็ไดแตระยะการหมุนจะขึ้นอยูกับจํานวนพลัสที่ PLC สงให Driver สวนทิศทางจะขึ้นอยูกับ เครื่องหมายบวกหรือลบของคาจํานวนพลัส เชน -1000 หมายถึง หมุนทวนเข็มนาฬิกา 1000 พลัส ในตัวอยางนี้สมมติวามอเตอรตอกับบอลสกรูที่หมุน 1 รอบ มีระยะการเคลื่อนที่ 10 มม. และตั้งคา Resolution ของ Driver ไวที่ 1000 พลัสตอ 1 รอบ ถา PLC สงพลัสให Driver เทากับ 10,000 พลัส มอเตอรจะหมุนไป 10 รอบหรือ 10 ซม. ตอนี้ไปคือขั้นตอนตางๆ การทําระบบควบคุมเซอรโว มอเตอรแบบ Incremental (หรือ Relative) อยางงาย • ขัน้ ตอนที่ 1 การจัดองคประกอบ (Configuration) ในรูปที่ 8.6 แสดง Configuration ของระบบที่ตองจะควบคุมโดยใชสวิตช 2 ตัว ทําหนาที่ในการควบคุม START Switch คือ สวิตชที่ทาํ หนาที่สั่งใหเซอรโวมอเตอรเริ่มทํางาน รูปที่ 8.6 รูปแสดงระบบควบคุมเซอรโวมอเตอร - 165 - PNSPO! ! บทที่ 8 การประยุกตใชงานกับเซอรโวมอเตอร • ขั้นตอนที่ 2 การเดินสายไฟ จากรูปที่ 8.6 เราสามารถเขียนเปนผังการเดินสายไฟไดดังรูปที่ 8.7 ในรูปนี้เปน การแสดงการตอสายไฟระหวาง CP1H กับ Driver (รุน Smart Step) เทานั้นเพราะวาการเดินสายไฟ ระหวาง Driver กับ Motor นัน้ ทําไดงา ยเนื่องจากเปนสายสําเร็จรูป รูปที่ 8.7 รูปแสดงการเดินสายไฟระหวาง PLC กับ Driver • ขั้นตอนที่ 3 การตั้งคาการทํางานของระบบ หลังจากทําการติดตั้งอุปกรณและเดินสายไฟแลว สิ่งที่ทานควรทําในลําดับถัดไป คือ การตั้งคาการทํางานใหกับอุปกรณตางๆ ใหเหมาะสมกับการใชงาน เชน เซอรโวไดว เวอรและการตั้งคา Setup ของ PLC ในกรณีตัวอยางนี้จะตั้งคาเฉพาะที่ Driver เทานั้น โดย มีขนั้ ตอนดังตอไปนี้ - 166 - PNSPO! ! บทที่ 8 การประยุกตใชงานกับเซอรโวมอเตอร การตั้งคา Servo driver สําหรับ Servo driver รุน Smart Step สามารถทําการปรับตั้งคาไดงา ย เพียงแค เลือกสวิตชบริเวณหนาตัวเครื่องก็สามารถเลือกโหมดการทํางานได แตถา ตองการ ใชซอฟตแวรก็สามารถทําไดเชนกัน ในที่นเี้ ราจะไมกลาวถึงการตั้งคาดวย ซอฟตแวร - Gain Adjustment Rotary Switch: GAIN สวิตชนใี้ ชเพื่อปรับความไวของการตอบสนองของ Servo Motor โดยยิ่งใหคามาก Servo motor ก็จะตอบสนองไดเร็ว ขึ้น แตก็จะทําใหการเคลื่อนที่ราบลื่นลดลง ตรงขามกับการ ตั้งคาที่นอ ยกวา Servo motor จะสามารถเคลื่อนที่ไดราบลื่น กวา แตตอบสนองชาลง ใหตั้งเปน “4” - Function Setting Switch Switch 6: ใชเลือกวาจะใชคาตั้งจากสวิตชหรือซอฟตแวร Switches 5 และ 4: สําหรับตั้งคา Resolution Switch 3: ตั้งคาชนิดของอินพุตพลัส Switch 2: ตั้งคาdynamic brake Switch 1: ใชทํา online autotuning ขอควรระวัง ควรปดเครื่องกอนทําการปรับตั้งคาตางๆ การ เปด – ปด สวิตช ใหใชอปุ กรณที่สามารถดันสวิตชได เชน ใชไขควงแบนขนาดเล็ก การดันสวิตช ไปทางซายคือการเปด สวนสวิตชที่อยูในตําแหนงคือการปด หากสวิตชทั้ง 6 ปด อยู เปนการตั้งคา default ใหกับ Servo drive - 167 - PNSPO! ! บทที่ 8 การประยุกตใชงานกับเซอรโวมอเตอร มีสวิตชหลายตัว แตในกรณีนใี้ หตั้งเฉพาะที่จะใชงานเทานั้น ถาตองการราย ละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับการตั้งคาใหดูไดที่ภาคผนวก F - Resolution Setting (Switches 4 and 5) สวิตช 4 และ 5 นีใ้ ชในการปรับตังคาความละเอียดของการหมุนของ Servo motor โดยกําหนดเปนจํานวน pulse ตอการหมุนของ Servo motor 1 รอบ Switch Resolution Setting 5 4 OFF OFF 1,000 pulse/revolution (0.36º/step) ใหตงั้ ที่ตาํ แหนงนี้ OFF ON 10,000 pulse/revolution (0.036º/step) ON OFF 500 pulse/revolution (0.72º/step) ON ON 5,000 pulse/revolution (0.072º/step) • ขัน้ ตอนที่ 4 การสรางรูปแบบการทํางาน (Operation pattern) รูปแบบการเคลื่อนที่แสดงไดดังรูปขางลางนี้ เมื่อมีสัญญาณ Start Sw(0.00) เขามา PLC จะสงสัญาณพลัสใหกับ Driver ที่อัตราเรง 500Hz/4ms จนไดความเร็วที่ตองการ (Target speed) จากนั้นจะเขาสูชวงอัตราหนวง 500 Hz/4ms และหยุดหมุนเมื่อครบ 10,000 พลัส Target Speed=5,000 Hz Acceleration rate=500 Hz/4ms Position=10,000 พลัส Deceleration rate=500 Hz/4ms Start Sw(0.00) รูปที่ 8.8 รูปแสดงรูปแบบการเคลื่อนที่ของมอเตอรที่ตองการ - 168 - PNSPO! • ! บทที่ 8 การประยุกตใชงานกับเซอรโวมอเตอร ขั้นตอนที่ 5 การเขียนโปรแกรม PLC 1. เรียกโปรแกรม CX-programmer จากนั้นเลือก [File] - [New] จากเมนู จะปรากฎไดอะลอกบลอกดังรูปขางลางนี้ 2. เลือก [CP1H] จาก Device Type 3. คลิก [Settings] ไดอะลอกบลอก “Device Type Settings” จะแสดงดังตอไปนี้ - 169 - PNSPO! ! บทที่ 8 การประยุกตใชงานกับเซอรโวมอเตอร 4. เลือกรุน CPU จาก CPU Type เปน ‘X’ จากนั้นคลิก [OK] ไดอะลอกบลอก “Device Type Settings” จะปดลง 5. ตรวจสอบดวยวา Network Type เปน [USB] จากนั้นคลิก [OK] ถา PLC ไมใชรุน CP1H การเลือก Network Type ตองขึ้นอยูกับ PLC รุนนั้นๆ เชน Toolbus และ Hostlink เมื่อคลิก [OK] แลว ไดอะลอกบลอก “Change PLC” จะปดลงและแสดง หนาตาง Main window ดังรูปขางลางนี้ - 170 - PNSPO! ! หมายเหตุ บทที่ 8 การประยุกตใชงานกับเซอรโวมอเตอร ถาไมสามารถเลือก[USB] ที่ NetworkType ได ใหติดตั้ง USB Driver ของ CP1H 6. เลือก [File] - [Function Block] - [Load Function Block from File] จากเมนู ไดอะลอกบลอก ‘Select CX-Programmer Function Block Library File’ จะ ปรากฎขึ้น - 171 - PNSPO! ! บทที่ 8 การประยุกตใชงานกับเซอรโวมอเตอร 7. เลือก folder [FBL] - [omronlib] - [PositionController] - [NC-CPU(CP1H)] รายการของ FB library สําหรับควบคุมเซอรโวมอเตอรจะปรากฎขึ้น 8. เลือก [_NCCP1H021_MoveRelative_DINT10.cxf] จากนั้นคลิก [Open] _NCCP1H021_MoveRelative_DINT10 จะถูกเพิ่มเขามาที่ project tree ใน หัวขอ [Function Blocks] 9. เลื่อน Cursor ในตําแหนงที่ตองการวาง FB (กรุณาอยาวางติด Busbar) ‘_NCCP1H021_MoveRelative_DINT10’ 10. เลือก [Insert] - [Function Block Invocation] จากเมนู - 172 - PNSPO! ! บทที่ 8 การประยุกตใชงานกับเซอรโวมอเตอร ไดอะลอกบลอก ‘New Function Block Invocation’ จะปรากฎขึ้น 11. ปอนชื่อของ FB โดยพิมพ ‘ServoControl’ จากนั้นกด [Enter] การพิมพชื่อหามเวนวรรค จากนั้นชื่อและ FB จะปรากฎขึ้น - 173 - PNSPO! ! บทที่ 8 การประยุกตใชงานกับเซอรโวมอเตอร 12. ใหลากเสนอินพุตคอนแทค ‘P_On’ เขากับ FB 13. ทําการตั้งคา I/O parameters ของ FB 1) วาง cursor ที่ตําแหนงพารามิเตอรของ FB ที่ตองการจะตั้งคาจากนั้นกด [Enter] ไดอะลอกบลอก ‘New Parameter’ จะปรากฎขึ้น 2) ปอนคาพารามิเตอรจากนั้นกด [Enter] คาพารามิเตอรแตละตัวที่ตองปอนมีคาดังนี้ Axis = &0 (ใหพมิ พ “&0” ที่ไดอะลอกบลอก ‘New Parameter’) Execute = 0.00 (Start switch) Position = &10000 (ระยะการหมุน 10,000 พลัส) Velocity = &5000 (ความเร็วในการหมุน 5,000 Hz) Acceleration = &500 (อัตราเรง 500 Hz/4ms) Deceleration = &500 (อัตราหนวง 500 Hz/4ms) OutPulseSelect = &0 (เลือกโหมด CW และ CCW) หมายเหตุ 1) ‘&’ หมายถึงเปนเลขจํานวนเต็ม (INT) 2) สามารถดูความหมายของพารามิเตอรไดในภาคผนวก E - 174 - PNSPO! ! บทที่ 8 การประยุกตใชงานกับเซอรโวมอเตอร หลังจากปอนพารามิเตอร โปรแกรมแลดเดอรที่เขียนเสร็จแลว จะแสดงดังรูป ขางลางนี้ 14. จากนั้นทําการ Online => Transfer => Run โปรแกรมตามขั้นตอนที่กลาวใน บทที่ 6 และเลือกโหมด PLC ไวที่ Monitor 15. ทําการทดสอบการทํางานโดยเปดสวิตช ‘Servo Driver Run’ เพื่อให Driver จายไฟเขามอเตอรจากนั้นให Turn-On สวิทช ‘Start (0.00)’ เพื่อสั่งให มอเตอรเริ่มหมุน ในกรณีนเี้ ราจายพลัสใหกับไดวเวอร 10,000 พลัสจะทําให มอเตอรหมุน 10 รอบ เพราะเราตั้ง Resolution = 1,000 พลัสตอรอบ - 175 - PNSPO! ตัวอยางที่ 2 ! บทที่ 8 การประยุกตใชงานกับเซอรโวมอเตอร ระบบควบคุมการเคลื่อนที่แบบ Absolute การเคลื่อนที่แบบ Absolute เปนระบบที่ซับซอนและมีอุปกรณเกี่ยวของมากกวา การหมุน ของมอเตอรจะอางอิงจากจุดศูนย (Origin) ดังนั้นจะตองทํา Origin search เมื่อเริ่มเปดเครื่องเพื่อ หาจุดศูนยทุกครั้ง ระบบนี้เหมาะกับงานที่มรี ะยะการเคลื่อนที่แนนอนกวาเพราะมีจุดอางอิงในการ เคลื่อนที่ ตอไปนี้เปนตัวอยางแสดงการออกแบบและเขียนโปรแกรมควบคุมเซอรโวมอเตอรแบบ Absolute ในตัวอยางนี้เราจะใช CP1H ทําหนาที่สั่งงานและเขียนโปรแกรมดวย Function Block ซึ่ง จะชวยใหผเู ริ่มตนใชงายระบบควบคุมเซอรโวมอเตอรเขาใจไดงา ยกวา รูปแบบการทํางาน จากรูปขางลางนี้เครื่องจักรจะมีแกนเคลื่อนที่ถูกขับดวย Ball screw ทําหนาที่ในการเคลือ่ น ยายสินคาระหวางจุด A และ จุด B และมีจุด Origin อยูใกลกับจุด A นอกจากนั้นยังมี CW Limit Sensor และ CCW Limit Sensor ทําหนาที่ตรวจสอบการเคลื่อนที่เกินกวาระยะที่กาํ หนด - 176 - PNSPO! ! บทที่ 8 การประยุกตใชงานกับเซอรโวมอเตอร • การหาจุดศูนย (Origin search) การทํา Origin search จะตองใชสัญญาณอินพุตเอาตพตุ หลายจุด เชน ‘Origin proximity input’, ‘Origin input’, ‘Positioning completed’ และ ‘Error counter reset’ การทํา Origin search สามารถทําไดดว ยคําสั่งเพียงคําสั่งเดียว เมื่อสั่งใหระบบทํา Origin Search เซอรโวมอเตอรจะ หมุนเพื่อคนหาสัญญาณ “Origin proximity input” เมื่อพบสัญญาณนี้แลว มอเตอรยังคงหมุนอยู จนกระทั่งสัญญาณ Z-Phase ของเอ็นโคดเดอรจะสงจาก Driver มาให PLC จากนั้นมอเตอรจะหยุด หมุน แสดงวาการทํา Origin Search เสร็จสมบูรณดังแสดงในกราฟขางลางนี้ นอกจากนั้นเรายัง เลือกโหมดการหา Origin ไดดังตารางขางลางนี้ สัญญาณ Z-Phase จาก Servo Driver นี้ เราเรียกวา สัญญาณ Origin input Original proximity input Contact 0.01 Original input Contact 0.00 Search high speed 10kHz Search deceleration ratio 2000Hz/4msCW Pulse frequency Search acceleration ratio 2000Hz/4msCW Search proximity speed 1000Hz CCW CW Origin Search Method Search direction Detection method Setting CW Methd 0 Search operation Operating mode Invers 1 Mode 1 คําอธิบาย Origin search จะทํางานในทิศทาง CW ตรวจจับสัญญาณอินพุต Origin ทีเ่ กิดครั้งแรก หลังจากไดรบั สัญญาณจาก Origin proximity switch เปน OFF-ON-OFF ตามลําดับ เคลื่อนที่ในทิศทางตรงขามเพื่อหา Origin สงสัญญาณออกไปที่เอาตพุต Counter reset เมื่อการตรวจจับสัญญาณ Origin ไดแลว - 177 - PNSPO! ! บทที่ 8 การประยุกตใชงานกับเซอรโวมอเตอร • การเคลื่อนที่ตามตําแหนง (Positioning) การตั้งคาการเคลื่อนที่ไปตามตําแหนงตางๆ มีรายละเอียดดังนี้ และแสดงรูปแบบ การเคลื่อนที่ไดดงั รูปขางลางนี้ - Target frequency = 50 KHz - Acceleration/Deceleration = 2000Hz/4ms - Initial frequency = 0Hz (1) (2) (3) เมื่อกดสวิตช ‘Start origin search’ CP1H จะสั่งใหเซอรโวมอเตอรหมุน เพื่อหาตําแหนง Origin หลังจากทํา Origin search เสร็จ CP1H จะสง สัญญาณออกที่เอาตพุต ‘Origin search complete’ หลังจากนั้นมันจะ เคลื่อนที่ไปที่จุด A (-1000) เมื่อมีชิ้นงานลําเรียงมาอยูที่ตําแหนง A เซนเซอรชื่อ ‘Positioning to point B’ สงสัญญาณให CP1H และสั่งใหเซอรโวมอเตอรหมุนเคลื่อนที่ไปยัง ตําแหนง B เพื่อวางชิน้ งานบนสายพานลําเลียง เมื่อวางชิน้ งานบนสายพานที่จุด B เซนเซอรชื่อ ‘Positioning to point A’ สงสัญญาณให CP1H และสั่งใหเซอรโวมอเตอรหมุนเคลื่อนที่ไปยัง ตําแหนง A และจะทํางานซ้ําเชนนี้ไปเรื่อยๆ จนกวาจะไมมีชิ้นงานที่จุด A - 178 - PNSPO! ! บทที่ 8 การประยุกตใชงานกับเซอรโวมอเตอร การจัดองคประกอบของระบบ (Configuration) • ตัวอยางการเดินสายไฟ (ยกตัวอยางรุน CP1H-X40DT-D) เนื่องจาก PLC รุน นี้ใชควบคุมเซอรโวมอเตอรได 4 ตัว ถาใชเพียงตัวเดียว I/O อืน่ ๆ สามารถใชเปน I/O ปกติได Output Terminal Input Terminal - 179 - PNSPO! ! บทที่ 8 การประยุกตใชงานกับเซอรโวมอเตอร หมายเหตุ 1. ควรใสตวั ตานทาน 1.6-2.2 KΩ ที่เอาตพตุ พลัสของ PLC เพื่อปองกันไมใหกระแสเกิน พิกดั กรณีที่ใชไฟ 24VDC 2. ความหมายของสัญญาณทีเ่ ทอรมนิ อลของเซอรโวไดรเวอร +CW/-CW (Input) : เปนสัญญาณพลัสสั่งใหมอเตอรหมุนตามเข็มนาฬิกา +CCW/-CCW (Input ): เปนสัญญาณพลัสสั่งใหมอเตอรหมุนทวนเข็มนาฬิกา +ECRST/-ECRST(Input ) : เปนสัญญาณสั่งรีเซ็ทเคาทเตอรในไดรดเวอร Z/ZCOM(Output): เปนสัญญาณแจงให PLC รูวาเอ็นโคดเดอรอยูที่จดุ ศูนย RUN(Input) : เปนสัญญาณสั่งใหไดรเวอรจายไฟเขามอเตอรพรอมทํางาน ALM/ALMCOM(Output): เปนสัญญาณแจงใหรูวาระบบเซอรโวมีปญ หา 3. ความหมายของสัญญาณทีเ่ ทอรมนิ อลของ CP1H Origin search switch(Input) : เปนสวิตชใชสตารท Origin search Positioning to point A/B(input) : เซนเซอรสั่งใหเคลื่อนที่ไปตําแหนง A และB CW/CCW limit sensor(Input) : เปนเซนเซอรปองกันไมใหวงิ่ เกินระยะ - 180 - PNSPO! ! บทที่ 8 การประยุกตใชงานกับเซอรโวมอเตอร Origin proximity input : สัญญาณอินพุตที่เปนตัวบอก PLC วาการเคลื่อนที่เขาใกลจุด ศูนย Origin input : เมื่อ PLC ไดรบั สัญญาณ Origin proximity input แลวมันจะตรวจสอบ สัญญาณ Origin (Z-phase) ของเอ็นโคดเดอรที่อยูบนตัวเซอรโวมอเตอร • การตั้งคา Servo Driver setup ทําตามขั้นตอนในตัวอยางที่ 8.1 • PLC 1. เปดไดอะลอกบลอก ‘PLC Setting’ โดยการคลิกที่ Setting 2. คลิกที่ Tap ‘Pulse Output 0’ แลวตั้งคาตามนี้ - 181 - PNSPO! ! Base Setting Item Undefined Origin Limit input Signal Operation Limit input Signal Search/Return Initial Speed Speed Curve บทที่ 8 การประยุกตใชงานกับเซอรโวมอเตอร Origin Search Setting Hold Always NO Opps Trapezoidal Item Use define origin operation Search Direction Detection Method Search Operation Operating Mode Origin input Signal Proximity Input Signal Search High Speed Search Proximity Speed Search Compensation Value Search Acceleration Ration Search Deceleration Ration Positioning Monitor Time 3. ปดไดอะลอกบลอก ‘PLC Setting’ 4. เพือ่ ใหคาใน ‘PLC Setting’ มีผลใหปดไฟแลวเปดใหม - 182 - Setting Use CW Methd 0 Invers 1 Mode 1 NO NO 10000pps 1000pps 0 2000 2000 0ms PNSPO! ! การเขียนโปรแกรม • ตัวอยางโปรแกรมแลดเดอร - 183 - บทที่ 8 การประยุกตใชงานกับเซอรโวมอเตอร PNSPO! ! บทที่ 8 การประยุกตใชงานกับเซอรโวมอเตอร จากตัวอยางโปรแกรมขางตนเปนตัวอยางในการทํางานอยางงายๆ เทานั้น ในการ ใชงานจริงจําเปนตองเขียนใหละเอียดกวานี้ สวนวิธีการสรางโปรแกรมสามารถทําตามขั้นตอน ตางๆ ที่ไดกลาวไปแลว Function Block(FB) ที่ตองเรียกใชงานมีอยูดวยกัน 2 ตัว คือ - ‘_NCCP1H051_Home_DINT’ ทําหนาที่เปน Origin search โดยใช I:0.04 เปน ตัวสตารท - ‘_NCCP1H011_MoveAbsolute_DINT’ ทําหนาที่สั่งใหมอเตอรเคลื่อนที่แบบ Absolute โดยใชทั้งหมด 2 ตัว ตัวที่หนึ่งสั่งใหเคลื่อนที่ไปตําแหนง A คา Position คือ DM0 และตองปอนคา DM0 เทากับ -1000 เพราะวา FB ไมสามารถ ปอนเลขลบไดโดยตรง สวนตัวที่สองสั่งใหเคลื่อนที่ไปตําแหนง B โดยมีคา Position เทากับ 100000 การใสคา ใน D0 จะตองทําขณะ Online ถาการแสดงผลเปนเลขฐาน 16 ให เปลี่ยนเปนเลขฐานสิบแบบมีเครื่องหมาย (Signed decimal) โดยการคลิกที่ icon ดังรูป