การเปรียบเทียบความความสัมพันธระหวางตัวแปร ดวยวิธี Pearson Chi-square ********************* การทดสอบ Chi-square เป น การทดสอบที่ ไม อิ ง การแจกแจงของประชากร หรื อ ที่ เรี ย กว า Nonparametric Statistics สามารถแบงออกไดเปน 2 ประเภท ดังนี้ 1) กลุ ม ตั ว อย า งกลุ ม เดี ย ว (One – Sample X2 – Test) เป น การทดสอบความถี่ ที่ สั ง เกตได (Observed Frequency : O) กั บ ความถี่ที่ คาดหวั ง (Expected Frequency : E) ว าแตกต างกั น หรือไม หรือบางทีเรียกวา “การทดสอบสมนัย (Goodness of fit)” ตัวอยาง เชน โยนลู กเตาลูกหนึ่ง 120 ครั้ง ขึ้น หน าตางๆ (จดบั น ทึก) จงทดสอบวาลูกเต านี้ เที่ย ง หรือไม 2) กลุมตัวอยางสอง หรือมากกวาสองกลุม เปน การทดสอบสัดสวนในสิ่งที่สนใจที่จะศึกษาของกลุ ม ตางๆ วาแตกตางกันหรือไม ขอตกลงเบื้องตน : 1. ขอมูลตองอยูในรูปของความถี่ 2. กลุมตัวอยางทั้งสองจะตองเปนอิสระจากกัน ขั้นตอนในการทดสอบสมมติฐาน โดยใชโปรแกรม SPSS ขั้นที่ 1 การตั้งสมมุติฐาน ตัวอยาง : ตองการจะเปรียบเทียบเพื่อหาความสัมพันธระหวางพันธุขาวที่เกษตรกรปลูกในปจจุบันกับ ระดับการศึกษาของเกษตรกร สมมติฐานทางสถิติ : H0 : P = 0 พันธุขาวทีเ่ กษตรกรปลูกในปจจุบันไมขึ้นอยูกบั ระดับการศึกษาของเกษตรกร H1 : P ≠ 0 พันธุขาวทีเ่ กษตรกรปลูกในปจจุบัน ขึ้นอยู กับระดับการศึกษาของเกษตรกร ขั้นที่ 2 การกําหนดคาอัลฟา (คาความเชื่อมั่น) โดยปกติคาที่ใชจะมี 2 คา คือ .01 กับ .05 ขั้นที่ 3 เริ่มใชโปรแกรม SPSS เพื่อคํานวณ 3.1 เปดโปรแกรม SPSS และเปดไฟล “TEST.sav” ที่บันทึกไว 3.2 คลิกเมนู Analyze เลือกคําสั่ง Descriptive Statistics เลือก Crosstabs…. 3.3 (ที่หนาตาง Crosstabs….) จะตองกําหนดวาจะใหตัวแปรอะไรเปน Column หรือ Row ใน ตัวอยางนี้จะกําหนด ระดับการศึกษา (Education) เปน Column สําหรับพันธุขาว (Breeding_rice) เปน Row 3.3.1 คลิกเลือก Education [ระดับการศึกษา] จากชองซายมือ เพื่อนําตัวแปรนี้ไปใส ในชอง Column ดานขวามือ 3.3.2 คลิกเลือก Breeding_rice [พันธุขาว] จากชองซาย เพื่อนําตัวแปรนี้ไปใสในชอง Rowr ดานขวามือ 3.3.3 คลิกปุม Statistics …. 3.3.3.1 (ที่หนาตาง Crosstabs: Statistics) คลิก เลือก Chi-square คลิก Continue เพื่อกลับไปยังหนาตาง Crosstabs 3.3.3.2 (ที่หนาตาง Crosstabs) คลิกปุม Cells… 3.3.3.3 (ที่หนาตาง Crosstabs: Cell Display) คลิก เลือก Observed (ในกรอบ Counts) คลิก เลือก Column (ในกรอบ Percentages) คลิก Continue เพื่อกลับไปยังหนาตาง Crosstabs 3.3.3.4 คลิกปุม OK จะปรากฏผลการคํานวณที่ Output Window ดังนี้ คาขอมูลที่สมบูรณ คาขอมูลที่สูญเสีย Case Processing Summary พันธุขาว * ระดับการศึกษาของเกษตรกร Valid N Percent 25 100.0% Cases Missing N