Uploaded by Aphised Na thalang

เอกสารชุดที่-3-CVP-1

advertisement
บทที่
3
การวิเคราะห์ความสัมพันธ์
ระหว่างต้ นทุน ปริมาณ กําไร
รายวิชา 222109 Accounting for Business Decision Making
ผศ.เรือนขวัญ อินทนนท์
บทที่ 3 การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างต้นทุน ปริมาณ กําไร
1.แนวคิดพื้นฐานของการวิเคราะห์
2.การวิเคราะห์จุดคุ้มทุน
3.ประโยชน์ของการวิเคราะห์จุดคุ้มทุน
4.ข้ อสมมุติฐานในการวิเคราะห์จุดคุ้มทุน
5.วิธกี ารวิเคราะห์จุดคุ้มทุน
6.การเปลี่ยนแปลงของปัจจัยที่มผี ลต่อการวิเคราะห์จุดคุ้มทุน
7. การวางแผนกําไร
การวางแผนและการตัดสินใจ
เป็ นหน้ าที่การบริหารที่สาํ คัญ เนื่องจากการวางแผนที่ดีช่วย
ให้ กจิ การบรรลุเป้ าหมายกําไรสูงสุดได้ อย่างมีประสิทธิภาพ
เครื่องมือหรือเทคนิคอย่างหนึ่งที่ช่วยให้ ผ้ ูบริหารวิเคราะห์
วางแผนกําไรได้ เป็ นอย่างดี คือ การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่าง
ต้ นทุน ปริมาณและกําไร (Cost-Volume-Profit Analysis : CVP)
เพื่อให้ ผ้ ูบริหารสามารถกําหนดแนวทางในการจัดการต้ นทุน กําไร
ของกิจการตามเป้ าหมายที่กาํ หนดไว้ โดยหลักการพื้นฐานของการ
วิเคราะห์น้ ี คือ การวิเคราะห์จุดคุ้มทุน (Break-even Point
Analysis : BEP)
1.แนวคิดพื้ นฐานของการวิเคราะห์ CVP
- รายได้ (Revenue)
- ต้ นทุน (Cost)
- กําไร (Profit)
- กําไรส่วนเกิน (Contribution Margin)
รายได้ (Revenue)
หมายถึง รายได้ จากการดําเนินกิจการ เช่น รายได้ จากการ
ขายสินค้ าหรือบริการ คํานวณได้ ดังนี้
รายได้ รวม = ราขายต่อหน่วย × จํานวนหน่วยที่ขาย
ต้นทุน (Cost)
หมายถึง ทรัพยากรที่วัดมูลค่าเป็ นตัวเงินที่กจิ การได้ ใช้ ไป
เพื่อให้ ได้ สนิ ค้ าหรือบริการ ซึ่งกิจการคาดว่าจะนําไปใช้ เพื่อให้ เกิด
ประโยชน์ในภายหลัง คํานวณได้ ดังนี้
ต้ นทุนรวม = ต้ นทุนคงที่ + (ต้ นทุนผันแปรต่อหน่วย × จํานวนหน่วยที่ผลิต)
กําไร (Profit)
หมายถึง ผลตอบแทนสุทธิจากการดําเนินงานของกิจการ ซึ่ง
คํานวณได้ ดังนี้
กําไร = รายได้ รวม - ต้ นทุนรวม
กําไรส่วนเกิน (Contribution Margin)
หมายถึง ส่วนเกินระหว่างยอดขายหรือรายได้ กับต้ นทุนผัน
แปรเพื่อจะไปชดเชยต้ นทุนคงที่ ซึ่งกําไรส่วนเกินมี 2 ลักณณะ ดังนี้
1 กําไรส่วนเกินรวม
กําไรส่วนเกินรวม = ยอดขาย - ต้ นทุนผันแปรรวม
2 กําไรส่วนเกินต่อหน่วย
กําไรส่วนเกินต่อหน่วย = ราคาขายต่อหน่วย - ต้ นทุนผันแปรต่อหน่วย
2.การวิเคราะห์จุดคุม้ ทุน
(Break-even Point Analysis)
จุดคุม้ ทุน (Break-even point : BEP) คือจุดของการ