จากนั้นใหคลิกที่ D0 จะปรากฎไดอลอกบลอก ‘Set New Value’ ขึ้นมา จากนั้น ใหปอน -1000 แลวคลิก Set จากนั้นคา D0 จะปน -1000 - 184 - PNSPO! ! บทที่ 8 การประยุกตใชงานกับเซอรโวมอเตอร ทดสอบการทํางาน • ทําการ Online->Tranfer->Run โปรแกรมตามขั้นตอนที่กลาวในบทที่ 6 และเลือกโหมด PLC ไวที่ Monitor • ทําการทดสอบการทํางานโดยเปดสวิตช Origin Search (I0.04) เมื่อทํา Origin Search เสร็จ ใหเปดสวิตช Position to Point A เพื่อใหระบบเคลื่อนที่ไปยังตําแหนง A จากนั้นทดลอง เปดสวิตช Position to Point B เพื่อใหระบบเคลื่อนที่ไปยังตําแหนง B จากตัวอยางทั้ง 2 แบบที่กลาวมาขางตน จะชวยใหทานเขาใจถึงเทคนิคในการควบคุมเซอร โวมอเตอรโดยใชฟง กชันบลอก ซึ่งชวยใหเรียนรูไดเร็วและงาย นอกจากนั้นเราอาจสรุปไดวาการ ควบคุมตําแหนงอาจแบงไดเปน 2 ประเภทใหญๆ คือ แบบIncremental กับแบบ Absolute ซึ่งแบบ Incremental การเคลื่อนที่จะอางอิงกับจุดปจจุบัน สวนแบบ Absolute อางอิงกับจุดศูนย ดังนั้น จะตองทํา Origin Search เสมอเมื่อเริ่มใชงาน - 185 - APPENDIX-A CP1L/CP1H Specifications CP1L General Specification Type Model Program capacity Control method I/O control method Program language M CPU Units CP1L-M40DR-A CP1L-M30DR-A CP1L-M40DR-D CP1L-M30DR-D CP1L-M40DT-D CP1L-M30DT-D CP1L-M40DT1-D CP1L-M30DT1-D 10 Ksteps L CPU Units CP1L-L20DR-A CP1L-L14DR-A CP1L-L20DR-D CP1L-L14DR-D CP1L-L20DT-D CP1L-L14DT-D CP1L-L20DT1-D CP1L-L14DT1-D 5 Ksteps Stored program method Cyclic scan with immediate refreshing Ladder diagram Function blocks Maximum number of function block definitions: 128 Maximum number of instances: 256 Languages usable in function block definitions: Ladder diagrams, structured text (ST) Instruction length 1 to 7 steps per instruction Instructions Approx. 500 (function codes: 3 digits) Instruction execution time Common processing time Number of connectable Expansion Units and Expansion I/O Units Basic instructions: 0.55 µs min. Special instructions: 4.1 µs min. Maximum number of I/O points Pulse outputs (Transistor output Models only) 0.4 ms 3 Units (CP Series or CPM1A) 1 Unit (CP Series or CPM1A) 160 points 150 points 60 points 54 points (40 builtin, (30 builtin, (20 builtin, (14 builtin, 40- 3 expansion) 40- 3 expansion) 40- 1 expansion) 40- 1 expansion) 2 outputs, 1 Hz to 100 kHz (CCW/CW or pulse plus direction) Trapezoidal or S-curve acceleration and deceleration (Duty ratio: 50% fixed) A-1 APPENDIX-A CP1L/CP1H Specifications Part Names และ Functions • CPU Units Model number Description Input points 14-point I/O 20-point I/O 30-point I/O 40-point I/O 8 12 18 24 Output points Power Supply Transistor output Relay output Sink type Source type 6 AC CP1L-L14DR-A --- --- 8 DC AC CP1L-L14DR-D CP1L-L20DR-A CP1L-L14DT-D --- CP1L-L14DT1-D --- 12 DC AC CP1L-L20DR-D CP1L-M30DR-A CP1L-L20DT-D --- CP1L-L20DT1-D --- 16 DC AC CP1L-M30DR-D CP1L-M40DR-A CP1L-M30DT-D --- CP1L-M30DT1-D --- DC CP1L-M40DR-D CP1L-M40DT-D CP1L-M40DT1-D • Expansion I/O Units Model number Description Input points Output points Relay output Transistor output Sink type CP1W-20EDT Expansion I/O Unit with 20 I/O points 12 8 CP1W-20EDR1 Expansion I/O Unit with 8 input points 8 -- CP1W-8ED (no outputs) Expansion I/O Unit with 8 output points --- 8 CP1W-8ER A-2 CP1W-8ET Source type CP1W-20EDT1 CP1W-8ET1 APPENDIX-A CP1L/CP1H Specifications • Analog I/O Unit Description Analog I/O Unit • Temperature Sensor Unit Description Temperature Sensor unit • CompoBus/S I/O Link Unit Description CompoBus/S I/O Link Unit Specifications 2 analog inputs and 1 analog 0 to 5 V/1 to 5 V/0 to 10 V/−10 to +10 V/0 output to 20 mA/4 to 20 mA Resolution: 6,000 1 to 5/0 to 10 V/−10 to +10 V/0 to 20 mA/4 to 20 mA 4 analog input 0 to 5 V/1 to 5 V/0 to Resolution: 6,000 10 V/−10 to +10 V/ 0 to 20 mA/ 4 to 20 mA 4 analog output 1 to 5 V/0 to 10 V/ Resolution: 6,000 −10 to +10 V/ 0 to 20 mA/ 4 to 20 mA Specifications Model number CP1W-MAD11 CP1W-AD041 CP1W-DA041 Model number 2 thermocouple inputs: K, J CP1W-TS001 4 thermocouple inputs: K, J CP1W-TS002 2 platinum resistance thermometer inputs: Pt100 (100 Ω), JPt100 (100 Ω) 4 platinum resistance thermometer inputs: Pt100 (100 Ω), JPt100 (100 Ω) CP1W-TS101 Specifications CP1W-TS102 Model number Operates as a CompoBus/S Slave and provides 8 inputs and 8 outputs to the CPM1A or CPM2A PC. CP1W-SRT21 Function Windows-based Programming Device OS: Windows 95/98/NT Model WS02-CXPC1 (version 7 up) • Support Software Product CX-Programmer A-3 APPENDIX-A CP1L/CP1H Specifications • Personal Computer Connecting Cables Description RS-232C Specifications D-sub 9-pin port D-sub 25-pin port Haft-pitch 14-pin port Specifications -Can be used with a peripheral bus or Host link used connector that prevents ESD (electrostatic discharge.) --- Cable length 2m 5m 2m 5m 2m 5m 2 m+0.15 m 5 m+0.15 m • Adapters Name RS-232C Adapter RS-422 A/485 dapter Function Peripheral Port level conversion Model CP1W-CIF01 CP1W-CIF11 Model Standard XW2Z-200S-V XW2Z-500S-V XW2Z-200S-CV XW2Z-500S-CV ----- XW2Z-200S XW2Z-500S XW2Z-200S XW2Z-S001 XW2Z-500S XW2Z-S001 ------- Specifications N,L,CE N,L,CE • Battery Product Backup Battery (One internal Backup Battery is provided as standard) Function Backs up memory in the CPM2A CPU Unit Model CPM2A-BAT01 • Peripheral Devices Name Memory Unit Appearance -- Model Number CP1W-ME05M A-4 Specifications APPENDIX-A CP1L/CP1H Specifications CP1H General Specification Type Model Program capacity Control method I/O control method Program language Function blocks Instruction length Instructions Instruction execution time Common processing time Number of connectable Expansion Units and Expansion I/O Units Max. number of I/O points Number of connectable CJ-series Units Built-in Normal I/O input terminals (Functions can be assigned.) X CPU Units XA CPU Units Y CPU Units CP1H-X40DR-A CP1H-XA40DR-A CP1H-Y20DT-D CP1H-X40DT-D CP1H-XA40DT-D CP1H-X40DT1-D CP1H-XA40DT1-D 20 Ksteps Stored program method Cyclic scan with immediate refreshing Ladder diagram Maximum number of function block definitions: 128 / Maximum number of instances: 256 Languages usable in function block definitions: Ladder diagrams, structured text(ST) 1 to 7 steps per instruction Approx. 500 (function codes: 3 digits) Basic instructions: 0.10 µs min. Special instructions: 0.15 µs min. 0.7 ms 7 Units (CPM1A Series) (There are restrictions on the Units that can be used in combination, however, based on the total number of I/O words and the total current consumption.) 