Percent 0 .0% Total N Percent 25 100.0% พันธุขาว * ระดับการศึกษาของเกษตรกร Crosstabulation ระดับการศึกษาของเกษตรกร ต่ํากวา ประถมศึกษา พันธุขาว Total พันธุ กข.6 Count 2 % within 66.7% ระดับการศึกษา พันธุสันปาตอง Count 1 % within 33.3% ระดับการศึกษา พันธุหอมมะลิ Count 0 105 % within .0% ระดับการศึกษา พันธุพื้นเมือง Count 0 % within .0% ระดับการศึกษา พันธุเขี้ยวงู Count 0 % within .0% ระดับการศึกษา พันธุลืมผัว Count 0 % within .0% ระดับการศึกษา Count 3 % within 100.0% ระดับการศึกษา Chi-Square Tests Value 21.458a 19.327 .267 0 .0% 3 42.9% 0 .0% 1 14.3% 3 25.0% 5 20.0% 0 .0% 1 14.3% 2 16.7% 3 12.0% 1 33.3% 0 .0% 0 .0% 1 4.0% 0 .0% 1 14.3% 2 16.7% 3 12.0% 2 66.7% 1 14.3% 0 .0% 3 12.0% 3 100.0% df สูงกวา มัธยมศึกษา Total 5 10 41.7% 40.0% ประถมศึกษา มัธยมศึกษา 7 12 25 100.0% 100.0% 100.0% Asymp. Sig. (2-sided) 15 .123 15 .199 1 .606 Pearson Chi-Square Likelihood Ratio Linear-by-Linear Association N of Valid Cases 25 a. 24 cells (100.0%) have expected count less than 5. The minimum expected count is .12. คา P ขั้นตอนที่ 4 การสรุปผลการทดสอบสมมติฐาน สมมติฐานทางสถิติ : H0 : P = 0 พันธุขาวทีเ่ กษตรกรปลูกในปจจุบันไมขึ้นอยูกับระดับการศึกษาของเกษตรกร H1 : P ≠ 0 พันธุขาวทีเ่ กษตรกรปลูกในปจจุบัน ขึ้นอยู กับระดับการศึกษาของเกษตรกร P (ความนาจะเปน) = .123 , คาอัลฟา (ระดับนัยสําคัญ) = .05 ดังนั้น คา P มากกวาคาอัลฟา (ระดับนัยสําคัญ) (เทากับไม Sig.) จึงยอมรับ H0 ปฏิเสธ H1 จึ งสรุ ป ได ว า พั น ธุ ขาวที่ เกษตรกรปลู ก ในป จ จุ บั น ไม ขึ้ น อยู กับ ระดั บ การศึก ษาของเกษตรกรอย างมี นัยสําคัญทางสถิติทรี่ ะดับ .05 ขั้นตอนที่ 5 การสรางตารางสรุปผลการทดสอบสมมติฐาน ตารางแสดงคารอยละและคา Chi – square ของความสัมพันธระหวางพันธุขาวที่เกษตรกรปลูกใน ปจจุบันกับระดับการศึกษาของเกษตรกร พันธุขาว พันธุ กข.6 ต่ํากวาประถมศึกษา ประถมศึกษา มัธยมศึกษา สูงกวามัธยมศึกษา จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ 2 66.7% 0 0% 3 42.9% 5 41.7% 1 33.3% 0 0% 1 14.3% 3 25.0% 0 0% 0 0% 1 14.3% 2 16.7% square พันธุพื้นเมือง 0 0% 1 33.3% 0 0% 0 0% P = 0.123 พันธุเขี้ยวงู 0 0% 0 0% 1 14.3% 2 16.7% พันธุลืมผัว 0 0% 2 66.7% 1 14.3% 0 0% 3 100.0% 3 100.0% 7 100.0% 12 100.0% พันธุสันปา ตอง พันธุหอมมะลิ รวม Person Chi- * มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 จากตาราง พบวา พันธุขาวที่เกษตรกรปลูกในปจจุบันไมขึ้นอยูกับระดับการศึกษาของเกษตรกร อยางมี นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05