ดําเนินงานที่รายได้ เท่ากับค่าใช้ จ่าย (ต้ นทุนผันแปร+ต้ นทุนคงที่)
หรือจุดที่ระดับกําไรเท่ากับศูนย์ (กําไรส่วนเกินรวมเท่ากับ
ค่าใช้ จ่ายคงที่)
การวิเคราะห์จุดคุ้มทุน จะทําให้ กจิ การทราบว่าจะต้ องขาย
ในปริมาณเท่าใดจึงจะเริ่มมีกาํ ไร
3 ประโยชน์ของการวิเคราะห์จุดคุม้ ทุน
1.ใช้ ประกอบการตัดสินใจตั้งราคา
2.ใช้ วางแผนระดับกิจกรรมการผลิตหรือขายเพื่อให้ ได้ กาํ ไร
ที่ต้องการ
3.ใช้ กาํ หนดกลยุทธ์ทางการตลาด
4.ใช้ ในการบริหารต้ นทุนและค่าใช้ จ่าย
การจําแนกต้ นทุนตามพฤติกรรมต้ นทุน
ต้ นทุน
ต้ นทุนคงที่
ต้ นทุนผันแปร
ต้ นทุน
การผลิตผันแปร
ค่าใช้ จ่ายในการขาย
และบริหารผันแปร
วัตถุทางตรง
ค่าแรงงานทางตรง
ค่าใช้ จ่ายในการผลิตผันแปร
ต้ นทุนการ
ผลิตคงที่
ค่าใช้ จ่ายในการขาย
และบริหารคงที่
ค่าใช้ จ่ายในการผลิตคงที่
4.ข้ อสมมุติฐานในการวิเคราะห์จุดคุ้มทุน
1.ราคาขายของสินค้ าต้ องคงที่ตลอดช่วงที่วิเคราะห์
2.ต้ นทุนที่เกิดขึ้นจะต้ องระบุได้ ว่าเป็ นต้ นทุนผันแปร และ
ต้ นทุนคงที่อย่างชัดเจน
3.ต้ นทุนผันแปรต่อหน่วยและต้ นทุนคงที่รวม จะต้ องคงที่ในช่วง
ระดับกิจกรรมที่วิเคราะห์
4.ประสิทธิภาพในการผลิตและการดําเนินงานไม่เปลี่ยนแปลง
ตลอดช่วงที่วิเคราะห์
5.ปริมาณการผลิตจะต้ องเท่ากับปริมาณการขาย กล่าวคือไม่มี
สินค้ าคงเหลือต้ นงวดและปลายงวด
5.วิธีการวิเคราะห์จุดคุม้ ทุน
1.วิธสี มการ (Equation method)
2.วิธกี าํ ไรส่วนเกิน (Contribution margin method)
3.วิธใี ช้ กราฟ (Graph method)
1.วิธสี มการ (Equation method)
การวิเคราะห์จุดคุ้มทุนโดยใช้ สมการเกิดจากการนํางบกําไรขาดทุน
มาประยุกต์ใช้ ในรูปของสมการ ดังนี้
ยอดขาย = ต้ นทุนคงที่ + ต้ นทุนผันแปร + กําไร
P(Q)
= V(Q) + FC + OI
P = ราคาขายต่อหน่วย
Q = จํานวนหน่วยที่ขาย
V = ต้ นทุนผันแปรต่อหน่วย
VC = ต้ นทุนผันแปรรวม (VxQ)
FC = ต้ นทุนคงที่รวม
OI = กําไร
* ถ้ าต้ องการหาจุดคุ้มทุนก็กาํ หนดให้ OI = 0
ตัวอย่างที่ 1 บริณัท SP จํากัด มีข้อมูลการผลิตและขายดังนี้
200 บาท
ราคาขายต่อหน่วย
120 บาท
ต้ นทุนผันแปรต่อหน่วย
2,000 บาท
ต้ นทุนคงที่
บริณัทต้ องขายสินค้ ากี่หน่วย ?
จึงจะถึงจุดคุ้มทุน(Breakeven Point : BEP) ?
②
Totalcott
TC
=
FY
=
ม
ด
น
อ
ด
coit
Fincoite Uariable
UC
t
↳
2000
น
รด
=
ก ไร วน น อห วย
CM
นแปร อ ห วย
นาน
_
HCPU.ge
นทนคง
-
จ นวน
p
าไ tวย
=
กะ
=
2
...
oo
-11 o
µ
นาน อห วย
-
ะ
bih
80
น คง
80 บาท / อ หอย
2
ขายใ ไ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
อ
5.