320 (40 built in + 40 per Expansion Unit/ Expansion I/O Unit ×7 Units) 300 (20 built in + 40 per Expansion Unit/ Expansion I/O Unit×7 Units) 2 Units (CPU Bus Units or Special I/O Units only. Basic I/O Units cannot be used. A CP1W-EXT01CJ Unit Adapter is required.) 40 terminals (24 inputs and 16 outputs) 20 (12 inputs and 8 outputs) Note Aside from the above, 2 1-MHz high-speed counter inputs and 2 1-MHz pulse outputs can be added as special pulse I/O terminals. A-5 APPENDIX-A CP1L/CP1H Specifications Type Direct mode Interrupt inputs Built-in input terminals (Functions can be assigned.) Counter mode Quickresponse inputs High-speed counters X CPU Units XA CPU Units 8 inputs (Shared by the external interrupt inputs (counter mode) and the quick-response inputs) Rising or falling edge Response time: 0.3 ms 8 inputs, response frequency: 5 kHz total, 16 bits Incrementing counter or decrementing counter 8 points (Min. input pulse width: 50 µs max.) 4 inputs (24 VDC) • Single phase (pulse plus direction, up/ down, increment), 100 kHz • Differential phases (4×), 50 kHz Value range: 32 bits, Linear mode or ring mode Interrupts: Target value comparison or range comparison Special high-speed counter terminals Pulse outputs (Transistor output models only) High-speed counters Pulse outputs PWM outputs None Unit version 1.0 and earlier: 2 outputs, 1 Hz to 100 kHz 2 outputs, 1 Hz to 30 kHz Unit version 1.1 and later: 4 outputs, 1 Hz to 100 kHz (CCW/CW or pulse plus direction) Trapezoidal or S-curve acceleration and deceleration (Duty ratio: 50% fixed) Y CPU Units 6 inputs (Shared by the external interrupt inputs (counter mode) and the quick-response inputs) Rising or falling edge Response time: 0.3 ms 6 inputs, response frequency: 5 kHz total, 16 bits Incrementing counter or decrementing counter 6 points (Min. input pulse width: 50 µs max.) 2 inputs (24 VDC) • Single phase (pulse plus direction, up/ down, increment), 100 kHz • Differential phases (4×), 50 kHz Value range: 32 bits, Linear mode or ring mode Interrupts: Target value comparison or range comparison 2 inputs (Line-driver inputs) • Single phase (pulse plus direction, up/ down, increment), 1 MHz • Differential phases (4×), 500 kHz Value range: 32 bits, linear mode or ring mode Interrupts: Target value comparison or range comparison Note: High-speed counter terminals are line-driver inputs, so they cannot be used as normal inputs. 2 outputs, 1 Hz to 100 kHz Trapezoidal or S-curve acceleration and deceleration (Duty ratio: 50% fixed) 2 outputs, 0.1 to 6,553.5 Hz Duty ratio: 0.0% to 100.0% variable (Unit: 0.1%) (Accuracy: ±5% at 1 kHz) A-6 APPENDIX-A Type CP1L/CP1H Specifications X CPU Units XA CPU Units None Special pulse output terminals 2 outputs, 1 Hz to 1 M Hz (CCW/CW or pulse plus direction, line-driver outputs) Trapezoidal or S-curve acceleration and deceleration (Duty ratio: 50% fixed) Note: Special pulse output terminals are line-driver outputs, so they cannot be used as normal outputs. Pulse outputs None 4 analog inputs and 2 analog outputs (See note 1.) Built-in analog I/O terminals Analog settings Serial port Analog adjuster External analog setting input Peripheral USB port RS-232C port, RS-422A/485 port Y CPU Units None 1 (Setting range: 0 to 255) 1 input (Resolution: 1/256, Input range: 0 to 10 V) Supported. (1-port USB connector, type B): Special for a Peripheral Device such as the CX-Programmer. (Set the network classification to USB in the Peripheral Device's PLC model setting.) • Serial communications standard: USB 1.1 Ports not provided as standard equipment. (2 ports max.) The following Option Boards can be mounted: • CP1W-CIF01: One RS-232C port • CP1W-CIF11: One RS-422A/485 port Applicable communications modes (same for all of the above ports): Host Link, NT Link (1: N mode), No-protocol, Serial PLC Link Slave, Serial PLC Link Master, Serial Gateway (conversion to CompoWay/F, conversion to Modbus-RTU), peripheral bus (See note 2.) 7-segment display 2-digit 7-segment LED display (red) • At startup: The Unit version is displayed. • When a CPU Unit error occurs: The error code and error details are displayed in order (fatal error, non-fatal error). • When a special instruction is executed: The DISPLAY 7-SEGMENT LED WORD DATA (SCH) instruction displays the upper or lower byte of specified word data, and the 7-SEGMENT LED CONTROL (SCTRL) instruction controls the ON/OFF status of each segment. • While data is being transferred between a Memory Cassette and the CPU, the remaining amount to be transferred is displayed as a percentage. • When the analog adjuster is adjusted, the value is displayed from 00 to FF หมายเหตุ ดูขอ มูลเพิ่มเติมไดในแคตตาลอก A-7 APPENDIX-B CP1L I/O Specification and connection คุณสมบัตขิ องอินพุต Specification Item High-speed Counter Inputs CIO 0.00 to CIO 0.03 Input voltage Applicable inputs Input impedance Input current ON voltage OFF voltage/ current ON delay OFF delay 24 VDC +10%/−15% 2-wire and 3-wire sensors 3.0 kΩ 7.5 mA typical 17.0 VDC min. 1 mA max. at 5.0 VDC max. 2.5 µs max. 2.5 ms max. Interrupt Inputs and Quick-response Inputs Normal inputs CIO 0.04 to CIO 0.09 CIO 0.10 to CIO 0.11 and CIO 1.00 to 1.11 3.0 kΩ 7.5 mA typical 17.0 VDC min. 1 mA max. at 5.0 VDC max. 50 µs max. 50 ms max. 4.7 kΩ 5 mA typical 14.4 VDC min. 1 mA max. at 5.0 VDC max. 1 ms max. 1 ms max. Circuit configuration B-1 APPENDIX-B CP1L I/O Specification and connection คุณสมบัตขิ องเอาตพุต • Relay Outputs Item Max. switching capacity Specification 2 A, 250 VAC (cosφ= 1) 2 A, 24 VDC (4 A/common) Min. switching capacity Resistive load Electrical Service Inductive load life of Mechanical relay Max. switching time ON delay OFF delay 10 mA, 5 VDC 100,000 operations (24 VDC) 48,000 operations (250 VAC, coφs = 0.4) 20,000,000 operations 1800 times/hour 15 ms max. 15 ms max. Circuit configuration • Transistor Outputs (Sinking or Sourcing) Normal Outputs Specification Item Max. switching capacity Min. switching capacity Leakage current Residual voltage ON delay OFF delay Fuse Circuit configuration CIO 100.00 to CIO 100.03 CIO 100.04 to CIO 100.07 4.5 to 30 VDC.