รายละเอียดของรายวิชา (มคอ.3) หลักสู ตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555) รหัสวิชา 33057201 ชื่อวิชา วิธีการทางคอมพิวเตอร์สาํ หรับวิศวกรโยธา Computer Method for Civil Engineers คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา กระทรวงศึกษาธิการ เอกสารรับรอง รายละเอียดของรายวิชา (มคอ.3) คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา 1. 2. 3. 4. 5. 6. เป็นรายวิชาใน หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555 หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ......... หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา รหัสวิชา 33057201 ชื่อวิชาภาษาไทย วิธีการทางคอมพิวเตอร์สําหรับวิศวกรโยธา ชื่อวิชาภาษาอังกฤษ Computer Method for Civil Engineers ลงชื่อ............................................................รองคณบดีฝ่ายวิชาการฯ (ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประชา ยืนยงกุล) วันที่ 10 เดือน พฤษภาคม พ.ศ. 2555 ลงชือ่ ............................................................คณบดี (ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุรศักดิ์ อยู่สวัสดิ์) วันที่ 10 เดือน พฤษภาคม พ.ศ. 2555 สารบัญ หมวดที่ 1 หมวดที่ 2 หมวดที่ 3 หมวดที่ 4 หมวดที่ 5 หมวดที่ 6 หมวดที่ 7 ข้อมูลทัว่ ไป จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ ลักษณะและการดําเนินการ การพัฒนาผลการเรี ยนรู ้ของนักศึกษา แผนการสอนและการประเมินผล ทรัพยากรประกอบการเรี ยนการสอน การประเมินและปรับปรุ งการดําเนินการของรายวิชา หน้ า 1 2 3 4 7 12 13 รายละเอียดของรายวิชา ( มคอ. 3 ) หมวดที่ 1 ข้ อมูล ทัว่ ไป 1.รหัสและชื่อรายวิชา รหัสรายวิชา 04170201 ชื่อรายวิชาภาษาไทย วิธีการทางคอมพิวเตอร์สาํ หรับวิศวกรโยธา ชื่อรายวิชาภาษาอังกฤษ Computer Method for Civil Engineers 2. จํานวนหน่ วยกิต 3( 2 – 3 – 5 ) 3. หลักสู ตร และประเภทของรายวิชา 3.1 หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา 3.2 ประเภทกลุ่มวิชาชีพเลือก 4. อาจารย์ ผู้รับผิดชอบรายวิชาและอาจารย์ ผู้สอน ดร. สุ นิตา เอื้อวิริยานุกลู อาจารย์ เจษฎาพร ศรี ภกั ดี 5. ภาคการศึกษา ชั้นปี ทีเ่ รียน ภาคการศึกษาที่ 2 ชั้นปี ที่ 3 6. รายวิชาทีต่ ้ องเรียนมาก่ อน (Pre-requisites) 04-720-101 การโปรแกรมคอมพิวเตอร์ (Computer Programming) 7. รายวิชาทีต่ ้ องเรียนพร้ อมกัน (Co-requisites) ไม่มี 8. สถานทีเ่ รียน คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา 9. วันทีจ่ ัดทําหรือปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชา ครั้งล่ าสุ ด 14 ธันวาคม 2554 หมวดที่ 2 จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ 1. จุดมุ่งหมายของรายวิชา 1.1 ศึกษาระเบียบวิธีเชิงตัวเลขพื้นฐาน 1.2 ประยุกต์ใช้ spreadsheet กับระเบียบวิธีเชิงตัวเลข 1.3 ประยุกต์ใช้ software กับ ระเบียบวิธีเชิงตัวเลข 2. วัตถุประสงค์ ในการพัฒนาปรับปรุงรายวิชา เพื่อให้นกั ศึกษามีความรู ้พ้ืนฐาน เป็ นการเตรี ยมความพร้อมด้านปั ญหาในการนําความรู ้ ความ เข้าใจในระเบียบวิธีเชิงตัวเลข เพื่อเป็ นพื้นฐานประกอบการศึกษาในวิชาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ ควร มีการเปลี่ยนแปลงตัวอย่างอ้างอิง ให้สอดคล้องตามยุคสมัย หมวดที่ 3 ลักษณะและการดําเนินการ 1. คําอธิบายรายวิชา ศึกษา ระเบียบวิธีเชิงตัวเลข รากของสมการ ระบบสมการเชิงเส้น