2
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
☐
=
=
¥
=
ะ
บาท
ฟื๊
ต้
น่
น่
ำ
ด้
น่
ด้
ำ
ห้
ทั่
น่
ห วย
ทั่
ต่
ผั
ต้
ต้
ท่
หั
จุ
คื
ทุ
คุ้
จุ
ต่
กิ
ส่
ต่
ตั
ต้
ต่
ต่
ญื๊
วิธสี มการ (Equation method)
①
ยอด ขาย
FC f UC
ะ
TC
pxq
ก อ
3 ooot
=
Roxq
มน
Too
2
ooq
8
oq
2000 4 17
=
=
2
ออง
oq
→
q
=
25
ห วย #
น่
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
ริ
ฑํ๋
วิธสี มการ (Equation method)
ตรวจสอบ
ขาย
หัก ต้ นทุนผันแปร
กําไรส่วนเกิน
หัก ต้ นทุนคงที่
กําไรก่อนภาณี
หน่วย : บาท
1 ออ ✗ 25
……………….5,000
3
✗ 25
110
……………….
30
……………….
……………….
}
0
……………….
ะ
ะ
,
oo
oou
ouo
2.วิธกี าํ ไรส่วนเกิน (Contribution margin method)
กําไรส่วนเกิน (Contribution margin : CM) คือยอดขายหรือ
รายได้ ท่ยี ังคงเหลือเมื่อนําไปหักด้ วยต้ นทุนผันแปร เพื่อที่จะนําไปชดเชย
ต้ นทุนคงที่ ซึ่งกําไรส่วนเกินมี 2 ลักณณะ ดังนี้
1. กําไรส่วนเกินรวม
กําไรส่วนเกินรวม = ยอดขาย - ต้ นทุนผันแปรรวม
2. กําไรส่วนเกินต่อหน่วย
กําไรส่วนเกินต่อหน่วย = ราคาขายต่อหน่วย - ต้ นทุนผันแปรต่อหน่วย
ถ้ ากําไรส่วนเกินเท่ากับต้ นทุนคงที่แสดงว่ากําไรเท่ากับศูนย์ ซึ่งก็คือ
จุดคุ้มทุนนั่นเอง เขียนเป็ นสูตรได้ ดังนี้
สูตร
BEP (U)
=
FC
CMU
FC
= ต้ นทุนคงที่รวม
CMU = กําไรส่วนเกินต่อหน่วย
การวิเคราะห์จุดคุ้มทุนเป็ นจํานวนหน่วย เป็ นจุดที่แสดงว่ากิจการต้ อง
ขายสินค้ าในปริมาณกี่หน่วยจึงจะคุ้มทุน
จากตัวอย่างที่ 1 บริณัท SP จํากัด มีข้อมูลการผลิตและขายดังนี้
200 บาท
ราคาขายต่อหน่วย
120 บาท
ต้ นทุนผันแปรต่อหน่วย
2,000 บาท
ต้ นทุนคงที่
วิธกี าํ ไรส่วนเกิน (Contribution margin method)
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
ให้ทํา 1.คํานวณหาจุดคุ้มทุนของสินค้ าแต่ละชนิดเป็ นจํานวนหน่วยและจํานวนเงิน?
2.วิเคราะห์และเสนอแนะการขายสินค้ าแต่ละชนิด? cf
=
สินค้ า หน่วยขาย ต้ นทุนผันแปร ราคาขาย ต้ นทุนคงที่
/หน่วย /หน่วย
BEP
(จํานวนหน่วย)
_
µ
=
FC
ขาย
p
แ
อห วยBEP
(บาท)
ๆ
อย
W
3,000
60
100 60,000
150
อ
¥
..............................
X
2,000
80
105 60,000
..............................
..............................
Y
1,000
60
100 80,000
..............................
..............................
Z
4,000
80
100 80,000
..............................
..............................
=
น่
ต่
?⃝
ฏื๋
น้
แบบฝึ กหัด
1) บริณัท ซากุระ จํากัด ขายสินค้ า 4 ชนิด คือ W, X, Y, Z โดยมีข้อมูลเกี่ยวกับ
เกี่ยวกับสินค้ า ตามตารางข้ างล่างนี้
,
แ
6
=
150
15,000
..............................
1
0 ✗
=
3. วิธใี ช้ กราฟ (Graph method)
การวิเคราะห์จุดคุ้มทุนโดยใช้ กราฟ เป็ นการนํารายได้ หรือยอดขาย
รวมและต้ นทุนรวม แสดงในลักณณะกราฟ โดยให้ แกนตั้งเป็ นจํานวนเงิน
แกนนอนเป็ นจํานวนหน่วย ซึ่งจุดคุ้มทุนคือจุดที่ตัดกันระหว่างเส้ นรายได้
รวมหรือยอดขายรวม กับเส้ นต้ นทุนรวม
ขั้นตอนการสร้ างกราฟ มีดังนี้
1. กําหนดให้ แกนตั้งแสดงจํานวนเงิน และแกนนอนแสดงจํานวนหน่วย
2. ในแผนภาพจะประกอบด้ วย
- เส้ นต้ นทุนรวม (Total cost : TC) ซึ่งเกิดจากเส้ นต้ นทุนผันแปรรวมกับ
เส้ นต้ นทุนคงที่ โดยเส้ นต้ นทุนคงที่รวมจะเป็ นเส้ นขนานกับแนวนอน ณ
ระดับที่จาํ นวนเงินเท่ากับมูลค่าต้ นทุนคงที่
- เส้ นรายได้ รวม(Total revenues : TR) และเส้ นต้ นทุนรวม
3. จุดคุ้มทุน คือ จุดที่รายได้ เท่ากับค่าใช้ จ่าย และตามแผนภาพจุดคุ้มทุนจะ
เป็ นจุดตัดของเส้ นรายได้ รวมกับเส้ นต้ นทุนรวม ซึ่งจะได้ จุดคุ้มทุนทั้งแบบ
จํานวนหน่วยและจํานวนเงิน
การคํานวณต้ นทุนรวมเพื่อกําหนดจุดบนเส้ นกราฟ
เลือกระดับการขายใดๆ เช่น ที่ 40 หน่วย จากนั้นคํานวณต้ นทุนโดย
VC (40 หน่วย x 120 บาท) = 4,800 บาท
FC
= 2,000 บาท
TC
= 6,800 บาท
VC (10 หน่วย x 120 บาท) = 1,200 บาท
FC
= 2,000 บาท
TC
= 3,200 บาท
การคํานวณรายได้ รวมเพื่อกําหนดจุดบนเส้ นกราฟ
เลือกระดับการขายใดๆ เช่น ที่ 40 หน่วย จากนั้นคํานวณรายได้ รวมโดย
TR (40 หน่วย x 200 บาท) = 8,000 บาท
TR (20 หน่วย x 200 บาท) = 4,000 บาท
จํานวนเงิน(บาท)
TR
10,000
TC
กําไร
8,000
6,000
5,000
Breakeven point
4,000
ขาดทุน
2,000
FC
จํานวนหน่วย
0
10
20
30
40
50
6.การเปลี่ยนแปลงของปัจจัยที่มผี ลต่อการวิเคราะห์จุดคุ้มทุน
ในการวิเคราะห์จุดคุ้มทุนจะเห็นได้ ว่าปัจจัยที่มผี ลต่อการวิเคราะห์ คือ ราคา
ขาย ต้ นทุนผันแปร และต้ นทุนคงที่ ดังนั้นเมื่อปัจจัยดังกล่าวมีการเปลี่ยนแปลงไป
ย่อมส่งผลกระทบต่อจุดคุ้มทุนของกิจการ ดังนี้
1.ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงต้ นทุนคงที่ ถ้ าต้ นทุนคงที่เพิ่มขึ้น ทําให้
จุดคุ้มทุนเพิ่มขึ้น และถ้ าต้ นทุนคงที่ลดลง ทําให้ จุดคุ้มทุนลดลง
2.ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงต้ นทุนผันแปร ถ้ าต้ นทุนผันแปรต่อหน่วย
เพิ่มขึ้น ทําให้ จุดคุ้มทุนเพิ่มขึ้น และถ้ าต้ นทุนผันแปรต่อหน่วยลดลง ทําให้
จุดคุ้มทุนลดลง
3.ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงราคาขาย ถ้ าราคาขายต่อหน่วยเพิ่มขึ้น ทํา
ให้ จุดคุ้มทุนลดลง และถ้ าราคาขายต่อหน่วยลดลง ทําให้ จุดคุ้มทุนเพิ่มขึ้น
สรุปผลกระทบทีเ่ กิดจากการเปลีย่ นแปลงปั จจัยในการคํานวณ BEP
ปั จจัย
การเปลีย่ นแปลง
ผลกระทบกับ BEP
................