\, 300 mA/output, 0.9 A/common, M40DF-D 3.6 A/Unit M30DF-D 2.7 A/Unit L20DF-D 1.8 A/Unit L14DF-D 1.4 A/Unit 4.5 to 30 VDC, 1 mA 0.1 mA max. 0.6 V max. 1.5 V max. 0.1 ms max. 0.1 ms max. 1 ms max. 1 fuse/output Normal outputs CIO 100.00 to CIO Normal outputs CIO 100.04 to CIO 100.03 (Sinking Outputs) 100.07 (Sinking Outputs) B-2 APPENDIX-B CP1L I/O Specification and connection I/O Terminal Blocks ของ CPU รุน 14 I/O Points • Input Terminal Block (Top Block) • Output Terminal Block (Bottom Block) I/O Terminal Blocks ของ CPU รุน 20 I/O Points • Input Terminal Block (Top Block) • Output Terminal Block (Bottom Block) B-3 APPENDIX-B CP1L I/O Specification and connection I/O Terminal Blocks ของ CPU รุน 30 I/O Points • Input Terminal Block (Top Block) • Output Terminal Block (Bottom Block) I/O Terminal Blocks ของ CPU รุน 40 I/O Points • Input Terminal Block (Top Block) • Output Terminal Block (Bottom Block) B-4 APPENDIX-C Programming Instructions คําสั่งสําหรับเขียนโปรแกรม C-1 APPENDIX-C Programming Instructions C-2 APPENDIX-D Memory Areas CP1L • I/O Memory Area Type Model I/O Areas Input bits Output bits 1:1 Link Bit Area Serial PLC Link Area Work bits Work bits TR Area HR Area AR Area Timers Counters DM Area Data Register Area Index Register Area Task Flag Area Trace Memory M CPU Units L CPU Units CP1L-M40DR-A CP1L-M30DR-A CP1L-L20DR-A CP1L-L14DR-A CP1L-M40DR-D CP1L-M30DR-D CP1L-L20DR-D CP1L-L14DR-D CP1L-M40DT-D CP1L-M30DT-D CP1L-L20DT-D CP1L-L14DT-D CP1L-M40DT1-D CP1L-M30DT1-D CP1L-L20DT1-D CP1L-L14DT1-D 24 bits 18 bits 12 bits 8 bits CIO 0.00 to CIO 0.11 CIO 0.00 to CIO 0.11 CIO 0.00 to CIO 0.11 CIO 0.00 to CIO CIO 1.00 to CIO 1.11 CIO 1.00 to CIO 1.05 0.07 16 bits 12 bits 8 bits 6 bits CIO 100.00 to CIO 100.00 to CIO 100.00 to CIO 100.00 to CIO 100.07 CIO 100.07 CIO 100.07 CIO 100.05 CIO 101.00 to CIO 101.00 to CIO 100.11 CIO 100.03 1,024 bits (64 words): CIO 3000.00 to CIO 3063.15 (words CIO 3000 to CIO 3063) 1,440 bits (90 words): CIO 3100.00 to CIO 3189.15 (words CIO 3100 to CIO 3189) 4,800 bits (300 words): CIO 1200.00 to CIO 1499.15 (words CIO 1200 to CIO 1499) 6,400 bits (400 words): CIO 1500.00 to CIO 1899.15 (words CIO 1500 to CIO 1899) 15,360 bits (960 words): CIO 2000.00 to CIO 2959.15 (words CIO 2000 to CIO 2959) 9,600 bits (600 words): CIO 3200.00 to CIO 3799.15 (words CIO 3200 to CIO 3799) 37,504 bits (2,344 words): CIO 3800.00 to CIO 6143.15 (words CIO 3800 to CIO 6143) 8,192 bits (1,536 words): W000.00 to W511.15 (words W0 to W511) 16 bits: TR0 to TR15 24,576 bits (512 words): H0.00 to H1535.15 (words H0 to H1535) Read-only (Write-prohibited) 7,168 bits (448 words): A0.00 to A447.15 (words A0 to A447) Read/Write 8,192 bits (512 words): A448.00 to A959.15 (words A448 to A959) 4,096 bits: T0 to T4095 4,096 bits: C0 to C4095 10 Kwords: D0 to D9999 and D32000 to 32 Kwords: D0 to D32767 D32767 Note: Initial data can be transferred to the Note: Initial data can be transferred to the CPU Unit's built-in flash memory using the CPU Unit's built-in flash memory using the data memory initial data transfer function. A data memory initial data transfer function. A set-ting in the PLC Setup can be used so that set-ting in the PLC Setup can be used so that the data in flash memory is transferred to the data in flash memory is transferred to RAM at startup. RAM at startup. DM fixed allocation words for Modbus-RTU DM fixed allocation words for Modbus-RTU Easy Master D32300 to D32349 for Serial Easy Master D32200 to D32249 for Serial Port 1 Port 1, D32300 to D32349 for Serial Port 2 16 registers (16 bits): DR0 to DR15 16 registers (16 bits): IR0 to IR15 32 flags (32 bits): TK0 to TK31 4,000 words (500 samples for the trace data maximum of 31 bits and 6 words.) D-1 APPENDIX-E Servo Driver Setup การตั้งคา Servo driver สําหรับ Servo drive รุน Smart Step สามารถทําการปรับตั้งคาไดงา ย ไมจําเปนตองปรับโดยใชโปรแกรม อืน่ ๆ เพียงแคเลือกสวิชตบริเวณหนาตัวเครือ่ งก็สามารถเลือกโหมดการทํางานได Setting Area E-1 APPENDIX-E Servo Driver Setup - Unit No. rotary switch: UNIT No. (RS-422/485) สวิตชนใี้ ชเพื่อตั้งคา unit number สําหรับการสื่อสารแบบ RS232/485 ของพอรต CN1 เมื่อมีการควบคุม Servo แบบหลายแกนในระบบ เดียวกัน โดยสามารถสวิตชไดจากตําแหนง 1-F โดยทีห่ ามตั้งคาใหซ้ํา กับเซอรโวไดรวตัวอื่น (การตั้งไวที่ 0 คือคา default) - Gain Adjustment Rotary Switch: GAIN สวิตชนใี้ ชเพื่อปรับความไวของผลตอบสนองของ Servo motor โดยยิ่ง ใหคา มาก Servo motor ก็จะตอบสนองไดเร็วขึ้น แตกจ็ ะทําใหการ เคลื่อนที่ราบลื่นลดลง ตรงขามกับการตั้งคาที่นอ ยกวา Servo motor จะ สามารถเคลื่อนที่ไดราบลื่นกวา แตตอบสนองชาลง ตารางแสดง Setting Value ของ GAIN หมายเลขตางๆ Setting 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 A B C D E F Position Loop Gain Speed Loop Gain Speed Loop Integral Constant Torque command Filter Timeconstant เรียกใชคาจาก memory ในตัว driver และเปลี่ยนคาไดจากโปรแกรม CX-Drive 15 20 30 40 60 85 120 160 200 250 250 250 250 250 250 15 20 30 40 60 85 120 160 200 250 250 250 250 250 250 4,000 3,500 3,000 2,000 1,500 1,000 800 600 500 400 400 400 400 400 400 250 200 150 100 70 50 30 20 15 10 10 10 10 10 10 - Function Setting Switch Switch 6: Switches between switch and parameter settings. Switches 5 and 4: Set the resolution. Switch 3: Sets the command pulse input. Switch 2: Sets the dynamic brake. Switch 1: Switch to online autotuning E-2 APPENDIX-E Servo Driver Setup ขอควรระวัง ควรปดเครื่องกอนทําการปรับตั้งคาตางๆ การ เปด – ปด สวิตช ใหใชอปุ กรณทสี่ ามารถดันสวิตชได เชน ใชไขควงแบนขนาดเล็ก การดันสวิตชไปทางซายคือการเปด สวนสวิตชทอี่ ยูในตําแหนงคือการปด หากสวิตชทั้ง 6 ปดอยู เปนการตัง้ คา default ใหกับ Servo drive การตั้งคา Function Setting Switch  Switch/Parameter Switch (Switch 6) สวิตชนี้ทาํ หนาที่ในการเลือกโหมดการตั้งคาของ Servo drive ระหวาง การตั้งคาจาก DIP switch หรือ การตั้งคาจากพารามิเตอรผา นโปรแกรมภายนอก Switch 6 DIP Switch/Parameter Settings Selection ใชการตั้งคาจาก DIP Switch บน Servo Drive OFF ใชการตั้งคาจากพารามิเตอรผานโปรแกรมภายนอก ON  Resolution Setting (Switches 4 and 5) สวิตช 4 และ 5 นี้ใชในการปรับตังคาความละเอียดของการหมุนของ Servo motor โดยกําหนดเปน จํานวน pulse ตอการหมุนของ Servo motor 1 รอบ Switch Resolution Setting 5 4 OFF OFF 1,000 pulse/revolution (0.36º/step) OFF ON 10,000 pulse/revolution (0.036º/step) ON OFF 500 pulse/revolution (0.72º/step) ON ON 5,000 pulse/revolution (0.072º/step) แตนอกจากคาที่กําหนดมาใหแลว ผูใ ชยงั สามารถกําหนดคา Gear ratio หรือคาที่ใชเปนตัวคูณสําหรับเพิ่ม/ ลด อัตราการรับ pulse ของ servo motor ตอการหมุน 1รอบ นีไ้ ดตามความตองการ โดยการบรรจุคา ลงไป ในพารามิเตอรของ servo driver ดังนี้ E-3 APPENDIX-E Servo Driver Setup Parameter No. Value Condition Range เลือกอัตตราสวนเพื่อสรางเปนตัวคูณของ Pn202 G1 1 - 65535 resolution setting โดยที่ 0.01 ≤ G1/G2 ≤ 100 1- 65535 Pn203 G2 ตัวอยาง ตองการให servo motor หมุนที่ความเร็ว 1,250 ppr โดยที่ resolution เปน 5,000 ppr หาคา gear ratio: 1,250 / 5,000 = 0.25 เพราะฉะนั้น G1/G2 ตองมีคา = 0.25  Command Pulse Input Setting (Switch 3) สวิตช 3 ใชในการเลือกโหมดของ pulse input โดยเลือกระหวางรับสัญญาณ pulse แบบ CW/CCW หรือแบบ PULSE+DIRECTION SIGNAL(CW/CCW) Switch 3 Command Pulse Input Setting Forward pulse (CCW)/reverse pulse (CW) input (Positive logic) OFF Feed pulse (PULS) forward/reverse signal (SIGN) input ON การปรับคานี้ตอ งตรงกับการใชคาํ สั่ง Pulse Output ใน PLC  Dynamic Brake Setting (Switch 2) ใน Servo motor รุนที่มี Dynamic brake ตองมาทําการเปดการใชงานใน Servo drive กอน Switch 2 Dynamic Brake Setting ปดการใชงาน Dynamic brake OFF เปดการใชงาน Dynamic brake ON ในรุนที่ไมมี Dynamic brake ใหทําการปดสวิตชนไี้ ว  Online Autotuning Switch สวิตช 1 ใชในการเลือกการทํางานของ Servo motor แบบปรับตั้งคาโดยอัตโนมัตขิ ณะใชงาน หากปด การใชงานเครือ่ งจะทําการเก็บคาที่ใชงานไวใน inertia ratio parameter (Pn103) Switch 1 Online Autotuning Switch ปดการตั้งคาอัตโนมัติ และเก็บคาไวที่ (Pn103) OFF เปดการตั้งคาอัตโนมัติ ON E-4 APPENDIX-E Servo Driver Setup General Control Cables (R88A-CPUF F FS) เปนสายที่ใชตอ เซอรโวไดรเวอรเขากับ PLC รุน R88A-CPU001S R88A-CPU002S ความยาว (L) เสนผานศูนยกลางภายนอก 9.9 dia. 1m 2m น้าํ หนัก Approx. 0.3 kg Approx. 0.6 kg รายละเอียดสายเคเบิล No. Wire/Mark color Symbol No. Wire/Mark color Symbol 1 Orange/Black (−) +CW 19 Pink/Red (−−) GND 2 3 Orange/Red (−) Gray/Black (−) −CW +CCW 20 21 Orange/Black (−−−) Orange/Red (−−−) RXD+ RXD− 4 Gray/Red (−) −CCW 22 Gray/Black (−−−) TXD+ 5 White/Black (−) +ECRST 23 Gray/Red (−−−) TXD− 6 White/Red (−) −ECRST 24 White/Black (−−−) RT 7 Yellow/Black (−) BKIR 25 White/Red (−−−) 8 Yellow/Red (−) INP 26 Yellow/Black (−−−) 9 Pink/Black (−) 27 Yellow/Red (−−−) 10 Pink/Red (−) 28 Pink/Black (−−−) 11 12 Gray/Black (−−) Gray/Red (−−) 29 30 Pink/Red (−−−) Orange/Black (−−−−) OGND Orange/Black (−−) +24VIN 31 Orange/Red (−−−−) Orange/Red (−−) +24VIN 32 Gray/Black (−−−−) Z 14 White/Black (−−) RUN 33 Gray/Red (−−−−) ZCOM 15 White/Red (−−) 34 White/Black (−−−−) ALM 16 17 Yellow/Black (−−) Yellow/Red (−−) 35 36 White/Red (−−−−) ALMCOM 18 Pink/Black (−−) Shield FG 13 RESET Shell E-5 APPENDIX-E Servo Driver Setup การตอสายเคเบิลเซอรโวมอเตอรกับ CP1L E-6 APPENDIX-E Servo Driver Setup รายละเอียดฟงกชนั บลอก E-7 APPENDIX-E Servo Driver Setup E-8 APPENDIX-E Servo Driver Setup E-9 APPENDIX-E Servo Driver Setup E-10 APPENDIX-E Servo Driver Setup E-11 APPENDIX-F LCD (CP1W-DAM01) !" # " $ % " % & " ' ( $ ) '* + '* , '*-. # " " " / " " ( (0 1 ( 2 ' % & #"(" 3 (0 #"2& ) $ ( 4 1 /" $ " !" " 2 ' 0 #"2 56789 , :;<=89 $#"2 > 2& # " ( ? @ & AB ( ? *C &" + !" 2& # " D )&% & " . 1 D " !" " @ & &"4 2& E " (" 3 20 1 ' + &"4 4$ F G99:9. (0 HI =6789, J88KLI =6789 $ HL8<MH9 =6789 @ &D @ (& 2 D " " /(0 @ & *C N=8O ( " % & " * PQ " " /4 R1 " (0 #" +S8==6<T. 2 &"4 $D + :HM. 20 "% & " @ &D @ (& (0 #"% + "$ !" 1 " E "$@ (& (0 #"% . " " /D /" 2& ) % >87:9I HNN8==8 @ &D ( (0 #"# " # , (0 #" " ,(0 #" UHVK L6TW= ,% #& "D " $ ) $11 " !" " 2 ' @ & ! " # $ " # % $ &'() *+! # F-1 APPENDIX-F LCD (CP1W-DAM01) * ",*X " (& % & " /) (& F 4" @P% & 1 ' 4$E1 1 &"4 2 ) HX YX VX MX ) \X " * (& % & " &"4 " E " ' F Z2 ' "2 ' +>:<[S;<. % & " /) (& + 1#@ F 4" @P% & 1 ' 2 . 4$E1 1 &"4 2 ) " $ ) ' \ &"4 " % &" #" E " + 1#@ E " . 4" ) 2& # " " " ( ( E " % &( 4 R# 1"( ( "% &" !"#] ) 2& #F F (& " % & " (& !" " (0 6O S^6=VW E A 1 ( % & _` + # 0 (0 a' S^6=VW (& b 4" @P. F-2 APPENDIX-F cX *X \X cX LCD (CP1W-DAM01) " &"4 &"4 4$ 4" !" " (0 #"% D d( E 1 & & + (@ . &"4 2& E " 4$ D (D ( F 1( % &# 1# @ !" " +_ee. 4$ 1 ) &"4 D (D ( F @ " % & " % D d( E $ " *f " F-3 APPENDIX-F LCD (CP1W-DAM01) ./ 0 1 2 3-4 *X (56 $ D " !" " 2 ' \X 789 6:(;< &6))=>? (56 $ #"EF0 % >87:9I 2 ' @A AX &6)BC (56 $ " (0 #"% ' >D'(? (56 #" " R # 1#"@ &1 ' #" " R # E( N8=;O $ gX E;;(; F=G)(;< (56 " " $ " $ 2 G99:9 " " / R1#" G99:9 @ & \f " " CX 6:(;< DGG6))6 (56 D 2& ) 4" >87:9I % ' R12& ) 4" ' % >87:9I 1 12& ) $ " ' 1 >87:9I &" 2& ) % >87:9I HNN8==8 F-4 APPENDIX-F LCD (CP1W-DAM01) hX HG6; (>=)(; &I;66> (56 &" F 1 &"4 )&% & " &" 20 $ 1 & ai_ ^:9M 787:9I, U6= 787:9I , 58j= N=96<T " " / &" @ & / *C &" BX DGGD?6 &I;66> (56 &" F 12& # " )&% & " &" "& 2& # " @ & *C &" &" 20 " "/ kX J=:6; &K=)IL (56 (0 " !" " HI =6789, J88KLI =6789 $ HL8<MH9 =6789 " " /(0 @ & *C N=8O ( * PQ *fX D)D MDINBC (56 D 2& ) (" 32 )&% & " 4" EF0 > R12& ) (" 32 )&% & " EF0 > +2& # " *C X, &"4 )&% & " &" 20 *C X $#" 56789 *Cj c X. **X D>?BD?6 (56 % & !" 1 " l"?" *\X 9)L6; (56 ) " " !" " % * 12 ' (0 #" "2 ' 2& ) (" 2 ' (0 #" 1#@ 2 1# " # 2 "& 4 1@ % & " #"D " F-5 APPENDIX-F LCD (CP1W-DAM01) 3 2! 4# ./ 0 A (56 % PQ ' 0 " "/ @ & 3 2! +O, D >:M8 " !" " 2 ' " !" " 2 ' 4" D $ " "/ mn` D >:M8 " !" " 2 'mo 4" @P% & ' &"4 *X p 2&"D % &" d( E &"4 \X F ) >:M8 & ) D p " !" " 2 ' cX % & p F EF F 'm_omq> + ) " (. D " !" " AX p D EF " !" " 'm_omq> D " !" " gX p \# 0 " "/ D 1 &"4 ) D " "! " 2 ' @ & c D rmn`s, D ( r>_`s F-6 #F D D r'mos, APPENDIX-F PA LCD (CP1W-DAM01) 1 - 789 6:(;< &6))=>? # Q! RS# +O, (& " )#"2& ) \ J:9M #F *fff*[ *fff\, *fffc[ *fffA @ # #F " +n<N6T<8M 8V67HL `;7Y89. 