การประมาณค่าในช่วงและนอกช่วง การถดถอยแบบกําลังสองน้อยสุ ด การหาค่าอินทิกรัลและค่าอนุพนั ธ์เชิงตัวเลข การแก้สมการเชิงอนุพนั ธ์ 2. จํานวนชั่วโมงทีใ่ ช้ ต่อภาคการศึกษา บรรยาย สอนเสริม 45 ชัว่ โมง สอนเสริ มตามความต้องการ ของนักศึกษาเฉพาะราย การฝึ กปฏิบัติ/งาน ภาคสนาม/การฝึ กงาน ไม่มีการฝึ กปฏิบตั ิ การศึกษาด้ วยตนเอง การศึกษาด้วยตนเอง 6 ชัว่ โมง ต่อสัปดาห์ 3. จํานวนชั่วโมงต่ อสั ปดาห์ ทอี่ าจารย์ ให้ คาํ ปรึกษาและแนะนําทางวิชาการแก่ นักศึกษาเป็ นรายบุคคล 1 ชัว่ โมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ตอ้ งการ) หมวดที่ 4 การพัฒนาผลการเรียนรู้ของนักศึกษา 1. คุณธรรม จริยธรรม 1.1 คุณธรรม จริยธรรม ทีต่ ้ องพัฒนา 1.1.1 เข้า ใจและซาบซึ้ งในวัฒ นธรรมไทยตระหนั ก ในคุ ณ ค่ า ของระบบคุ ณ ธรรม จริ ยธรรม เสี ยสละ และ ซื่อสัตย์สุจริ ต 1.1.2 มี วินัย ตรงต่อเวลา รั บผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎ ระเบียบและ ข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม 1.1.3 มี ภาวะความเป็ นผูน้ ําและผูต้ าม สามารถทํางานเป็ นหมู่คณะ สามารถแก้ไขข้อ ขัดแย้ง ตาม ลําดับความสําคัญ เคารพสิ ทธิและรับฟังความคิดเห็นของผูอ้ ื่น รวมทั้ง เคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรี ของความเป็ นมนุษย์ 1.1.4 สามารถวิเคราะห์และประเมิน ผลกระทบจากการใช้ความรู ้ทางวิศวกรรมต่อ บุคคล องค์กร สังคมและสิ่ งแวดล้อม 1.1.5 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพและมีความรับผิดชอบ ในฐานะผูป้ ระกอบ วิชาชีพ รวมถึงเข้าใจถึงบริ บททางสังคมของวิชาชีพวิศวกรรมในแต่ละสาขา ตั้งแต่ อดีตจนถึงปัจจุบนั 1.2 วิธีการสอน 1.2.1 แนะนําและยกตัวอย่าง 1.2.2 ให้ความสําคัญในวินยั การตรงต่อเวลา การส่ งงานในเวลาที่กาํ หนด 1.2.3 แบ่งกลุ่มงาน กลุ่มทดสอบย่อย 1.2.4 เปิ ดโอกาสให้มีการตั้งคําถามหรื อตอบคําถาม หรื อแสดงความคิดเห็นที่เกี่ยวข้อง ในชั้นเรี ยนในโอกาสต่างๆ 1.2.5 ใช้กรณี ศึกษาและการอภิปราย 1.2.6 ให้ความสําคัญต่อจรรยาบรรณวิชาชีพ ปลูกฝังจรรณยาบรรณวิชาชีพ 1.3 วิธีการประเมินผล 1.3.1 สังเกตพฤติกรรมนักศึกษา 1.3.2 การให้คะแนนเข้าชั้นเรี ยน 1.3.3 การส่ งงานที่มอบหมายตามเวลา 1.3.4 การทํางานร่ วมกับผูอ้ ื่น 1.3.5 นําเสนองานที่มอบหมายในชั้นเรี ยนและนําเสนอเป็ นกลุ่ม 1.3.6 ประเมินผลจากกรณี ศึกษาและการอภิปราย 2. ความรู้ 2.1 ความรู้ทตี่ ้ องได้ รับ 2.1.1 มี ความรู ้ และความเข้าใจทางคณิ ตศาสตร์ พ้ืนฐาน วิทยาศาสตร์ พ้ืนฐาน วิศวกรรม พื้นฐาน และเศรษฐศาสตร์ เพื่อการประยุกต์ใช้กบั งานทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ ที่ เกี่ยวข้อง และการสร้างนวัตกรรมทางเทคโนโลยี 2.1.2 มี ความรู ้ และความเข้าใจเกี่ ยวกับหลักการที่ สําคัญ ทั้งในเชิ งทฤษฎี และปฏิบตั ิ ใน เนื้อหาของสาขาวิชาเฉพาะด้านทางวิศวกรรม 2.1.3 สามารถบูรณาการความรู ้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู ้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง 2.1.4 สามารถวิเคราะห์และแก้ไขปั ญหา ด้วยวิธีการที่เหมาะสม รวมถึงการประยุกต์ใช้ เครื่ องมือที่เหมาะสม เช่น โปรแกรมคอมพิวเตอร์ เป็ นต้น 2.1.5 สามารถใช้ความรู ้และทักษะในสาขาวิชาของตน ในการประยุกต์แก้ไขปั ญหาใน งานจริ งได้ 2.2 วิธีการสอน 2.2.1 สอน อธิบาย ยกตัวอย่าง กรณี ศึกษา 2.2.2 จัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนที่เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสําคัญ 2.2.3 อธิบายความเชื่อมโยงของความรู ้ในวิชาที่ศึกษากับศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง 2.2.4 สอนโดยเน้นหลักทางทฤษฏีและการประยุกต์ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ เกี่ยวข้อง เพื่อให้เกิดองค์ความรู ้ 2.3 วิธีการประเมินผล 2.3.1 งานที่มอบหมาย การสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค 2.3.2 ประเมินจากการเสวน 3. ทักษะทางปัญญา 3.1 ทักษะทางปัญญาทีต่ ้ องพัฒนา 3.1.1 มีความคิดอย่างมีวิจารณญาณที่ดี 3.1.2 สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และ สรุ ปประเด็นปั ญหาและความต้องการ 3.1.3 สามารถคิด วิเคราะห์ และแก้ไขปั ญหาด้านวิศวกรรมได้อย่างมีระบบ รวมถึงการ ใช้ขอ้ มูลประกอบการตัดสิ นใจในการทํางานได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ 3.1.4 มีจินตนาการและความยืดหยุน่ ในการปรับใช้องค์ความรู ้ที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสม ในการพัฒนานวัตกรรมหรื อต่อยอดองค์ความรู ้จากเดิมได้อย่างสร้างสรรค์ 3.1.5 สามารถสื บค้นข้อมูลและแสวงหาความรู ้ เพิ่มเติมได้ดว้ ยตนเอง เพื่อการเรี ยนรู ้ ตลอดชีวิต และทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางองค์ความรู ้และเทคโนโลยีใหม่ ๆ 3.2 วิธีการสอน 3.2.1 สอน อธิบาย ยกตัวอย่าง 3.2.2 มอบหมายงานที่ส่งเสริ มการคิด วิเคราะห์ 3.2.3 แนะนําเทคนิคการสื บค้นข้อมูลและแหล่งข้อมูล 3.3 วิธีการประเมินผล 3.3.1 สังเกตพฤติกรรมนักศึกษา การเสวนา 3.3.2 งานที่มอบหมาย การสอบย่อย สอบกลางภาค และสอบปลายภาค 4. ทักษะความสั มพันธ์ ระหว่ างบุคคลและความรับผิดชอบ 4.1 ทักษะความสั มพันธ์ ระหว่ างบุคคลและความรับผิดชอบ ทีต่ ้ องพัฒนา 4.1.1 สามารถสื่ อสารกับกลุ่มคนที่หลากหลาย และสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและ ภาษาต่างประเทศได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ สามารถใช้ความรู ้ในสาขาวิชาชีพมา สื่ อสารต่อสังคมได้ในประเด็นที่เหมาะสม 4.1.2 สามารถเป็ นผูร้ ิ เ ริ่ ม แสดงประเด็ น ในการแก้ไ ขสถานการณ์ เ ชิ ง สร้ า งสรรค์ท้ ัง ส่ วนตัวและส่ วน รวม พร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของ กลุ่ ม รวมทั้ง ให้ ค วามช่ ว ยเหลื อ และอํา นวยความสะดวกในการแก้ไ ขปั ญ หา สถานการณ์ต่าง ๆ 4.1.3 สามารถวางแผนและรับผิดชอบ ในการพัฒนาการเรี ยนรู ้ท้ งั ของตนเอง และ สอดคล้องกับทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง 4.1.4 รู ้จกั บทบาท หน้าที่ และมีความรับผิดชอบในการทํางานตามที่มอบหมาย ทั้งงาน บุคคลและงานกลุ่ม สามารถปรับตัวและทํางานร่ วมกับผูอ้ ื่นทั้งในฐานะผูน้ าํ และผู ้ ตามได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ สามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมกับความรับผิดชอบ 4.1.5 มี จิ ต สํา นึ ก ความรั บ ผิ ด ชอบด้า นความปลอดภัย ในการทํา งาน และการรั ก ษา สภาพแวดล้อมต่อสังคม 4.2 วิธีการสอน 4.2.1 ใช้สื่อการสอนที่ทาํ ให้นกั ศึกษาเกิดความคุน้ เคยกับภาษาต่างประเทศ 4.2.2 ส่ งเสริ มทักษะการอยูใ่ นสังคม 4.2.3 แนะนําในห้องเรี ยน 4.2.4 แบ่งกลุ่มงาน แบ่งกลุ่มทดสอบย่อย 4.3 วิธีการประเมินผล 4.3.1 สังเกตพฤติกรรมนักศึกษา การเสวนา 4.3.2 ประเมินจากงานที่มอบหมาย 5. ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลข การสื่ อสาร และการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ 5.1 ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลข การสื่ อสารและการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ ทีต่ ้ องพัฒนา 5.1.1 มีทกั ษะในการใช้คอมพิวเตอร์ สําหรั บการทํางานที่ เกี่ ยวข้องกับวิชาชี พได้เป็ น อย่างดี 5.1.2 มี ทกั ษะในการวิเคราะห์ ขอ้ มูลสารสนเทศทางคณิ ตศาสตร์ หรื อการแสดงสถิ ติ ประยุกต์ ต่อการแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องได้อย่างสร้างสรรค์ 5.1.3 สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่ อสารที่ทนั สมัยได้อย่าง เหมาะสมและมีประสิ ทธิภาพ 5.1.4 มีทกั ษะในการสื่ อสารข้อมูลทั้งทางการพูด การเขียน และการสื่ อความหมายโดย ใช้สญ ั ลักษณ์ 5.1.5 สามารถใช้เครื่ องมือการคํานวณและเครื่ องมือทางวิศวกรรม เพื่อประกอบวิชาชีพ ในสาขาวิศวกรรมที่เกี่ยวข้องได้ 5.2 วิธีการสอน 5.2.1 สอน อธิบาย ยกตัวอย่างการใช้ Spreadsheet และ/หรื อ Software ที่เกี่ยวข้อง 5.2.2 แนะนําเทคนิคการสื บค้นข้อมูลและแหล่งข้อมูล 5.2.3 ฝึ กทักษะ ตามหัวข้อทางวิชาการให้นกั ศึกษาได้ปฏิบตั ิ 5.3 วิธีการประเมินผล 5.3.1 งานที่มอบหมาย การสอบย่อย 5.3.2 สังเกตพฤติกรรมนักศึกษา 6. ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลข การสื่ อสาร และการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.1 ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลข การสื่ อสารและการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ ทีต่ ้ องพัฒนา 6.1.1 มีทกั ษะในการบริ หารจัดการในด้านเวลา เครื่ องมือ อุปกรณ์และวิธีการได้อย่างมี ประสิ ทธิภาพ 6.1.2 มี ท ัก ษะในการปฏิ บ ัติ ง านกลุ่ ม มี ก ารแบ่ ง หน้า ที่ ค วามรั บ ผิด ชอบ และมี ค วาม ร่ วมมือกันเป็ นอย่างดี 6.2 วิธีการสอน 6.2.1 สอน อธิบาย ยกตัวอย่าง 6.2.2 สร้างเจตคติที่ดีในการปฏิบตั ิงานกลุ่ม 6.2.3 มอบหมายงานที่ส่งเสริ มการวิเคราะห์และการแก้ปัญหา 6.3 วิธีการประเมินผล 6.3.1 สังเกตพฤติกรรมนักศึกษา 6.3.2 ประเมินจากงานที่มอบหมาย หมวดที่ 5 แผนการสอนและการประเมินผล 1. แผนการสอน สั ปดาห์ หัวข้ อ/รายละเอียด ที่ 1 บทที่ 1 แนะนําสู่ บทเรี ยนระเบียบวิธีเชิงตัวเลข 1.1 Approximations and Errors - Significant Figures - Accuracy and Precision - Error Definitions - Round – off Errors - Truncation Errors - Blunders, Formulation Errors and Data Uncertainty 2 บทที่ 2 รากของสมการ (Roots of Equations) 2.1 Bracketing Methods - Graphical Methods - The Bisection Method - The False – Position Method 3 บทที่ 2 Roots of Equations (cont.) 2.2 Open Methods - Simple One – Point Iteration - The Newton – Raphson Method - The Secant Method - Multiple Roots จํานวน กิจกรรมการเรียนการสอน ชั่วโมง และสื่ อทีใ่ ช้ 3 บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ ชี้แจงการเรี ยนแบบใช้ปัญหา เป็ นฐาน มอบหมายโจทย์ปัญหา ผู้สอน อ. สุ นิตา เอื้อวิริยานุกลู 3 บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ อภิปราย ตัวอย่าง มอบหมายโจทย์ปัญหา อ. สุ นิตา เอื้อวิริยานุกลู 3 บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ อภิปราย ตัวอย่าง มอบหมายโจทย์ปัญหา อ. สุ นิตา เอื้อวิริยานุกลู สั ปดาห์ จํานวน หัวข้ อ/รายละเอียด ชั่วโมง ที่ 4 บทที่ 3 ระบบสมการเชิงเส้น (Systems of Linear 3 Algebraic Equations) 3.1 Gauss Elimination - Solving Small Numbers of Equations - Naïve Gauss Elimination - Pitfalls of Elimination Methods 5 3.2 Matrix Inversion and Gauss – Seidel 3 - The Matrix Inverse - The Gauss – Seidel Method - Case Studies: Linear Algebraic Equations 6 บทที่ 4 Curve Fitting 3 4.1 การถดถอยแบบกําลังสองน้อยสุ ด (Least – Squares Regression) - Linear Regression - Polynomial Regression - Multiple Linear Regression 7 ประยุกต์ใช้ Spreadsheet และ/หรื อ Computer 3 program กับระเบียบวิธีเชิงตัวเลข 8 9 - 10 สอบกลางภาค 4.2 การประมาณค่าในช่วงและนอกช่วง (Interpolation) - Newton’s Divided – Difference Interpolating Polynomials - Lagrange Interpolating Polynomials - Coefficients of an Interpolating Polynomial - Spline Interpolation 3 3 กิจกรรม การเรียนการสอน และสื่ อทีใ่ ช้ บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ อภิปราย ตัวอย่าง มอบหมายโจทย์ปัญหา ผู้สอน อ. สุ นิตา เอื้อวิริยานุกลู บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ อภิปราย ตัวอย่าง มอบหมายโจทย์ปัญหา อ. สุ นิตา เอื้อวิริยานุกลู บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ อภิปราย ตัวอย่าง มอบหมายโจทย์ปัญหา อ. สุ นิตา เอื้อวิริยานุกลู บรรยาย ศึกษาจากตัวอย่าง อ. สุ นิตา สาธิตการใช้ Spreadsheet และ เอื้อวิริยานุกลู ซอฟแวร์ บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ อภิปราย ตัวอย่าง มอบหมายโจทย์ปัญหา อ. สุ นิตา เอื้อวิริยานุกลู สั ปดาห์ หัวข้ อ/รายละเอียด ที่ 11 บทที่ 5 การหาค่าอินทิกรัลและค่าอนุพนั ธ์เชิง ตัวเลข (Numerical Differentiation and Integration) 5.1 Newton – Cotes Integration Formulas - The Trapezoidal Rule - Simpson’s Rules - Integration with Unequal Segments - Open Integration Formulas 12 5.2 Integration of Equations - Romberg Integration - Gauss Quadrature 13 5.3 Numerical Differentiation - High – Accuracy Differentiation Formulas - Richardson Extrapolation - Derivatives of Unequally Spaced Data 14 – 15 บทที่ 6 การแก้สมการเชิงอนุพนั ธ์ (Ordinary Differential Equations) One – Step Methods - Euler’s Method - Huan’s Method - Modified Euler’s Method - Runge – Kutta Methods 16 ประยุกต์ใช้ Spreadsheet และ/หรื อ Computer program กับระเบียบวิธีเชิงตัวเลข 17 สอบปลายภาค กิจกรรม จํานวน ชั่วโมง การเรียนการสอน และสื่ อทีใ่ ช้ 3 บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ อภิปราย ตัวอย่าง มอบหมายโจทย์ปัญหา ผู้สอน อ. สุ นิตา เอื้อวิริยานุกลู 3 บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ อภิปราย ตัวอย่าง มอบหมายโจทย์ปัญหา อ. สุ นิตา เอื้อวิริยานุกลู 3 บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ อภิปราย ตัวอย่าง มอบหมายโจทย์ปัญหา อ. สุ นิตา เอื้อวิริยานุกลู 6 บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ อภิปราย ตัวอย่าง มอบหมายโจทย์ปัญหา อ. สุ นิตา เอื้อวิริยานุกลู 3 บรรยาย ศึกษาจากตัวอย่าง อ. สุ นิตา สาธิตการใช้ Spreadsheet และ เอื้อวิริยานุกลู ซอฟแวร์ 3 2. แผนการประเมินผลการเรียนรู้ กิจกรรม ผลการ วิธีการประเมินผลนักศึกษา ที่ เรียนรู้ 1 2.1 - 2.5 สอบกลางภาค 3.1 – 3.5 สอบปลายภาค 4.4, 4.5 5.1 - 5.5 6.1, 6.2 2 1.2, 1.3 การส่ งงานตามที่มอบหมาย 2.1 - 2.5 (งานย่อย และงานproject) 3.1 – 3.5 4.4, 4.5 5.1 - 5.5 6.1, 6.2 3 1.1 – 1.5 การเข้าชั้นเรี ยน 1–6 