...............
................
...............
ต้นทุนผันแปร/หน่วย
................
...............
................
...............
ราคาขาย/หน่วย
................
...............
................
...............
ต้นทุนคงที่
แบบฝึ กหัด
2) บริณัท SVI จํากัด ขายสินค้ าในราคาหน่วยละ 125 บาท มีต้นทุนคงที่รวม
30,000 บาท ต้ นทุนผันแปรหน่วยละ 65 บาท บริณัทผลิตและขายสินค้ าได้
ทั้งหมด 1,000 หน่วย หาจุดคุ้มทุนเป็ นจํานวนเงิน
ให้ ทาํ
1.คํานวณหาจุดคุ้มทุนเป็ นจํานวนหน่วย?
2.จุดคุ้มทุนจะเปลี่ยนแปลงไปอย่างไรในกรณีดังต่อไปนี้ โดยแต่ละกรณีเป็ นอิสระต่อกัน
2.1 ถ้ าราคาขายเพิ่มเป็ น 140 บาทต่อหน่วย โดยข้ อมูลอื่นๆไม่เปลี่ยนแปลง
2.2 ถ้ าต้ นทุนผันแปรลดลงเหลือ 50 บาทต่อหน่วย โดยข้ อมูลอื่นๆไม่เปลี่ยนแปลง
3.หากมีคาํ สั่งซื้อเพิ่มอีก 900 หน่วย รวมเป็ น 1,900 หน่วย ซึ่งกําลังผลิตเครื่องจักร
ไม่เพียงพอ บริณัทต้ องตัดสินใจซื้อเครื่องจักรใหม่ทาํ ให้ ต้นทุนคงที่เพิ่มขึ้นเป็ น 60,000 บาท
โดยต้ นทุนผันแปรต่อหน่วย 60 บาท และราคาขาย 120 บาท จุดคุ้มทุนจะเปลี่ยนแปลงไป
อย่างไร และบริณัทควรรับคําสั่งเพิ่มหรือไม่?
1.คํานวณหาจุดคุ้มทุนเป็ นจํานวนหน่วย?
2.จุดคุ้มทุนจะเปลี่ยนแปลงไปอย่างไรในกรณีดังต่อไปนี้ โดยแต่ละกรณีเป็ นอิสระต่อกัน
2.1 ถ้ าราคาขายเพิ่มเป็ น 140 บาทต่อหน่วย โดยข้ อมูลอื่นๆไม่เปลี่ยนแปลง
2.2 ถ้ าต้ นทุนผันแปรลดลงเหลือ 50 บาทต่อหน่วย โดยข้ อมูลอื่นๆไม่เปลี่ยนแปลง
3.หากมีคาํ สั่งซื้อเพิ่มอีก 900 หน่วย รวมเป็ น 1,900 หน่วย ซึ่งกําลังผลิตเครื่องจักร
ไม่เพียงพอ บริณัทต้ องตัดสินใจซื้อเครื่องจักรใหม่ทาํ ให้ ต้นทุนคงที่เพิ่มขึ้นเป็ น 60,000 บาท
โดยต้ นทุนผันแปรต่อหน่วย 60 บาท และราคาขาย 120 บาท จุดคุ้มทุนจะเปลี่ยนแปลงไป
อย่างไร และบริณัทควรรับคําสั่งเพิ่มหรือไม่?