3 2! +O, P 2t" 1 11 4" @P% & ' &"4 *X p 2&"D \X % & p F a_ >87:9I cX p gX EF F F p # d( E EF 2&" AX % & p EF EF0 (0 #"EF0 + ) " (. &"4 ) a_ >87:9I > uu H v EF0 2& ) Y v 2& ) V v 2 " 2& ) EF 2&" &"4 (0 #" (!" ) ) 1( p i &"4 ) / \[A EF0 2& ) fff\ % 11 2t" *C CX % &" ffff, fff*, # d % & qMM98NN *fff* F-7 APPENDIX-F hX p LCD (CP1W-DAM01) (!" # d " (!" # d 2 " 2& ) i % & BX p % & i + ) " ( \. *X \X EF0 " " /% & " 789 6:(;< )<C6 5a> `5 > qm a_ Jm -m m am 5z uu w v x v 2t" *C 2t" *f 11 # # F " y v 2t" *f 11@ # # F " uu J v 2& ) * ^:9M J v 2& ) \ ^:9M @ & +4" ) C. 6TDB') D55;6GG ffff ffff fffff fff ffff fff fff ff ff ff UD>?6 ffff / Afkg fffff / Afkg fffff / c\hCh fff / kgk ffff / C*Ac fff / g** fff / g** ff / *g ff / *g ff / c* " (0 #"2 " 2 2& ) 11 \ J:9M + J. "! % & " " / #) "EF0 @ & / *fff\ % / \ $ *fffc / *fffA % / A +4" ) B. uu#"4$ F % EF0 ) 2& ) ) F-8 *fff* APPENDIX-F @A LCD (CP1W-DAM01) * O,2 (& V %44 -W RS# +O, 789 6:(;< 2& ) \ ^:9M 1 EF0 2& ) * ^:9M EF0 J gfk _ee 3 2! +O, @ " Jfff % & #" *\cAgChB $ ( " #F #" kBeg $@ # 1# 1( gfkXfg /" $ 4" @P% & ' &"4 *X p 2&"D d( E &"4 \X % & p 2&" &" cX ) " a_ >87:9I & ) a_ >87:9I p F EF0 Jm &"4 AX % &" p &"EF0 ) a_ >87:9I Jm &"4 " (0 #"EF0 gX p F 2 " 2& ) F J CX p # d @ (!" % & p i 2& ) % EF0 Jm F-9 Jm APPENDIX-F hX p F 2 " 2& ) F J BX # d @ (!" i % & p p EF 1 #" (0 @ & $ 1 &"4 " (0 #"EF0 p +2& ) % Jm fff 4$ #"(" . kX *fX LCD (CP1W-DAM01) p " EF0 " &"4 " (0 #"EF0 $% & i qMM98NN Jgfk p EF #" Jgfk + ) " ( \ . EF0 Jm )% EF0 &"4 " (0 #"# 1# 1( **X % & p *\X 2& ) kBeg p F # d @ (!" U6= HMM98NN + " " / !" @ &#F f[*g . *cX % & p fg U6= HMM98NN U6= F-10 APPENDIX-F LCD (CP1W-DAM01) *AX p F # d @ (!" U6= HMM98NN + " " / !" @ &#F f[*g . *gX p F # d @ (!" Y6= N=H=8 /" $ 4$ @ (" #" )% ' *CX % & p F F /" $ " !" " 1( _{{ " (0 #" ? $ " !" " 1( S, m 4$@ " " / % & " PQ 0@ & *hX p #" (0 @ & % & p 1 &" " (0 #"EF0 Jm ( #"EF0 J gfkXff #"4$ kB g uu 1 *BX p c # 0 EF 1 &"4 F-11 APPENDIX-F *X LCD (CP1W-DAM01) (" " " $ &"4 " (0 #"EF0 X(A C. QYZ [ZV 1 2 3 4 5 \X +4" ) Head channel address (Read only) Display format (Read only) Data length (Read only) Data of I/O memory before change (Read only) Data of I/O memory after change (" " " $ &"4 " (0 #"# 1# 1( U6= HMM98NN +4" ) X(A *f. Q \"$ 2 a b c d e f g h Leading word address (Read only) Display format (Read only) Data length (Read only) Data of I/O memory before change (Read only) Data of I/O memory after change Bit address Bit flag Bit state uuu " "& 4 % & " 2& ) 2t" 1 11 y $ x F 2 2& ) \ J:9M + J. @ " " /(0 #" " % & " 111(@ & cX ? $ " !" " 2 1( +4" ) M=) T'D? N S R *A. Q3 - - 2 Normal Force to SET Force to RESET F-12 2 " APPENDIX-F ]A LCD (CP1W-DAM01) 1 - &6)BC % PQ 0 " "/ ) $ " (0 #"% ' S8=;O @ & (& " #"2 ' 4" D D +'mo. D 3 2! +O, ] " 4" @P% & ' # 0 4$ D (& D +mn`. ) S8==6<T % D +mn`. 0 F 1 " (0 #"% 4" @P% & ' &"4 *X p 2&"D d( E &"4 \X % & p cX F ' p 2&" ) S8=;O )' S8=;O &"4 AX % &" ) ' S8=;O p EF 2&"@ (0 #" + ) " (*. &"4 " (0 #" gX % & p F D + ) " (\. mn` F-13 APPENDIX-F CX hX p LCD (CP1W-DAM01) 1 " (0 #" 0 p c # 0 EF 1 &"4 *X (" " X(A " $ a Address of CPU Unit Operation Mode (Read only) b Present PLC mode (Read only) c CPU Unit Operating Mode after change (Read only when PLC mode is RUN or MON) CPU Unit Operating Mode before change (Read only) d uuH EF0 \X D 2 &"4 " (0 #" +4" ) A. QYZ [ZV D " !" " 2 'n n<6= 4$ ) fB* " F D " "! " 2 +'m_. " 0 " ' 'n n<6= @ & 'n n<6= (& ( 4 1 " ' @ )% D 04$@ " " / F D F-14 %) D " !" " APPENDIX-F ^A LCD (CP1W-DAM01) 1 - _1 2 W % PQ 0 " " / &" % ( $ &"4 " " / @ & A @ & " / *C &" (& " &" &"4 3 2! +O, ^ #F " % & HG6; (>=)(; &I;66> F 1 "& 4 % & " @ & !" % & 2& ) 4!" 1 d $ 1 & #"2 EF0 (" 3 F )#"EF0 % 1 % " !" " ( ? R "! fkfff 2 " * J_m 2t" 1 11@ # * % &"2 SV988< " 2 \ 4" @P% & ' &"4 *X p \X % & p 2&"D cX F AX p % &" d( E &"4 ) &"4 ) nN89 >:<6=:9 nN89 >:<6=:9 2&" ) nN89 >:<6=:9 p EF 2&"@ (0 #"D %)& & " + ) " ( *. &"4 " (0 #"D gX % & p F &"4 " 2\ F-15 %)& & " APPENDIX-F CX p F >:<6=:9 {LHT LCD (CP1W-DAM01) # d @ (!" hX % & p F |% & " + " " " / ) &"4 0@ & (0 #" 1 & & } " " &"4 BX p F # d @ 6<8* F * +% & " 1 kX p (!" *fX % & p **X uu | v % & " "& 4 ` v @ % & " "& 4 &"4 4" ) )% . (!" *. F # d @ 6NOLHI =IO8 + ) " ( \. F EF0 > p F # d @ (!" ai_ >87:9I qMM98NN *\X % & p F % & " EF0 *cX % & p F F 2t" *f 11@ # # F fkfff " F-16 APPENDIX-F *AX p F # d @ (!" F J F # d @ (!" 2 " 2& *gX p `H78 LCD (CP1W-DAM01) *CX % & p F (0 F :;<=89 + " " /(0 F @ & h ( ? . & *hX p *BX p *kX p \fX "& 4 &" 20 1 " (0 #" 0 1 &"4 " (0 #" c # 0 EF % & p ) ( 1 &"4 EF ) &"4 " F-17 APPENDIX-F *X LCD (CP1W-DAM01) (" " " $ X(A "% &" &"4 " (0 #"% & " D 2 V* O2 c d e f g h \X M=) >:<6=:9 {LHT nN89 >:<6=:9 SV988< `:X +f* / fC. 6<8 <:X +* / A. :{ =W8 nN89 >:<6=:9 SV988< 6NOLHI =IO8 ai_ 787:9I HMM98NN 6NOLHI {:97H= H=8 L8<T=W ai_ 787:9I <H78 b (" " " $ " % & " EF0 " Word Bit Text string A. " (;5 a )&% & " + ) +) J6`) G);=>? @ @ @ @ k. Default address Range IO 0000 WR 000 HR 000 AR 000 TIM 0000 CNT 0000 DM 00000 DR 00 IR 00 TK 00 TMF (Timer flag) 0000 CTF (Timer flag) 0000 IOB 0000.00 WRB 000.00 HRB 000.00 ARB 000.00 ffff / C*Ac fff / g** fff / g** fff / kgk ffff / Afkg ffff / Afkg fffff / c\hCh ff / *g ff / *g ff / c* ffff / Afkg ffff / Afkg ffffXff / C*AcX*g fffXff / g**X*g fffXff / g**X*g fffXff / kgkX*g STR - - F-18 APPENDIX-F 3 2! +O, a (& LCD (CP1W-DAM01) " % & "& 4 4" " "& &"4 ( (& ? ~8L8•H=:9€ 1 1& & &"4 " 2 \ 1 4" @P% & ' &"4 *X p 2&"D \X % & p cX F p AX d( E ) &"4 ) nN89 >:<6=:9 ) nN89 >:<6=:9 2&"@ (0 #"% & " &"4 gX % & p &"4 nN89 >:<6=:9 2&" p % &" F &"4 " 2\ CX p 6<8 * % & (!" # d @ 1 A hX p (!" 6NOLHI =IO8 % & p # d @ F S5m F-19 () 0 #" nN89 >:<6=:9 S8=;O A APPENDIX-F BX LCD (CP1W-DAM01) p (!" S=96<T `H78 # d @ kX % & p F (0 F 8L8•H=:9 + " " /(0 F @ & *\ ( ? . *fX p **X p S8=;O *\X p *cX "& 4 &" 20 1 " (0 #" 0 &"4 nN89 >:<6=:9 c # 0 EF 1 &"4 % & p EF ) &"4 ) ( " F-20 APPENDIX-F aA $ LCD (CP1W-DAM01) _ +O, 3 2! +O, c (& 4b# 1 2 W " 1 &"4 6'6)=>? HG6; (>=)(; &I;66> " 2\ 4" @P% & ' &"4 *X p 2&"D \X % & p cX F p gX F p p F &"4 ) &"4 ) nN89 >:<6=:9 ) nN89 >:<6=:9 8L8=8 EF 2&"@ 1 &"4 CX % & p hX d( E nN89 >:<6=:9 2&" AX % & p % &" &"4 " 2\ 1 &"4 F-21 APPENDIX-F BX p $ p LCD (CP1W-DAM01) 1 "& 4 nN89 >:<6=:9 \ # 0 EF 1 "& 4 F-22 APPENDIX-F LCD (CP1W-DAM01) cA _ 4 Q3 - 6GGD?6 &I;66> % PQ 0 " " / &" F 1 &"4 2& # " D % " &" &"4 2& # " " " / &" @ & " / *C &" &"4 2& # " 4$ !" " D (D ( F 1( % #& 1# %) /" $ _` (& " &"4 2& # " " 2 \ +(0 #"% fkfAf[ fkfhg. % &EF0 J 3 2! +O, d *ffXf* # 1# " !" " &"4 4" @P% & ' &"4 *X p \X % & p d( E &"4 ) &"4 ) >8NNHT8 F >8NNHT8 cX AX 2&"D % &" p 2&" ) >8NNHT8 p (0 #"# + ) " ( *. 1( &"4 >8NNHT8 S8=;O gX % & p F + ) " ( \. &"4 " 2\ F-23 APPENDIX-F CX p F EF0 hX LCD (CP1W-DAM01) # d @ (!" + ) " ( c. p F # d @ (!" >8NNHT8 {LHT BX % & p uu| v % & " "& 4 2& # " ` v @ % & " "& 4 2& # " kX F | p (!" F # d @ J:9M HMM98NN *fX % & p J:9M *ff + " " /% & " @ &(0 ( Jfff[Jg**. **X p 1 " (0 #" 0 *\X p S8=;O *cX p \ # 0 EF 1 "& 4 + ) } " "& 2& # " % 2& / @ . 1 &"4 >8NNHT8 &"4 F 1( % #& 1# "! " +_`. F-24 APPENDIX-F *X LCD (CP1W-DAM01) " $ &"4 (0 #"# 1(2& # " +>8NNHT8 SV988<. + ) X(A Q \"$ 2 a b c d \X Message Screen No. (01-16) Leading word (Only DM) address Message flag Word (Only WR) address of control bit (" " # " E } $ " &"4 11( % &# 1# +EF0 J 4$ (" F % &" F % & " J *ff 1((& % & J*ffXff[J*ffX*g. + ) g. Screen No. 01 02 03 04 ... 