การมีส่วนร่ วม เสนอความคิดเห็นในชั้นเรี ยน สั ปดาห์ ที่ ประเมิน สั ดส่ วนของ การประเมินผล 8 17 35% 35% ตลอดภาค การศึกษา 20% ตลอดภาค การศึกษา 10% หมวดที่ 6 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน 1. หนังสื อ ตํารา และเอกสารประกอบการสอนหลัก S. C. Chapra and R. P. Canale (1990). Numerical Methods for Engineers S. C. Chapra (2008). Applied Numerical Methods with Matlab for engineers and scientists PowerPoint ประกอบการสอน 2. หนังสื อ เอกสาร และข้ อมูลอ้ างอิง ทีส่ ํ าคัญ - S. C. Chapra and R. P. Canale (1990). Numerical Methods for Engineers - D. V. Griffiths and I. M. Smith (2006) Numerical Methods for Engineers - ปราโมทย์ เดชะอําไพ และ นิพนธ์ วรรณโสภาคย์ (2551) ระเบียบวิธีเชิงตัวเลขในงานวิศวกรรม 3. เอกสาร และข้ อมูลแนะนํา เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา หมวดที่ 7 การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา 1. กลยุทธ์ การประเมินประสิ ทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา การประเมินประสิ ทธิ ผลรายวิชานี้ ที่จดั ทําโดยนักศึกษา ได้จดั กิจกรรมในการนําแนวคิดและความเห็น จากนักศึกษาได้ดงั นี้ 1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผูส้ อนและผูเ้ รี ยน 1.2 แบบประเมินผูส้ อน และแบบประเมินรายวิชา 1.3 ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผสู ้ อนได้จดั ทําเป็ นช่องทางการสื่ อสารกับนักศึกษา 2. กลยุทธ์ การประเมินการสอน ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้ 2.1 การสังเกตการณ์สอนของผูร้ ่ วมทีมสอน 2.2 ผลการเรี ยนของนักศึกษา 2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรี ยนรู ้ 3. การปรับปรุงการสอน หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุ งการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดม สมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุ งการสอน ดังนี้ 3.1 สัมมนาการจัดการเรี ยนการสอน 3.2 การวิจยั ในและนอกชั้นเรี ยน 4.การทวนสอบมาตรฐานผลสั มฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการ เรี ยนรู ้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรื อการสุ่ มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผล การ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรี ยนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดงั นี้ 4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่ มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรื อผูท้ รงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจําหลักสู ตร 4.2 มี การตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมิ นการเรี ยนรู ้ ของนักศึ กษา โดย ตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม 5. การดําเนินการทบทวนและวางแผนปรับปรุงประสิ ทธิผลของรายวิชา จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ ประสิ ทธิ ผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุ งการ สอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้ 5.1 ปรับปรุ งรายวิชาทุก 3 ปี หรื อตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 5.2 เปลี่ยนหรื อสลับอาจารย์ผสู ้ อน เพื่อให้นกั ศึกษามีมุมมองในเรื่ องการประยุกต์ความรู ้น้ ี กบั ปั ญหา ที่มาจากงานวิจยั ของอาจารย์หรื ออุตสาหกรรมต่าง ๆ