7.การวางแผนกําไร
นอกจากความสัมพันธ์ระหว่างต้ นทุน ปริมาณ กําไร จะใช้ วิเคราะห์จุดคุ้มทุน
แล้ ว ยังนํามาวิเคราะห์ปริมาณขายเพื่อให้ ได้ กาํ ไรตามต้ องการได้ อกี ด้ วย
โดยการวิเคราะห์จุดคุ้มทุน ไม่ว่าจะเป็ นวิธสี มการ หรือ วิธกี าํ ไรส่วนเกินก็คือ
ผลกําไรเท่ากับศูนย์ ดังนั้น ถ้ าต้ องการหาจุดที่ได้ กาํ ไรก็ใช้ สตู รเดิม เพียงแต่นาํ
กําไรที่ต้องการเข้ ามารวมคํานวณด้ วย
กรณี 1 ผูบ้ ริหารต้องการกําไรก่อนภาษี คํานวณได้จากสูตรดังนี้
ปริมาณขายเพือ่ กําไรตามทีต่ อ้ งการ
=
FC + OI
CMU
การคํานวณกําไรก่อนภาษี (OI)
ขาย
หัก ต้ นทุนผันแปร
xxx
xxx
กําไรส่วนเกิน
xxx
xxx
หัก ต้ นทุนคงที่
กําไรก่อนหักภาณี
xxx
จากตัวอย่างที่ 1 บริณัท SP จํากัด มีข้อมูลการผลิตและขายดังนี้
200 บาท
ราคาขายต่อหน่วย
120 บาท
ต้ นทุนผันแปรต่อหน่วย
2,000 บาท
ต้ นทุนคงที่
ถ้ าผู้บริหารต้ องการกําไรก่อนภาณี 1,200 บาท จะต้ องขายสินค้ ากี่หน่วย ?
ปริมาณขาย(หน่วย) = FC + OI
CMU
การคํานวณโดยใช้สมการ
P(Q)
=
FC + VC + OI
ตรวจสอบ
ขาย
หัก ต้ นทุนผันแปร
กําไรส่วนเกิน
หัก ต้ นทุนคงที่
กําไรก่อนภาณี
หน่วย : บาท
……………….
……………….
……………….
……………….
……………….
กรณี 2 ผูบ้ ริหารต้องการกําไรหลังภาษี คํานวณได้จากสูตรดังนี้
ในกรณีท่ี 1กําไรในที่ท่ใี ช้ ในการคํานวณคือกําไรก่อนหักภาณี ถ้ ามีภาณี
เงินได้ จะทําให้ กาํ ไรสุทธิลดลง ภาณีเงินได้ มีความสัมพันธ์กบั กําไรก่อนหักภาณี
ดังนี้
กําไรก่อนหักภาณี
xxx
หัก ภาณีเงินได้ (20%)
xx
กําไรสุทธิ
xxx
ในการคํานวณต้ องปรับกําไรหลังภาณี (Net income) ให้ กลับไปเป็ นกําไร
ก่อนหักภาณี (Operating income) ดังนี้
NI
FC + 1- อัตราภาณี
ปริมาณขายเพือ่ กําไรตามทีต่ อ้ งการ =
CMU
จากตัวอย่างที่ 1 ถ้ าผู้บริหารต้ องการกําไรหลังภาณี 960 บาท จะต้ องขาย
สินค้ ากี่หน่วย (สมติอตั ราภาณี 20 %) ?
NI
FC + 1- อัตราภาณี
ปริมาณขาย(หน่วย) =
CMU
แบบฝึ กหัด3) บริณัท JK จํากัด มีข้อมูลการผลิตและขายดังนี้
400,000 บาท
ยอดขาย
20 บาท
ราคาขายต่อหน่วย
20,000 หน่วย
ปริมาณการขายรวม
10 บาท
ต้ นทุนผันแปรต่อหน่วย
200,000 บาท
ต้ นทุนผันแปรรวม
150,000 บาท
ต้ นทุนคงที่รวม
30 %
อัตราภาณี
ให้ ทาํ คํานวณหาเป็ นจํานวนหน่วยและจํานวนเงิน ดังนี้?
1. ปริมาณขาย ณ จุดคุ้มทุน?
2. ปริมาณขายที่ทาํ ให้ มีกาํ ไรก่อนภาณี 30,000 บาท?
3. ปริมาณขายที่ทาํ ให้ มีกาํ ไรหลังภาณี 42,000 บาท?
1. ปริมาณขาย ณ จุดคุ้มทุน?
2. ปริมาณขายที่ทาํ ให้ มีกาํ ไรก่อนภาณี 30,000 บาท?
3.ปริมาณขายที่ทาํ ให้ มีกาํ ไรหลังภาณี 42,000 บาท?
Download