16 cX A. (" " EF0 Screen No. Control bit W000.00 W000.01 W000.02 W000.03 ... W000.15 !" 1 !" 2& # " 1 &"4 + ) Default address fkfff / fkfAf / fkfBf / fk*\f / XXX fkCff / fkfcg fkfhg fk**g fk*gg fkCcg F-25 C. Range fffff / c\hc\ APPENDIX-F 3"\O 4 Q3 " &" 2& # " &"4 F "% & " R4$ YI=8 + > * ( v\ YI=8. J:9M (" (" " + " " /% & LCD (CP1W-DAM01) 3 [ 1 &"4 EF0 % " !" 0 * &"4 " EF0 @ &1" 0 (& 2&"@ !" % EF0 >2 ' d ( $ 2& # " (" @ " 1R ( ? * ( % &EF0 * @ & AB ( ? 4$% &E0F % " 4 R1 AB UI=8 F \A . ( " &" 1 F % & " "& 4 " 2 \ (& " 2& # " ~GL8•H=:9 S=:O H= *e€ % 1 \ $c2 "& 4 4 (& 2&"@ !" #"% EF0 (" (" " &" " F-26 APPENDIX-F ) LCD (CP1W-DAM01) ) " !" " !" ( ? 2& # " % ( •['9:T9H7789 +>:<6=:9 ? 2& # " % F-27 •['9:T9H7789 +>:<6=:9 2t" *C. qS aa. APPENDIX-F (" " :M8 !" 1 " ‚ #"( LCD (CP1W-DAM01) ? F-28 APPENDIX-F LCD (CP1W-DAM01) D % & &"4 2& # " !" " 11 " 3 F 2& # " R4$ "! " E "$ 1( % #& 1# !" " +_`. F-29 E( fXf !" " &"4 APPENDIX-F dA $ F LCD (CP1W-DAM01) _ 4 Q3 - 6'6)=>? 6GGD?6 &I;66> % PQ %0 & "! 1 " 1 "& 4 1 $ &"4 F 1 0 % #0 3 2! +O, e (& " 1 &"4 2& # " 2& # " @R & &" 20 " 1 &"4 !"@ & \ 11 #F &" 20 4" @P% & ' &"4 *X p \X % & p 2&"D d( E &"4 ) &"4 ) >8NNHT8 F >8NNHT8 cX p 2&" AX % & p F ) >8NNHT8 >8<; 8L8=8 gX % & p F F &"4 (& " 1 F p #&" @ &4 E1#!" " HLL F (& " 1 &"4 0 CX % &" p F " 1 &"4 F-30 APPENDIX-F hX p BX p LCD (CP1W-DAM01) 1 >8NNHT8 >8<; \# 0 1 &"4 F-31 APPENDIX-F eA LCD (CP1W-DAM01) %+-0*- 0 3" 0 J=:6; &K=)IL % PQ 0 " !" " ) c ) 11#F HI =6789, J88KLI =6789, HL8<MH9 =6789 ( $ ) 11 &" @ & *C #" " $ !"1( F % & " @ # 1# F " ( @ (& " % & " PQ HI =6789 % & !" " (0 ( " BXcf X/ *hX*g X 3 2! +O, 4 [ ƒ 1( F % & " #F JgfkX*g ./ 0 Q \"$ 2 Day timer Weekly timer Calendar timer Sometime in a day, set the related control bit to ON. Sometime in a week, set the related control bit to ON. Sometime in a year, set the related control bit to ON. 4" @P% & ' &"4 *X p \X % & p cX AX 2&"D % &" d( E &"4 ) p &"4 ) 56789 S^6=VW F 56789 2&" ) 56789 S^6=VW p F HI 56789 EF 2&"@ (0 #"% & " + ) " ( *. &"4 F-32 HI 56789 APPENDIX-F LCD (CP1W-DAM01) gX % & p F HI 56789 *C + ) " ( *. CX p F # d @ ` +56789 {LHT. % & p F | hX p ** Y = % & " Timer N = @ % & " Timer F # d @ _< 5678 $% & p " B„cf (!" BX " 2 # d @ (!" _< J88K $% & p EF F + F 4 . kX (!" *fX p F # d @ _{{ 5678 $% & p " *h„*g F # d @ _{{ J88K $% & p F ƒ p F # d @ :<=9:L Y6= F (!" F p (!" **X p *\X % & p F EF0 + ) " (\. Jm F-33 APPENDIX-F *cX p LCD (CP1W-DAM01) F # d @ J:9M HMM98NN (!" *AX % & p gfk *gX *CX p J:9M HMM98NN 1 p " (0 #" 0 1 &"4 HI 56789 &"4 HI 56789 *hX p *X c# 0 1 &"4 " $ &"4 HI 56789 + ) A, g. X(A a b c d e f (" " Timer No. 01 02 03 04 ... 16 Q \"$ 2 Time flag Time No. (01-16) On timer of PLC Off time of PLC Word type Word address #" E }$ " " 2 56789 11(% & " Control bit W001.00 W001.01 W001.02 W001.03 ... W001.15 F-34 APPENDIX-F \X LCD (CP1W-DAM01) (" " EF0 % & " % PQ Timer 3 2! +O, 56789 S^6=VW + ) Word *\. All IO Default address 0100 Day timer WR 001 Weekly time WR 002 Calendar timer WR 003 All HR 000 All AR 448 Range f*ff / C*Ac ff* / g** ff\ / g** ffc / g** fff / g** AAB / kgk (& " % & " PQ HL8<MH9 56789 % & !" " (0 ( 1( % & " #F - \fkXfg * / " / * ( "# 4" @P% & ' &"4 *X p \X % & p 2&"D cX AX % & p % &" d( E &"4 ) &"4 ) 56789 S^6=VW F 56789 p F 2&" ) 56789 S^6=VW HL 56789 F-35 APPENDIX-F gX LCD (CP1W-DAM01) p EF 2&"@ (0 #" + ) " ( *. &"4 HL8<MH9 =6789 NV988< CX % & p F " 2C hX HL8<MH9 56789 uu |v % & " 56789 ` v@ % & " 56789 p F # d @ ` +56789 {LHT. % & p F | BX p F # d @ _< H=8 $% & p fCif* (!" kX p (!" *fX p (!" F -m **X p (!" *\X % & p \fk F # d @ _{{ H=8 $% & p *fif* F # d @ :<=9:L Y6= $% & p F # d @ -m HMM98NN -m HMM98NN F-36 APPENDIX-F *cX *AX p 1 LCD (CP1W-DAM01) " (0 #" 0 p 1 &"4 56789 SV988< HL8<MH9 &"4 HL8<MH9 56789 *gX p c# 0 *X (" " 1 &"4 " $ 2 &"4 HL8<MH9 SV988< + ) X(A a b c d e f Q \"$ 2 Time flag Time No. (01-16) On timer of PLC Off time of PLC Word type Word address J=:=>? B;f6 F-37 g. APPENDIX-F uuu 4" ) " (0 % & 2 cf " LCD (CP1W-DAM01) !" " * ( "# ( HL8<MH9 56789 4$ F-38 !" " (0 ( \AXff X APPENDIX-F A LCD (CP1W-DAM01) 4 -W % PQ D)D MDINBC 0 &%) & " " " /#"(" (0 @ & ( 4 &"4 (" 3 @ %& EF0 > + Bfff[ Bkkk. * 4" 0 " " / :HM 20 "% & " @ &% " . " $ 2& ) R1% EF0 > % (" " &" " !" 1 ( % +( User setting User Monitor screen Message screen Timer Switch Language Other Backlight Contrast 3 2! +O, P (& " 4 R1 " (0 #" 0 Quantity 16 screens 16 screens 16 x 3 timers 1 1 1 EF0 > 4" @P% & ' &"4 *X p \X % & p 2&"D cX AX % & p F p d( E &"4 ) &"4 ) H=H UHVK;O H=H UHVK;O 2&" F % &" ) H=H UHVK;O ) SH•8 F-39 APPENDIX-F gX p LCD (CP1W-DAM01) 2&" &"4 SH•8 _O=6:< &"4 SH•8 _O=6:< CX % & p hX F _z p F "1 2& ) &"4 SH•8 :<{697 BX kX *fX p &"4 4$ 2& ) " 1 2& ) 1 $ 12 " 1 F "! " 1 &"4 4$ p c# 0 2& ) 1 & " :7OL8=8 1 &"4 F-40 APPENDIX-F (& 3 2! +O, @ LCD (CP1W-DAM01) " )% EF0 "& 4 > 20 "% & " $% &2& ) 0 D % & } " :HM 2& ) 4" @P% & ' &"4 *X p 2&"D \X % & p cX F p AX % & p % &" d( E &"4 ) &"4 ) H=H UHVK;O H=H UHVK;O 2&" 2&" ) H=H UHVK;O ) :HM _O=6:< &"4 :HM _O=6:< gX % & p CX F _z p F " :HM 2& ) &"4 :HM :<{697 hX p &"4 4$ 2& ) " :HM 2& ) 1 $ 12 " :HM F-41 APPENDIX-F BX kX LCD (CP1W-DAM01) F "! " :HM 2& ) 1 & &"4 4$ " :7OL8=8 p c# 0 1 &"4 F-42 APPENDIX-F A * O2 LCD (CP1W-DAM01) Q! _ 1 gDI)(;< &6))=>? % PQ 0 " " / % &#" (& (0 " 4" D " )& (@ & % &#"4" D " 3 2! +O, ] (& " 4" @P% & ' &"4 *X \X % & p p cX 2&"D % &" d( E &"4 ) p &"4 ) _=W89 F _=W89 2&" ) _=W89 AX % & p F eHV=:9I S8= gX % & p 2&" ) eHV=:9I S8= &"4 eHV=:9I S8= CX % & p F _z F-43 APPENDIX-F hX BX kX p LCD (CP1W-DAM01) " % &#"D " F "! " #"D " &"4 4$ ) p F 1& 1 &"4 F-44 APPENDIX-F LCD (CP1W-DAM01) 2 V* O2 Yh-./ 0 X(A Yh- a ./ 0 " (0 #" $ 1 &" ESC b Forward c d e p (!" Up p F 20 Down p F OK p ( # d " (0 #" %. i V%. 2 ( ( Q3 - - 2 /" $ ( 2& E " F-45 ) APPENDIX-F LCD (CP1W-DAM01) QYZ [ZV Y! [ZV R 0 S, " ! S, R" V 1 1 Q 4 # 4 4 _ _ 3 3 [ 4 3 [ O E $j [ YZ jW-" Q3 - S# 4ZV Q3 -Q + ! j 3VQ3 - S# ! '*J[ q>f* U;6L=[6< *E ( 5::LY;N g…„ Af 7q \A„ f 7q Ac j cC j\c X + &" j " j ) . ) \f \XC j *XAg d X A1 j *\ ( ? g j h M:= 2 i †?i] p + ‡E"$ "#" " $. f / gg: *fˆ / kfˆ @ " 4" ‰ + l" $@ F-46 0!" 2R . APPENDIX-F LCD (CP1W-DAM01) i R #1 "& 0 2 1 2 $ #R " R #1 " F-47 $